External hard drives ลง windows ท ม ข อม ล

เพื่อให้คำแนะนำโดยละเอียดยิ่งขึ้น คุณสามารถคลิกลิงก์วิดีโอ ASUS Youtube ด้านล่างเพื่อทราบข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีบูตระบบจาก USB แฟลชไดรฟ์/ซีดีรอม

https://www.youtube.com/watch?v=BKVShiMUePc

ASUS products provide two methods for choosing a boot device:

เข้าสู่เมนูบูตโดยใช้ปุ่มลัด

  1. ขณะที่คอมพิวเตอร์ยังไม่ได้เปิดเครื่อง ให้กดปุ่ม [Esc] ค้างไว้ จากนั้นกด [ปุ่มเปิดเครื่อง] (อย่าปล่อยปุ่ม [Esc] จนกว่าการกำหนดค่า BIOS จะแสดงขึ้น)
  2. เลือก USB แฟลชไดรฟ์/ซีดีรอม ที่คุณต้องการใช้ จากนั้นกด แป้น Enter เพื่อบูตระบบจากแฟลชไดรฟ์ USB/ซีดีรอม หมายเหตุ: หากพีซีของคุณไม่สามารถเข้าสู่เมนูการบู๊ตโดยใช้ปุ่มลัด Esc ได้ โปรดลอง
    External hard drives ลง windows ท ม ข อม ล

เข้าสู่เมนูบูตผ่าน BIOS configuration

ก่อนที่จะบูตระบบจากแฟลชไดรฟ์ USB หรือซีดีรอมโปรดให้คอมพิวเตอร์ของคุณเข้าสู่การกําหนดค่า BIOS ก่อนที่นี่คุณสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ วิธีเข้าสู่การกําหนดค่า BIOS หลังจากเข้าสู่การกําหนดค่า BIOS มีหน้าจอ BIOS สองประเภทคือโหมด UEFI และโหมด Legacy โปรดดูขั้นตอนต่อไปนี้ตามลําดับ

หลายคนน่าจะเคยต้องโยกย้ายไฟล์ไปมาระหว่างคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows และ Mac OS ซึ่งทั้ง 2 ระบบนี้ ไม่สามารถที่จะรองรับการใช้งานบนระบบไฟล์ร่วมกันได้โดยตรง

จริงอยู่ที่ทั้ง Mac และ Windows อ่านข้อมูลบางอย่างได้เหมือนกัน แต่ประเด็นอยู่ที่ จะทำอย่างไรให้สามารถ Copy หรือ Cut ไฟล์ต่าง ๆ บนฮาร์ดดิสก์ภายนอก หรือที่เราเรียกกันว่า External Harddisk ได้ทั้ง Mac OS และ Windows ร่วมกันได้อย่างปกติ ทางเลือกที่ส่วนใหญ่นิยมทำกัน อย่างเช่น การฟอร์แมตเป็นระบบ FAT เหมือนจะเป็นทางเลือกที่ดี เพราะอ่านและเขียนข้อมูลได้ทั้ง Mac และ Windows แต่ข้อเสียของการฟอร์แมตแบบนี้ก็คือ ไม่สามารถใส่ข้อมูลไฟล์ที่ใหญ่กว่า 4 GB ลงไปในไดรฟ์ได้ พูดกันง่ายๆ ก็คือ ใช้งานร่วมกับไฟล์ขนาดใหญ่ไม่ได้นั่นเอง

วันนี้เราจึงนำวิธีที่ทำให้ External Harddisk หรือ แฟลชไดรฟ์ ที่เราใช้เก็บข้อมูลนั้น สามารถใช้โอนถ่ายไฟล์ได้ทั้ง Mac และ Windows วิธีที่ว่านั่นก็คือ การใช้ระบบไฟล์แบบ exFAT นั่นเองครับ

การฟอร์แมตแบบ exFAT นั้นมีเงื่อนไขการใช้งาน คือ ไม่รองรับระบบปฏิบัติการเก่า ๆ อย่างน้อยต้องเป็น Windows XP SP3 ขึ้นไปเท่านั้น หากเป็น Mac ก็ต้องเป็นเวอร์ชั่น 10.6.5 เป็นต้นไปนะครับ เรามาดูกันครับว่า ระบบไฟล์แบบ exFAT มีความเป็นมายังไง และวิธีฟอร์แมตให้เป็นระบบนี้ ต้องทำยังไงกันบ้าง พร้อมแล้วตามมาเลยครับ

exFAT เป็นระบบไฟล์ที่ทางไมโครซอฟท์เป็นผู้พัฒนา เรียกได้ว่าเป็นการพัฒนาขึ้นมาจากระบบ FAT แบบธรรมดา และยังสามารถรองรับการโอนถ่ายข้อมูลที่ใหญ่กว่า 4GB ขึ้นไปได้อีกด้วย แต่ถูกออกแบบมาเพื่ออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลขนาดเล็กความจุไม่มาก อย่างเช่น เมมโมรีการ์ด แฟลชไดรฟ์ External Harddisk อีกทั้งไม่สนับสนุนกับระบบปฏิบัติการรุ่นเก่ามาก ๆ แต่ในปัจจุบันนี้ เราสามารถติดตั้งบน Windows รุ่นใหม่ๆ ได้แบบไม่ต้องติดตั้งไดรเวอร์ ซึ่งก็ดูเหมือนว่าจะให้ความสะดวกดีพอสมควร เหมาะสำหรับผู้ที่ใช้งานร่วมกับ Windows เป็นประจำ และใช้ร่วมกับ Mac บ้างในบางเวลา โดยวิธีการใช้งานก็ไม่ได้ยุ่งยากอีกด้วยครับ

