External เป ดมา โฟลอเดอร ม คำว า readme

ววิ ัฒนาการของระบบปฏิบตั กิ าร Windows

วินโดวส์ 1.0 รนั จากดอส โดยวนิ โดวส์ 1.0 สามารถเรยี กใชง้ านโปรแกรมและฟงั กช์ ัน

ตา่ งๆบนดอสได้ รวมถงึ โปรแกรมสาหรบั วนิ โดวสน์ ั้นยงั รนั ดว้ ยไฟล์ .exe เหมอื นโปรแกรมดอส อ่นื ๆ แต่วา่ วินโดวสไ์ ฟล์ .exeนน้ั เป็นรปู แบบใหมต่ า่ งจากเดิม ซงึ่ สามารถเรยี กได้ผา่ นวินโดวส์ เท่านน้ั

วินโดวส์ 1.0 สามารถเรยี กไดว้ ่าเปน็ เพยี งการแสดงผลสว่ นหนา้ ของดอส ไม่ว่าจะเปน็ การ บริหารจดั การไฟลน์ ัน้ วินโดวสเ์ รียกใช้ฟงั ก์ชันตา่ งๆในดอสอกี ที ซ่งึ ทาให้วนิ โดวสน์ น้ั ไมส่ ามารถ ทางานไดด้ ้วยตัวเอง หากไม่มีดอส ซ่งึ วนิ โดวสร์ ุน่ ตอ่ ๆไปน้นั จะแทนทดี่ อส จนสุดทา้ ยแล้วไม่ จาเปน็ ทีต่ ้องพ่ึงพาดอสตอ่ ไป

เน่อื งจากไมโครซอฟท์ไดม้ ีการรองรบั ความเขา้ กันไดก้ บั รุ่นก่อนๆอย่างมาก จึงทาให้ โปรแกรมทพี่ ัฒนาสาหรับวินโดวส์ 1.0น้นั ยงั สามารถทางานได้ในวินโดวสร์ ุ่นปัจจุบัน และยงั สามารถเปลย่ี นโปรแกรมใหเ้ ปน็ รปู แบบทันสมัยเหมือนโปรแกรมปัจจุบนั ได้โดยการแกไ้ ขเพียง เล็กนอ้ ย

วนิ โดวส์ 2.0 (อังกฤษ: Windows 2.0) ไดอ้ อกวางจาหนา่ ยวนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน พ.ศ.

2530 (ค.ศ. 1987) ซึ่งเปน็ รนุ่ ต่อจากวินโดวส์ 1.0 โดยไดเ้ พิม่ ระดบั ศักยภาพและความสามารถ หลายส่วน และบางสว่ นนั้นคลา้ ยคลงึ กบั แมคอินทอชรนุ่ แรก

วินโดวส์ 2.0 อนญุ าตใหว้ ินโดวต์ ่างๆ ซ้อนกนั ได้ โดยความสามารถนีไ้ ม่สามารถทาไดใ้ น วินโดวส์ 1.0 เน่อื งจากคดฟี อ้ งร้องระหว่างไมโครซอฟทแ์ ละแอปเปิล คอมพวิ เตอร์ รวมถึงยงั ได้ เปลย่ี นไปใช้ปุ่ม Minimize และ Maximize รวมถงึ การรองรบั การใช้ปมุ่ ลัด (shortcut keys) ขนั้ สงู แตก่ ารบริหารจัดการไฟล์ในวนิ โดวสน์ ้นั ยังใชด้ อสเป็นฉากหลงั อย่เู หมือนรุ่นก่อนหน้านี้

วนิ โดวส์ 2.0 เป็นรนุ่ แรกท่ีไมโครซอฟท์ เวิรด์ และเอกซเ์ ซลรนั บนวินโดวส์ และยงั ได้รับการ สนบั สนนุ จากผู้พัฒนาอื่นๆเพ่ิมขนึ้ อยา่ งมากกว่ารนุ่ กอ่ น

Windows 3

ออกมาในวนั ที่ 22 พฤษภาคม 1990 เปน็ Windows รุ่นแรกทีป่ ระสบความสาเร็จอยา่ ง กว้างขวาง และสามารถฟาดฟนั กับ OS เจ้าถิน่ ในสมัยน้นั อย่าง Apple Macintosh ได้ Windows 3.0 มี Protected/Enhanced mode เพื่อให้ Applicaton ของ Windows สามารถใช้ Memory เยอะได้ไดม้ ากกว่าที่ DOS จดั มาให้ (ยังรนั บน DOS อย่)ู

Windows 3.11 NT

เปน็ Windows ตัวแรกของสาย NT โดยเน้นในทาง Server กับทางธุรกจิ ออกมาในวนั ท่ี 27 กรกฎาคม 1993 โดยมีออกมาดว้ ยกัน 2 รุ่นคอื Windows NT 3.1 กับ Windows NT Advanced Server ซ่งึ Windows 3.11 NT น้ีมรี ะบบความปลอดภยั ในการรนั Application ท่ี เขม้ งวดขนึ้ โปรแกรมไหนที่ตดิ ตอ่ กับ Hardware โดยตรง หรือยังใช้ Driver ของระดบั DOS อยู่ จะไมอ่ นญุ าตให้รัน ทาให้ระบบมีความเสถียรขน้ึ กว่าเดิมมาก นอกจากน้ียังมีการเพ่มิ Win32 ซงึ่ เปน็ API แบบ 32 bit

