Cause and effect diagram ตัวอย่าง

บทนำ

การดำเนินกิจกรรมในแต่ละกระบวนการมีเป้าหมายเฉพาะเรื่อง เพื่อทำให้เกิดผลลัพย์ที่สามารถตอบสนองความต้องการของกระบวนการถัดไป จนถึงลูกค้าผู้ใช้งาน ในแต่ละกระบวนการมีปัจจัยที่สำคัญที่เกี่ยวข้องต่อการปฏิบัติงาน เช่น คน เครื่องจักรอุปกรณ์ วัตถุดิบ วิธีการ และสภาพแวดล้อม 4M1E ไม่มีปัจจัยใดที่จะคงความสมบูรณ์และเหมาะสมอยู่ตลอดเวลา เมื่อไหร่ก็ตามที่เกิดความผิดปกติของปัจจัยเหล่านั้น ปัญหาย่อมเกิดขึ้น ปัญหา คือ ความแตกต่างระหว่างผลที่เกิดขึ้นจริงและสิ่งเป้าหมายที่ต้องการ/คาดหวังซึ่งอาจเกิดขึ้นซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบที่สามารถวัดได้และรู้สึกได้

Cause and effect diagram ตัวอย่าง
แต่ทุกปัญหาต้องได้รับการแก้ไข/ป้องกันการเกิดซ้ำ ในอุตสาหกรรมการผลิตได้มีการประยุกต์ใช้หลักการแก้ไขปัญหาหลากหลายประเภทเข้ามาใช้เช่น QCC ,QC Story , 8D ,5 Principles ,CAR & PAR เป็นต้น ซึ่งที่กล่าวมานี้เป็นเพียงกระบวนการทั้งหมด ซึ่งจะพบว่าผู้ที่แก้ไขรู้เพียงกระบวนการไม่รู้เครื่องมือสำหรับใช้ในการวิเคราะห์หรือแสดงผลก็อาจจะไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้
Cause and effect diagram ตัวอย่าง
แต่ทุกปัญหาต้องได้รับการแก้ไข/ป้องกันการเกิดซ้ำ ในอุตสาหกรรมการผลิตได้มีการประยุกต์ใช้หลักการแก้ไขปัญหาหลากหลายประเภทเข้ามาใช้เช่น QCC ,QC Story , 8-Disciplines (8D) ,5 Principles ,CAR & PAR เป็นต้น ซึ่งที่กล่าวมานี้เป็นเพียงกระบวนการทั้งหมด ซึ่งจะพบว่าผู้ที่แก้ไขรู้เพียงกระบวนการไม่รู้เครื่องมือสำหรับใช้ในการวิเคราะห์หรือแสดงผลก็อาจจะไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้
Cause and effect diagram ตัวอย่าง

ซึ่งในขั้นตอนเหล่านี้มีกระบวนการหนึ่งที่สำคัญคือ การวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาซึ่งมีเครื่องมือ มากมายแต่ที่นิยมใช้กันคือ Why Why Analysis และ Cause and Effect Diagram

Cause and effect diagram ตัวอย่าง
Why Why Analysis เป็นเทคนิคการวิเคราะห์หาปัจจัยที่เป็นต้นเหตุให้เกิดปรากฏการอย่างเป็นระบบ มีขั้นมีตอน ไม่เกิดการตกหล่น ซึ่ง “ไม่ใช่การคิดแบบคาดเดา ,นั่งเทียน หรือ เหวี่ยงแห่” โดยหลักการวิเคราะห์ “ทำไม”

Cause and effect diagram ตัวอย่าง
ซึ่งจะมีลักษณะการวิเคราะห์ 2 ประเภทคือ 1. มองจากสภาพที่ควรจะเป็น ใช้ในลักษณะ : ที่ผู้วิเคราะห์ทราบเพียงแค่ข้อแม้ที่ควรจะเป็นไม่สามารถกำหนดลักษณะแบบเฉพาะได้ เช่น ความร้อนต้องพอดี , ความเร็วต้องหมาะสม เป็นต้น 2. มองจากหลักเกณฑ์หรือทฤษฏี ใช้ในลักษณะ : ที่ผู้วิเคราะห์ทราบข้อแม้แบบชัดเจน ซึ่งแหล่งที่มาของข้อมูลอาจจะมาจากเอกสารเช่น CP , WI ที่จะบอกเกณฑ์ เช่น ความร้อน150±10องศา , ความเร็ว 76±5รอบ เป็นต้น