การตั้งค่า สำหรับน Mac OS

  1. ได้โดยไปที่ Applications เลือก Utilities จากนั้นให้เปิดโปรแกรม Disk Utility แล้วต่ออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลเข้ากับตัวเครื่องครับ
  2. เลือกที่ไอคอนของไดรฟ์อุปกรณ์ที่อยู่ทาง Sidebar
  3. จากนั้นคลิกเลือกที่แท็บ ที่อยู่ตรงกลาง แล้วเลือกคลิกเลือกที่หัวข้อ Format ให้เลือกเป็น exFAT เพียงเท่านี้ก็เป็นอันเสร็จสิ้นครับ

การตั้งค่า สำหรับน Windows

  1. ให้เสียบอุปกรณ์เก็บข้อมูลเข้ากับตัวเครื่อง
  2. ให้คลิกเมาส์ขวาบนไดรฟ์อุปกรณ์ แล้วเลือก File format เลือกที่ Format จากนั้นให้เลือกที่ File System แล้วเลือกเป็น exFAT รอจน กว่าระบบจะทำการฟอร์แมตเสร็จสิ้น เพียงเท่านี้ก็ใช้งานได้แล้วละครับ

เป็นยังไงกันบ้างครับ วิธีที่นำมาฝากวันนี้ ไม่ยากเกินไปใช่มั้ยครับ นอกจากใช้วิธีการฟอร์แมตแบบ exFAT แล้ว ยังมีการใช้ซอฟต์แวร์มาช่วยก็ได้นะ อย่างเช่น Paragon NTFS ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งบนเครื่อง Mac สำหรับการอ่าน และเขียนข้อมูลบนระบบไฟล์ NTFS ได้ทันที หรือจะเป็น MacDrive ที่อ่านไดรฟ์ของ Mac บนวินโดวส์ได้ทันทีเช่นกัน

แต่ก็ต้องบอกว่า ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ จะมีทั้งฟรีและเสียค่าใช้จ่าย ยังไงก็เลือกใช้ให้เหมาะสมกับตัวเราเองด้วยนะครับ สำหรับคลิปต่อไป เราจะนำเทคนิค หรือการแก้ปัญหา อะไรมาฝาก อย่าลืมติดตามนะครับ

หนึ่งปัญหาของคนใช้งานคอมพิวเตอร์ก็คือการใช้ Hard disk ร่วมกับระบบปฏิบัติการทั้ง Windows และ MacOS กล่าวง่ายๆก็คือมีการใช้งานทั้งกับคอมพิวเตอร์ที่เป็น Windows และ Mac นั่นเอง แต่บ่อยครั้งที่เราเจอปัญหาว่า Hard disk ของเรานั้นไม่สามารถคัดลอกข้อมูลลงบน Hard disk ได้เมื่อเราทำการเชื่อมต่อกับเครื่อง Mac

External hard drives ลง windows ท ม ข อม ล

สาเหตุที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะว่า Format ของ Hard disk ที่เราใช้อยู่นั้น อาจจะเป็น Format ที่ไม่รอรับการเขียนข้อมูลลงบน Hard disk เมื่ออยู่บน MacOS เช่น อาจจะอยู่บน Format NTFS

สิ่งที่เราจะต้องทำนั่นก็คือ ทำการ Format Hard disk ลูกนั้นใหม่ เพื่อตั้งค่า Format ให้สาามารถใช้งานได้ทั้งบน Windows และ MacOS โดยหากเป็น Hard disk ที่มีข้อมูลอยู่ ก็ให้ทำการ Backup ข้อมูลนั้น ไปเก็บไว้ที่อื่นก่อน เพื่อเตรียมดำเนินการ Format Hard disk

เมื่อทำการ Backup ข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ก็ให้ทำการเชื่อต่อ Hard disk ลูกนั้น เข้ากับเครื่อง MAC ของคุณ

External hard drives ลง windows ท ม ข อม ล

โดยเข้าไปที่ Finder แล้วเลือก Application > Utilities > Disk Utility จากนั้นให้ทำการเลือก Hard disk ลูกที่ต้องการ Format ด้านซ้ายมือ แล้วเลือกที่เมนู Erase จากนั้นในหัวข้อ Format ให้เลือกเป็น exFAT และเลือกที่ปุ่ม Erase

ก็เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการ Format เพียงเท่านี้ในการเชื่อมต่อครั้งต่อไปคุณก็จะสามารถใช้ Hard disk ได้ทั้งระบบปฏิบัติการ Windows และ MacOS

โดย Format ประเภทต่างๆบน MacOS นั้น พอจะสรุปได้คร่าวๆดังนี้

1. exFAT เหมาะสำหรับการใช้งานทั้ง Windows และ MacOS 2. FAT เหมาะกับการใช้งานบน Window สำหรับ Hard disk และ Flash drive ขนาดเล็ก 3. Mac OS Extended เหมาะกับการใช้งานสำหรับ mac เท่านั้น 4. NTFS หรือ Windows NT Filesystem เหมาะสำหรับระบบ Windows และ Server

หมายเหตุ : หากทำการ Format บน Windows ก็ให้ทำการเลือกประเภทเป็น ExFAT เช่นกัน

ทั้งนี้ หากท่านมี hard disk เสียและต้องการข้อมูลคืน ท่านก็สามารถปรึกษาเราได้ฟรี

ติดต่อเราที่ IDR LAB ศูนย์กู้ข้อมูลที่ได้มาตรฐานและพร้อมที่สุดในประเทศไทย ปรึกษาปัญหาและส่งตรวจเช็ค ประเมินอาการได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ได้ที่ Line ID : @idrlab หรือ Hotline สายด่วนตลอด 24 ชั่วโมง โทร. 094-692-8080, 080-591-3536