Windows 3.1X

ออกมาสานตอ่ ความสาเรจ็ ของ Windows 3.0 โดยออกมาในเดอื นมีนาคม 1992 Windows 3.1X ออกแบบมาโดยใช้โทนสีชอ่ื Hotdog Sand ซงึ่ ประกอบดว้ ยสีหลักๆ คอื แดง เหลือง ดา เพอ่ื ชว่ ยใหค้ นทตี่ าบอดสใี นระดับหนงึ่ สามารถมองตัวอักษร,ภาพ ได้สะดวกขึ้น Windows for Workgroups 3.1 ออกมาในเดอื นตลุ าคม 1992 โดยเพมิ่ เติมในส่วนของการสนับสนุนระบบ เครือข่าย

Windows 7

วางจาหน่ายเมอ่ื วนั ที่ 22 ตลุ าคม 2009 ยงั คงใช้อนิ เทอร์เฟซแบบกง่ึ โปร่งใสคลา้ ยกบั Windows Vista รองรับการใช้งานแบบระบบสัมผสั หน้าจอ พรอ้ มท้งั การมาของ Taskbar รูปแบบใหม่ท่ีแสดงเป็นไอคอนโปรแกรมขนาดใหญก่ วา่ เดิม สามารถปักหมดุ โปรแกรมทใี่ ช้เปน็ ประจาไวบ้ น Taskbar ได้ เป็นอีกหนง่ึ รนุ่ ท่ไี ดร้ ับความนิยมค่อนขา้ งมาก และทาให้ผู้ใช้ Windows XP หลายคนตัดสนิ ใจที่จะอัพเกรดมาใช้ Windows 7

Windows 8

วางจาหน่ายเม่อื วันที่ 26 ตุลาคม 2012 มาพรอ้ มกบั การเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่ อนิ เทอร์เฟซ ถกู เปลย่ี นให้เปน็ แบบเรียบสไตล์ Metro ปุม่ Start และ Start Menu หายไป แทนท่ดี ว้ ย Start Screen แบบเตม็ จอ การใช้งานถูกแบ่งออกเปน็ โหมด Desktop ปกติเหมือน Windows ร่นุ ก่อน ๆ กบั โหมด Metro สาหรับใช้งานแอพพลิเคช่นั บน Windows Store แบบเตม็ จอ รองรับการใช้ งานระบบสมั ผัสเตม็ รปู แบบ มผี ใู้ ช้จานวนหนง่ึ ทีไ่ ม่ค่อยถกู ใจกับความเปลย่ี นแปลงดังกลา่ วและ เลอื กท่ีจะใช้ Windows 7 ต่อไป โดยในปี 2013 ไมโครซอฟท์ไดอ้ อก Windows 8.1 ท่นี าปุ่ม Start กลับมา พรอ้ มท้งั ปรับปรงุ ระบบอกี เล็กนอ้ ย

Windows 95

เปน็ OS ที่ประสบความสาเรจ็ สงู สดุ ของ Microsoft ออกมาในวนั ท่ี 24 สงิ หาคม 1995 เร่ิม แยกตัวออกจาก DOS แล้ว (ยังมหี ลงเหลอื การใชง้ าน Code บางสว่ นจาก DOS อยู่) โดย Microsoft ได้ออก MS-DOS 7.0 ซึ่งเป็น DOS รุ่นปรับปรงุ ความสามารถเพอ่ื ให้รองรบั Windows ใน Windows 95 นีม้ ีการปรับปรุง User Interface เปน็ แบบใหม่ โดยแทบจะไม่ เหลอื สิง่ เดิมๆ ทีเ่ คยมาจาก Windows รนุ่ ก่อนๆ ซึง่ ส่งิ ใหม่ๆ ที่เพิม่ เข้ามาก็ได้แก่ Taskbar, Start button ,Start menu, และมี Windows Explorer เอาไวจ้ ัดการไฟล์ Windows 95 รองรับการต้ังชอ่ื ไฟลไ์ ด้สงู สดุ 255 ตวั อกั ษร รวมนามสกุล (ใน Windows รนุ่ ก่อนๆ ต้งั ชอ่ื ไฟล์ ในระบบ 8.3 คือชอ่ื ไฟล์ 8 ตัว นามสกลุ อกี 3 ตวั ซง่ึ เปน็ ขอ้ จากดั มาจาก DOS) มกี ารทางาน แบบ 32 bit Multitasking