Cause and effect diagram ตัวอย่าง
การแสดงผลการวิเคราะห์โดย แผนภูมิต้นไม้ (Tree Diagram) แผนผังต้นไม้ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อแผนผังระบบ (Systematic Diagrams) หรือ Dendrograms เป็นเครื่องมือสำหรับเรียบเรียงความคิด (ที่อยู่ในรูปของ “บัตรความคิด”) คือการประยุกต์วิธีการที่แรกเริ่ม พัฒนาขึ้นสำหรับการวิเคราะห์หน้าที่งานในวิศวกรรมคุณค่า (Value Engineering) วิธีนี้เริ่มจากการตั้งวัตถุประสงค์ (เช่น เป้า (Target) เป้าหมาย (Goal) หรือผลงาน (Result)) และดำเนินการพัฒนากลยุทธ์สืบต่อมาเรื่อย ๆ เพื่อการบรรลุผลสำเร็จ
Cause and effect diagram ตัวอย่าง
โดยนำมาจัดเรียงให้มีรูปร่างลักษณะคล้ายต้นไม้ที่มี “บัตรความคิด” เป็น กิ่ง ก้าน สาขา ดอก ใบ ทำให้มองเห็นภาพแผนผังระบบที่เป็นระบบหลาย ๆ ความคิดเหล่านั้นได้อย่างชัดเจนหรือพูดง่าย ๆ ก็คือ แผนภาพที่ใช้แสดงถึงวิธีการต่าง ๆ ในการบรรลุจุดประสงค์
Cause and effect diagram ตัวอย่าง
แนวคิดของ Cause and Effect Diagram
Cause and effect diagram ตัวอย่าง
เป็นแผนผังที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหากับสาเหตุทั้งหมดที่เป็นไปได้ที่อาจก่อให้เกิดปัญหานั้นเราอาจคุ้นเคยกับแผนผังสาเหตุและผล ในชื่อของ “ผังก้างปลา (Fish Bone Diagram) ” เนื่องจากหน้าตาแผนภูมิมีลักษณะคล้ายปลาที่เหลือแต่ก้าง หรือหลายๆ คนอาจรู้ จักในชื่อของแผนผังอิชิกาว่า (Ishikawa Diagram) ซึ่งได้รับการพัฒนาครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1943 โดย ศาสตราจารย์คาโอรุ อิชิกาว่า แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียว
Cause and effect diagram ตัวอย่าง
เมื่อผู้ดำเนินการแก้ไขปัญหาสามารถใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อค้นหาสาเหตุได้ ก็สามารถทำให้การจัดการกับปัญหานั้นเกิดประสิทธิภาพเนื่องจากได้จัดการกับสาเหตุที่แท้จริงที่ทำให้เกิดปัญหา
Cause and effect diagram ตัวอย่าง
ในการวิเคราะห์ทำให้ได้สาเหตุที่เป็นรากเหง้าของปัญหาหลักการที่ผู้วิเคราะห์ต้องมีการดำเนินงานคือ การบริหารโดยข้อเท็จจริง (Management By Fact) มีความสำคัญอย่างยิ่งในการแก้ปัญหาทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเล็กๆ น้อยๆ จนกระทั่งปัญหาใหญ่ๆ โดยการบริหารข้อเท็จจริง เป็นพื้นฐานในการสังเกตการณ์ สภาพปัญหา และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาสาเหตุรากเหง้าของปัญหา ซึ่งจะทำให้การแก้ปัญหาได้ถูกต้อง ตรงจุด เกาได้ถูกที่คัน การจะได้ซึ่งข้อเท็จจริง จะไม่ใช่แค่ดูรายงาน ดูข้อมูล แต่จะต้องลงไปดู ฟัง สัมผัส กับพื้นที่จริงหรือลองทำจริงๆ ดูของจริง สถานการณ์จริงในการปฏิบัติ
Cause and effect diagram ตัวอย่าง

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ทราบถึงหลักการและแนวทางการแก้ไขปัญหาด้วยแนวทางต่างๆ 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมทราบหลักการและมีทักษะในการใช้เครื่องมือ Why-Why Analysis และ Cause and Effect Diagram เพื่อการวิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริงที่ทำให้เกิดปัญหาจนสามารถนำไปสู่กระบวนการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม

กลุ่มเป้าหมาย : ผู้บริหาร ผู้จัดการ หัวหน้างาน และผู้ที่สนใจ จำนวนผู้เข้าอบรม : 30 คน/รุ่น กำหนดการอบรม 1 วัน 09.00-16.30