Windows 98

ออกมาในวันท่ี 24 มิถนุ ายน 1998 เอา Interface แบบ Web มายดั ใสใ่ น Windows และยัด เอียด Internet Explorer 4 มาให้พรอ้ ม โดยตอนแรกกะจะใหม้ าแทน Windows 95 แต่ไปๆ มาๆ Windows 98 รุ่นแรกกลับมีปัญหามาก การใช้งานกไ็ มค่ ่อยจะดีเทา่ ไหร่ แถมตอนงาน เปดิ ตวั กด็ นั ไปขน้ึ จอฟา้ โชว์สาธาณชนอีกต่างหาก งานน้ีเลยต้องออก Windows 98 SE (Second Edition) ออกมาแกต้ ัวในวนั ท่ี 5 พฤษภาคม 1999 โดยแก้บั๊ก และปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพ เพ่ิมเติมการรองรบั USB และอพั เกรด IE เป็นรุน่ 5.0

Windows Me

วางจาหน่ายเมือ่ เดือนกันยายน 2000 ตัวยอ่ Me ย่อมาจาก Millennium Edition เปน็ Windows สาหรับใชง้ านภายในบ้านรุ่นสดุ ท้ายทีจ่ ะใชโ้ คด้ เคอร์เนลแบบเดียวกับ Windows 95 และ 98 ในการพฒั นา มกี ารพัฒนาใหร้ องรบั สือ่ บนั เทงิ ตา่ ง ๆ มากยง่ิ ข้นึ แต่ไมไ่ ด้รับความนิยม มากเทา่ Windows 98

Windows Vista

วางจาหน่ายเม่อื วนั ที่ 30 มกราคม 2007 อินเทอร์เฟซทถี่ กู เปล่ียนแปลงอกี ครัง้ โดยเนน้ ไปท่ี หน้าตา่ งแบบก่งึ โปร่งใส มองเหน็ ทะลุได้ ดคู ลา้ ยกระจก ปุม่ Start ถกู เปน็ เปลยี่ นลกู แก้วโลโก้ Windows พรอ้ มทงั้ เพิม่ ประสิทธิภาพด้านรกั ษาความปลอดภัยมากกวา่ เดมิ แตไ่ มไ่ ด้รบั ความ นยิ มเทา่ ทีค่ วรเม่อื เทยี บกับ Windows XP

Windows XP

วางจาหน่ายเม่อื วันที่ 25 สิงหาคม 2001 เปน็ Windows รนุ่ ท่ีมีผู้ใช้งานมากทสี่ ดุ และประสบ ความสาเรจ็ มากที่สดุ เนอื่ งจากอินเทอรเ์ ฟซทถ่ี กู พัฒนาให้สวยงามกวา่ รุน่ ก่อนหนา้ อย่างกา้ ว กระโดด ปมุ่ Start สเี ขียว Taskbar สฟี ้าสดใส พร้อมทงั้ ระบบท่ีมคี วามเสถียรและปลอดภัย สามารถอัพเดทตวั เองได้ มโี ปรแกรมรองรบั มาก โดย Windows XP เป็นรุ่นทแี่ รกใช้โค้ดเคอร์ เนลตระกูล NT พัฒนาออกมาท้ังรนุ่ Home Edition สาหรบั ใชใ้ นบ้าน และ Professional สาหรบั ใชใ้ นธรุ กจิ และออกเวอร์ช่นั 64 บติ ตามมาในปี 2005

Windows 10

เปิดตัวเม่ือวันที่ 30 กนั ยายน 2014 เปน็ Windows รนุ่ ใหม่ลา่ สุดท่ีทางไมโครซอฟทไ์ ดข้ า้ ม ชอ่ื Windows 9 ไป สามารถใช้งานได้บนอปุ กรณ์ทีห่ ลากหลาย ไม่ว่าจะเปน็ สมาร์ทโฟน, แท็บ เลต็ , คอมพวิ เตอร์ ฯลฯ อนิ เทอรเ์ ฟซโดยรวมคลา้ ยกบั Windows 8 แตโ่ ปรแกรมและแอพฯ ต่าง ๆ สามารถใช้งานไดท้ ้ังโหมด Desktop และโหมด Tablet ไม่แยกออกจากกนั เหมอื น Windows

8 อกี แล้ว พรอ้ มท้ังการกลับมาของ Start Menu สำหรับกำรใชง้ ำนแบบโหมด Desktop โดยจะวำง จำหนำ่ ยในปี 2015

ทมี่ ำ : https://sites.google.com/site/os58110122115026/windows

เครอ่ื งแมคอินทอช

ความเปน็ มา ความเปน็ มา บริษทั แอปเปิล คอมพวิ เตอร์ อิงค์ (สหรัฐอเมริกา) เป็นผู้บุกเบิกเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ด้วยการนาเครือ่ ง พีซสี ่วนบุคคลตระกูล Apple II ออกส่ตู ลาดเปน็ ครงั้ แรกใน ปี 1970 ตามด้วยเครอื่ งพซี ตี ระกูล Macintosh ซงึ่ นาออกวางตลาดในป ี 1980 และไดร้ ับการตอบ รบั จากผใู้ ชอ้ ย่างกว้างขวางใน 140 ประเทศทัว่ โลกตั้งแต่กลมุ่ นกั เรียนนกั ศึกษา, ดีไซเนอร์, วิศวกร , นักธุรกิจ และผู้ใชท้ ั่วไป ความหมาย เปน็ ระบบปฏบิ ัตกิ ารสาหรับเครอื่ งไมโครคอมพวิ เตอร์ macintosh สว่ นมากนาไปใช้งาน ดา้ นกราฟิก ออกแบบและจดั แต่งเอกสาร นยิ มใชใ้ นสานักพมิ พต์ า่ ง ๆ นอกจากระบบปฏิบัติการท่ี กลา่ วมาแลว้ ยังมีระบบปฏิบตั กิ ารอกี มาก เชน่ ระบบปฏบิ ตั กิ ารท่ใี ชใ้ นเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ เพอื่ ให้คอมพวิ เตอรท์ างานรว่ มกันเป็นระบบ เชน่ ระบบปฏิบัตกิ ารเน็ตแวร์ นอกจากนย้ี งั มี ระบบปฏิบตั ิการท่ใี ชง้ านเฉพาะกบั เครื่องคอมพิวเตอรท์ ่สี รา้ ง ขึน้ มาเพื่องานใดงานหนง่ึ โดยเฉพาะ ซง่ึ สว่ นใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ในสถาบนั การศกึ ษา

ลักษณะการใชง้ าน เมื่อ เรม่ิ เปิดโปรแกรมเครอื่ งแมคอนิ ทอช โปรแกรมใน Rom ทเี่ รยี กวา่ Boot จะบอกให้ หนว่ ยประมวลผลกลาง ตรวจสอบดวู า่ มีดิสก์ระบบอยูใ่ นฟลอปปีดสิ กไ์ ดรฟ์หรอื ไม่ ถา้ ไมม่ กี จ็ ะดวู ่า สามารถใช้ระบบปฏิบตั ิการท่ีอยใู่ นฮาร์ดดสิ กไ์ ดห้ รือไม่ ถา้ ไม่มดี ิสก์ใดใชไ้ ด้เลย โปรแกรม Boot ก็ จะแสดงภาพแผ่นดิสก์พร้อมกับเคร่ืองหมายคาถามขน้ึ บนจอ หลังจากทตี่ รวจพบไฟล์ซิสเตมใน ระบบแล้ว โปรแกรม Boot ก็จะสั่งงานวงจรควบคุมดสิ กใ์ ห้สง่ สญั ญาณไฟฟา้ ไปยังดสิ ก์ไดรฟ์ เพ่ือ เลอื่ นหัวอา่ นดสิ กไ์ ดรฟ์ไปยังขอบนอกสดุ และเรม่ิ ส่งถ่ายขอ้ มูลจากดสิ ก์เขา้ มายัง RAM สิง่ แรกกค็ อื ส่วนของไฟล์ซสิ เตมทเ่ี ป็นระบบปฏิบัตกิ ารสว่ นทต่ี ้องเก็บไว้ใน RAM จากน้ันเคร่อื งแมคกจ็ ะอา่ น ไฟร์เดอร์จากดิสก์ และสรา้ งหน้าจอของไฟร์เดอร์ข้นึ มา ซง่ึ กค็ ือ เดสก์ทอ็ ป ถ้าต้องการดูข้อมูลท่ี เก็บไวใ้ นดิสกโ์ ดยคลกิ ดว้ ยเมาส์ แล้วเลือก Open จากเมนู File ไฟร์เดอร์จะทาการสรา้ งหน้าต่างท่ี แสดงไอคอนของไฟลแ์ ละช่ือเอาไว้ แมคอนิ ทอช (Macintosh) หรอื ท่รี จู้ ักในช่ือยอ่ วา่ แมค (Mac) เปน็ ช่อื ของผลิตภัณฑ์เครื่อง คอมพิวเตอรท์ ี่พฒั นา ออกแบบ และจาหนา่ ยโดยบริษทั แอปเปิล แมคอินทอชเครื่องแรกออกวาง จาหนา่ ยเมื่อ 24 มกราคม พ.ศ. 2527 ออกแบบโดย เจฟ ราสกิน แต่ปจั จบุ ันโจนาธาน ไอฟ์ได้มา รบั ชว่ งต่อ โดยถือว่าเป็นระบบคอมพวิ เตอรส์ ่วนบุคคลทม่ี ีส่วนตดิ ต่อผใู้ ช้แบบกราฟกิ และเมาส์ ซงึ่