หัวข้อสัมมนา บทนำ – ปัญหาและประเภทสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา – กระบวนการแก้ไขปัญหาต่างๆ – หลักการ 5 Gen สำหรับวิเคราะห์ปัญหา Cause & Effect diagram – แนวคิดการวิเคระห์หาสาเหตุของปัญหา Cause & Effect diagram – ขั้นตอนการวิเคราะห์ Cause & Effect diagram 1. กำหนดปัญหาให้ชัดเจน 2. กำหนดปัจจัย 4M1E ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา 3. วิเคราะห์สาเหตุและทวนสอบสาเหตุโดยคำว่าทำให้ 4. จัดลำดับความสำคัญของการพิสูจน์ 5. ดำเนินการพิสูจน์สาเหตุและสรุปสาเหตุเบื้องต้น – Work Shop Why-Why Analysis – แนวคิดการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาของ Why-Why Analysis – ขั้นตอนการวิเคราะห์ Why-Why Analysis – 1. ยึดกุมข้อเท็จจริงของปัญหาและทำให้ปรากฏการณ์มีความกระชับ – Work Shop การทบทวนปัญหาให้ชัดเจน – 2.ทำความเข้าใจกับระบบ (โครงสร้าง) ของเครื่องจักร หรือ หน้าที่งาน และบทบาท (การทำหน้าที่) ของสิ่งที่จะทำการวิเคราะห์ โดยเชิงกายภาพหรือเชิงระบบ – 3. บ่งชี้ข้อกำหนดที่ถูกต้องโดยอาศัยหลักการ o จากสภาพที่ควรจะเป็น o จากหลักการและกฎเกณฑ์ – Work Shop การทำความเข้าใจระบบและบ่งชี้สภาพที่ถูกต้อง 4 ค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ก่อนหน้า o โดย ถามว่า แล้ว “ทำไม” ถึงเกิดปรากฏการณ์นั้นขึ้น o บ่งชี้สาเหตุที่น่าจะเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์และทวนสอบผลการวิเคราะห์โดยใช้คำว่า “ทำให้” ย้อนกลับ – Work Shop การวิเคราะห์ – 5. ยืนยันการเกิดของสาเหตุต้องสงสัยและพิสูจน์ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ก่อนหน้า – 6. เสนอมาตรการจัดการและแผนการดำเนินงาน – Work Shop กำหนดมาตรการแก้ไข (นำเสนอผลการวิเคราะห์และอภิปราย)

รูปแบบการอบรม – บรรยาย 40% Workshop 60% – ใช้หลักการระดมสมองร่วมทำกิจกรรมกลุ่มวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา

Total Page Visits: 1720 - Today Page Visits: 2

ก้างปลามีหัวข้ออะไรบ้าง

ผังก้างปลาประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี้ o ปัจจัย (Factors) ที่ส่งผลกระทบต่อปัญหา (หัวปลา) o สาเหตุหลัก o สาเหตุย่อย ซึ่งสาเหตุของปัญหา จะเขียนไว้ในก้างปลาแต่ละก้าง ก้างย่อยเป็นสาเหตุของก้างรองและก้างรองเป็นสาเหตุของก้างหลัก เป็นต้น

แผนภูมิเหตุและผล (couse and Effect Diagram) มีประโยชน์อย่างไร

Cause and Effect Diagram ใช้เพื่อทบทวนเหตุการณ์ หรือกระบวนการทำงาน ที่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ ซึ่งนำไปสู่การหาแนวทางการแก้ไขปัญหาให้ถึงรากสาเหตุได้อย่างตรงประเด็น และมีส่วนช่วยในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการทำงานให้ดียิ่งขึ้นอีกด้วย

แผนผังแสดงเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) จัดอยู่ในเรื่องอะไร

แผนผังก้างปลา (Fish Bone) หรือแผนผังสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) เป็นแผนผังที่ใช้แสดงความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบระหว่างสาเหตุหลาย ๆ สาเหตุที่เป็นไปได้ที่ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาหนึ่งปัญหา โดยจะใช้เมื่อต้องการจะวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่แท้จริง เพื่อนำไปสู่แนวทางการแก้ไขปัญหาที่ถูกต้อง

4M ของแผนภาพแสดงเหตุและผลคืออะไร

หลักการ 4M 1E เป็นกลุ่มปัจจัย (Factors) เพื่อนาไปสู่การแยกแยะสาเหตุต่าง ๆ ซึ่ง 4M 1E นี้มาจาก M – Man คนงาน พนักงานหรือบุคลากรทั้งจากภายในและภายนอก M – Machine เครื่องจักรหรืออุปกรณ์อานวยความสะดวก M – Material ผลิตภัณฑ์บริการ วัตถุดิบหรืออะไหล่อุปกรณ์อื่น ๆ M – Method กระบวนการท างาน E – Environment อากาศ สถานที่ความ ...