ไม่ไดใ้ ช้คอมมานดไ์ ลน์เหมอื นคอมพวิ เตอรท์ ่ัวไปในขณะน้ัน โดยในส่วนประเทศไทย บรษิ ทั สหวริ ิ ยา โอเอ จากดั เปน็ ผ้นู าเขา้ และเปน็ ตวั แทนจดั จาหนา่ ยรายแรก ซ่ึง แมคอนิ ทอชรุ่นแรกท่ี บริษทั สหวิริยา ได้เปดิ ตัวและทาตลาดเป็นรนุ่ แรกคอื Macintosh Plus ซงึ่ ตลาดที่ บริษทั สหวิริยา ทา ในขณะนนั้ สว่ นใหญ่เป็น สานักพิมพ์ นิตยสาร โรงพมิ พ์ บริษทั ออกแบบ และบริษัท โฆษณา ซึง่ นับไดว้ า่ Macintosh เปน็ ผู้เร่ิมพลิกวงการพิมพ์ และออกแบบ โดยใช้ ระบบปฏิบตั กิ าร ทีถ่ ือว่า ฉลาด และเปน็ มิตร กับ ผใู้ ช้งาน (user) มากท่สี ุดในขณะน้นั แต่เนอื่ งจากราคาท่ีสงู มากใน ขณะนั้น ทาใหย้ งั ไมแ่ พร่หลายในหมู่ ผ้ใู ช้ทว่ั ไป เคร่ืองคอมพิวเตอรแ์ มคอนิ ทอชปัจจบุ ันมผี คู้ วบคมุ การออกแบบ คือ โจนาธาน ไอฟ์ โดยมี ผลติ ภัณฑห์ ลักในชอื่ สายการผลิต แมคมินิ ไอแมค และแมคโปร สาหรบั คอมพวิ เตอรต์ ้งั โตะ๊ แมคบกุ๊ แมคบกุ๊ แอร์ และแมคบกุ๊ โปร สาหรบั คอมพวิ เตอร์พกพา เครื่องคอมพวิ เตอรแ์ มคอนิ ทอชจะมีการตดิ ต้ังซอฟต์แวร์ระบบปฏิบตั กิ ารเฉพาะในช่อื แมคโอเอส ซึ่งรุน่ ปจั จุบันคือ Mac OS X 10.9 (Mavericks) ปจั จุบนั เครื่องคอมพวิ เตอร์แมคอนิ ทอชซึง่ เปลยี่ น มาใช้ หนว่ ยประมวลผลกลางของอินเทลสามารถทางานกบั ซอฟตแ์ วร์ระบบปฏิบัติการอน่ื เชน่ ลิ นกุ ซ์ หรือ วนิ โดวส์ได้

ที่มำ :

https://sites.google.com/site/rabbptibatikarhomework/chux-rabb-ptibati-kar-thi-kab-kheruxng-dang-tx-pi- ni/kheruxng-maekhxinthxch-macinthosh

ระบบปฏิบัติการดอส (DOS : Disk Operating System)

เริ่มมใี ช้คร้ังแรกบนเคร่ือง IBM PC ประมาณปี ค.ศ. 1981 เรยี กว่าโปรแกรม PC-DOS ตอ่ มาบริษทั ไมโครซอฟต์ได้สรา้ ง MS-DOS สาหรบั เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ทัว่ ไป และไดร้ บั ความนิยมอยา่ งแพรห่ ลายมาจนถงึ ปจั จบุ นั ตัง้ แตร่ ุน่ Versions 1.0 2.0 3.0 3.30 4.0 5.0 6.0 และ 6.22 ปัจจุบนั มีซอฟตแ์ วร์ทางานภายใต้ ระบบปฏิบตั กิ าร MS-DOS อยเู่ ปน็ จานวนมาก โดยเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์รุน่ เก่าๆ ทีม่ ีทรัพยากรของระบบ นอ้ ย

ตัวอยา่ งหนา้ ตา่ งระบบปฏบิ ตั กิ าร MS-Dos

การใช้คาส่งั ดอส โดยการพมิ พค์ าสั่งทเี่ คร่ืองหมายพร้อมรับคาสั่ง ในลกั ษณะ Command Line ซึ่ง DOS ตดิ ตอ่ กับผใู้ ช้ดว้ ยการพมิ พค์ าสั่ง ไมม่ ภี าพกราฟกิ ใหใ้ ช้ เรยี กว่าทางานในโหมดตวั อกั ษร Text Mode ข้อเสีย คือ ติดต่อกับผู้ใช้ไม่สะดวก เพราะผู้ใช้ตอ้ งจา และพมิ พ์คาสงั่ ให้ถกู ตอ้ งโปรแกรมจึงจะทางาน ดงั นั้น ประมาณปี ค.ศ. 1985 บริษทั ไมโครซอฟตไ์ ดพ้ ฒั นา Microsoft Windows Version 1.0 และเร่อื ยมา จนถึง Version 3.11 ในปีค.ศ. 1990 ซอฟต์แวร์ดังกล่าว ทางานแบบกราฟกิ เรยี กว่า Graphic User

Interface (GUI) ทาหน้าท่แี ทนดอส ทาใหเ้ กิดความสะดวกแกผ่ ู้ใช้อย่างมาก คุณสมบตั ิเดน่ ของ Microsoft Windows 3.11 คือทางานในกราฟิกโหมด เปน็ Multi-Tasking และ Generic แตย่ ังคงทางานใน ลกั ษณะ Single-User ยังคงต้องอาศัยระบบปฏิบัตกิ ารดอส ทาการบูทเครื่องเพือ่ เรม่ิ ต้นระบบกอ่ น

ความยาวของชอ่ื -นามสกุล ไฟล์

ความแตกตา่ งทเี่ หน็ ในชดั ของช่อื ไฟล์ในระบบ DOS กบั Windows คือ ความยาวของชื่อ ไฟล์ Windows สามารถตง้ั ชอื่ ให้ยาวไดม้ ากถงึ 255 ตัวอักษร ส่วนในระบบ DOS ชื่อและนามสกุลของไฟล์จะ ถกู จากดั ไดเ้ พียง ชอ่ื ยาวไม่เกิน 8 ตวั อกั ษร นามสกุลยาวไม่เกนิ 3 ตัวอักษร ตวั อยา่ ง Readme.TXT (ชอื่ ไฟล์ Readme หลังจดุ คือนามสกุล TXT)

คาสง่ั ระบบ DOS พืน้ ฐาน

1. DIR (Directory) – คาสง่ั ในการแสดงรายชื่อไฟล์ รายชอ่ื ไดเรกทอรี่ (Folder ใน windows ปัจจุบัน)

ตวั อย่างการใชง้ าน (รวมคาส่ังย่อย ๆ) Dir – แสดงรายชอ่ื ไฟล์ ไดเรกทอรที่ ัง้ หมด พร้อมท้งั ขนาดไฟล์ + วันเวลาอัปเดทลา่ สดุ Dir /p – แสดงรายชอื่ ไฟล์ ไดเรกทอรใี่ นแนวนอน ใหห้ ยดุ แสดงทลี ะหนา้ (กรณที ม่ี จี านวนไฟล์ยาว มากกว่า 1 หน้าจอ) Dir /w – แสดงรายชอื่ ไฟล์ ไดเรกทอรใี่ นแนวนอน Dir /s, – แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเรกทอร่ี และไฟลท์ ี่อยใู่ นไดเรกทอรยี่ อ่ ยดว้ ย Dir /od – แสดงรายชอ่ื ไฟล์ ให้เรียงตามวนั ที่อปั เดท Dir /n – แสดงรายชอื่ ไฟล์ ให้เรยี งตามช่ือ

2. CLS (Clear Screen) – คาส่ังสาหรับลบหนา้ จอออก

3. DEL (Delete) – คาสงั่ ในการลบชอื่ ไฟล์ท่ตี ้องการ เชน่ DEL readme.txt หมายถงึ ให้ลบช่ือ ไฟล์ README.TXT

ตวั อยา่ งการใช้งาน (รวมคาส่งั ย่อย ๆ) Del readme.txt – ลบไฟลช์ อื่ readme.txt Del *.* – ให้ลบไฟล์ทงั้ หมดทอี่ ยูใ่ นไดเรกทอร่ีปัจจุบัน Del *. – ใหล้ บไฟล์ทัง้ หมดทีอ่ ยูใ่ นไดเรกทอรี่ปัจจุบัน เฉพาะไฟลท์ ี่ไมม่ นี ามสกุล

4. MD (Make Directory) – คาสงั่ ในการสรา้ งไดเรกทอรี่ เชน่ MD Photo จะได้ไดเรกทอร่ี C:Photo 5. CD (Change Directory) – คาสง่ั ในการเข้าไปในไดเรกทอร่ี (CD คือคาสัง่ ในการออกจากห้องไดเรกทอร่ี) 6. RD (Remove Directory) – คาสง่ั ในการลบไดเรกทอร่ี เช่น RD Photo (เราจะต้องอย่นู อกหอ้ งไดเรอทอ รี่ Photo)

7. REN (Rename) – คาสง่ั ในการเปลี่ยนชื่อชือ เช่น REN readme.txt read.me หมายถึงการเปล่ียนชือ่ ไฟล์ เปน็ READ.ME

ชนดิ คาสัง่ DOS

คาสง่ั ของ DOS มอี ยู่ 2 ชนดิ คอื 1. คาสัง่ ภายใน (Internal Command) เปน็ คาสง่ั ท่เี รยี กใชไ้ ด้ทันทตี ลอดเวลาท่เี คร่ืองเปิดใชง้ านอยู่ เพราะ คาส่ังประเภทนถ้ี ูกบรรจลุ งในหน่วยความจาหลกั (ROM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot DOS สว่ นมากจะเปน็ คาส่ังทใี่ ชอ้ ยู่เสมอ เช่น CLS, DIR, COPY, REN เปน็ ตน้ 2. คาสั่งภายนอก (External Command) คาส่ังนีจ้ ะถูกเก็บไว้ในดสิ ก์หรือแผน่ DOS คาส่ังเหล่านจ้ี ะไมถ่ กู เกบ็ ไว้ในหน่วยความจา เมอื่ ตอ้ งการใช้คาสง่ั เหลา่ นคี้ อมพวิ เตอรจ์ ะเรยี กคาสั่งเข้าสู๋หนว่ ยความจา ถา้ แผ่นดิสก์หรอื ฮารด์ ดิสก์ไม่มีคาส่ังท่ตี อ้ งการใช้อยกู่ ไ็ ม่สามารถเรยี กคาสง่ั นั้น ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น คาสงั่ FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เป็นต้น

รปู แบบและการใช้คาสั่งตา่ งๆ

ในการใชค้ าสง่ั ตา่ ง ๆ ของ DOS จะมกี ารกาหนดอกั ษรหรือสญั ญลกั ษณ์ ใชแ้ ทนขอ้ ความของรูปแบบคาสง่ั ดังน้ี [d:] หมายถงึ Drive เชน่ A:, B: [path] หมายถึง ชือ่ ไดเรคเตอรี่ยอ่ ย [filename] หมายถงึ ชื่อแฟม้ ขอ้ มลู หรอื ชื่อไฟล์ [.ext] หมายถึง ส่วนขยาย หรอื นามสกุล หมายเหตุ : ขอ้ ความทอ่ี ยใู่ นวงเล็บ ([ ] ) ถ้าไมม่ ีก็ไมต่ อ้ งใสใ่ นคาสั่ง

ทดลองใช้คาสงั่ DOS ใน Windows

สาหรับผู้ใชง้ าน Windows 95,98 สามารถทดสอบการใชง้ านระบบ DOS ได้ มีวธิ ีเรียกใชง้ านดังน้ี

1. คลกิ ปุ่ม Start เลอื ก คาสงั่ RUN พิมพค์ าวา่ Command หรอื 2. คลกิ ปุ่ม Start เลอื กเมนู Program และเลอื กโปรแกรม MS-DOS 3. ต้องการให้หน้าจอแสดง DOS เต็มจอให้กดปุ่ม ALT พรอ้ มกับปมุ่ Enter 4. และถ้าตอ้ งการใหห้ น้าจอเล็กดังเดมิ ก็ให้กดป่มุ ALT พรอ้ มกบั ปุ่ม Enter เชน่ เดียวกัน 5. เลิกทดสอบและตอ้ งการเข้าระบบ Windows ให้พิมพ์คาวา่ EXIT

การติดต้งั โปรแกรมดอสจากแผน่ ดิสก์ 4 แผน่ 1. ให้นาแผ่น DOS แผน่ ท่ี 1 ใสใ่ นไดร์ฟ A แล้ว Restart เคร่อื ง 2. รอสักพกั จะมีหนา้ จอสีฟา้ ให้กด Enter เลยไป

3. พบกรอบสเี่ หลีย่ มมีขอ้ ความใหเ้ ลือก 2 บรรทดั คือ บรรทัดแรกออกจากไป DOS Prompt 4. บรรทดั ที่ 2 ให้ SETUP โปรแกรม DOS ใหเ้ ลือกรายการ SETUP กด N 5. จะพบขอ้ ความวา่ The Setting are Correct แปลว่า การตดิ ตง้ั ถกู ต้องใหก้ ด Enter 6. จะพบข้อความใหเ้ ปลยี่ นชอื่ Directory C:DOS ถา้ ไมป่ ระสงคจ์ ะเปลย่ี นใหก้ ด Enter 7. จะพบข้อความสฟี า้ ออ่ น ความหมายคอื โปรแกรมจะเรม่ิ ตรวจเชค็ ค่าท่จี าเปน็ เกย่ี วกบั ภาษา กด Enter 8. จะพบกรอบข้อความท่มี ขี ้อความว่า เก็บค่า เก็บคา่ ออกจากโปรแกรม ให้เลอ่ื นแถบสีแดงมาทับ แลว้ กด Enter 9. โปรแกรมจะเริม่ COPY ไฟลจ์ ากแผน่ ลงฮาร์ดดิสกจ์ ากแผ่นที่ 1 ไปเรื่อย ๆ จนมรี ายการหนา้ จอใหใ้ ส่แผน่ ที่ 2 , 3 และ 4 ตามลาดับ 10. ส่วนแผน่ ที่ 4 พอได้ 99% จะมรี ายงานให้กด Y กด Y แลว้ กดดงั รูป 11. แล้วรอสักพกั จะมรี ายงานใหก้ ด Enter และมีรายงานให้นาแผ่นออกจากไดร์ฟ A แล้ว Restart เคร่อื งอีก ครั้ง การลงโปรแกรม DOS ก็เสร็จเรยี บรอ้ ย

ที่มา : https://bit.ly/3grBxif

ระบบปฏิบตั กิ ารลนี กุ ซ์

เปน็ ระบบปฏิบัติกำรทีม่ คี วำมสำมำรถสูง ในกำรบรหิ ำรระบบเครอื ข่ำยอินเทอร์เนต็ มีลกั ษณะคล้ำยกำร จำลองกำรทำงำน มำจำกยนู กิ ซ์ แตจ่ ะมีควำมยืดหยุ่นในกำรทำงำนมำกกวำ่ เปน็ ระบบปฏิบตั ิกำร ประเภทแจกฟรี (Open Source) ผ้นู ำไปใช้งำน สำมำรถท่ีจะพัฒนำและปรบั ปรุงในส่วนทเ่ี กิดปญั หำระหว่ำงใช้งำนไดท้ ันที อกี ท้งั ยงั สำมำรถปรบั ให้เขำ้ กบั ฮำร์ดแวร์ทีใ่ ชเ้ พื่อใหไ้ ด้ประสิทธภิ ำพของระบบมำกที่สดุ และยังมกี ำรเพ่ิม สมรรถนะ (Update) อยตู่ ลอดเวลำ

ตัวอยา่ งหนา้ ตา่ งระบบปฏิบตั กิ าร LINUX

ลนี กุ ซ์คืออะไร

ลีนกุ ซร์ ะบบปฏิบัตกิ ำรแบบ 32 บิต ท่เี ป็นยูนิกซ์โคลน สำหรับเครื่องพีซี และแจกจำ่ ยใหใ้ ชฟ้ รี สนับสนุนกำรใช้ งำนแบบหลำกงำน หลำยผ้ใู ช้ (MultiUser-MultiTasking) มีระบบ X วินโดวส์ ซึ่งเปน็ ระบบกำร ติดต่อผใู้ ช้แบบกรำฟฟกิ ที่ไม่ข้นึ กับโอเอสหรอื ฮำร์ดแวร์ใดๆ (มักใช้กนั มำกในระบบยูนิกซ์) และมำตรฐำนกำร สือ่ สำร TCP/IP ท่ีใช้เปน็ มำตรฐำนกำรสือ่ สำรในอนิ เทอรเ์ นตมำให้ในตัว ลนี ุกซม์ ีควำมเขำ้ กันได้

(compatible) กับ มำตรฐำน POSIX ซง่ึ เปน็ มำตรฐำนอินเทอรเ์ ฟสท่ีระบบยูนกิ ซส์ ่วนใหญจ่ ะต้องมีและมี รปู แบบบำงสว่ นท่ีคล้ำยกบั ระบบปฏิบตั กิ ำรยนู ิกซจ์ ำกค่ำย Berkeley และ System V โดยควำมหมำยทำง เทคนคิ แล้วลนี กุ ซ์ เป็นเพียงเคอรเ์ นล (kernel) ของระบบปฏบิ ตั กิ ำร ซง่ึ จะทำหน้ำที่ในด้ำนของกำรจัดสรรและ บริหำรโพรเซสงำน กำรจดั กำรไฟลแ์ ละอุปกรณ์ I/O ตำ่ งๆ แต่ผใู้ ชท้ ่ัวๆไปจะรจู้ กั ลนี กุ ซผ์ ำ่ นทำงแอพพลิเคช่ัน และระบบอินเทอร์เฟสที่เขำเหล่ำนน้ั เหน็ (เช่น Shell หรอื X วินโดวส)์ ถ้ำคุณรันลนี กุ ซบ์ นเครื่อง 386 หรือ 486 ของคุณ มันจะเปลีย่ นพซี ขี องคณุ ให้กลำยเปน็ ยูนิกซ์เวอร์กสเตชนั ทีม่ คี วำมสำมำรถสูง เคยมีผ้เู ทยี บ ประสิทธิภำพระหวำ่ งลนี ุกซ์บนเครื่องเพนเทียม และเครอ่ื งเวอร์กสเตชนั ของซนั ในระดบั กลำง และได้ผลออกมำว่ำ ใหป้ ระสิทธภิ ำพทใ่ี กลเ้ คยี งกัน และนอกจำกแพลตฟอร์มอินเทลแล้ว ปจั จุบันลีนุกซ์ยังไดท้ ำกำรพฒั นำระบบเพ่ือให้ สำมำรถใช้งำนได้บนแพลตฟอรม์ อ่นื ๆด้วย เชน่ DEC Alpha , Motorolla Power-PC , MIPS เมือ่ คณุ สร้ำงแอพพลเิ คชนั ขนึ้ มำบนแพลตฟอรม์ ใดแพลตฟอร์มหนง่ึ แล้ว คณุ ก็สำมำรถยำ้ ยแอพพลิเคชันของคณุ ไป ว่งิ บนแพลตฟอร์มอ่ืนไดไ้ มย่ ำก ลนี ุกซ์มีทมี พฒั นำโปรแกรมที่ตอ่ เนอ่ื ง ไมจ่ ำกัดจำนวนของอำสำสมัครผู้รว่ มงำน และสว่ นใหญจ่ ะติดต่อกนั ผำ่ นทำงอินเทอร์เนต เพรำะที่อยูอ่ ำศัยจริงๆของแตล่ ะคนอำจจะอยู่ไกลคนละซกี โลกกไ็ ด้ และมแี ผนงำนกำรพัฒนำในระยะยำว ทำให้เรำมน่ั ใจไดว้ ่ำ ลีนุกซ์เปน็ ระบบปฏบิ ัตกิ ำรท่มี ีอนำคต และจะยังคง พัฒนำตอ่ ไปได้ตรำบนำนเทำ่ นำน

ประวัตขิ องลนี กุ ซ์

ลีนกุ ซ์ถือกำเนดิ ขน้ึ ในฟนิ แลนด์ ปี คศ. 1980 โดยลีนุส โทรวัลด์ส (Linus Trovalds) นกั ศึกษำภำควิชำ วทิ ยำกำรคอมพวิ เตอร์ (Computer Science) ในมหำวทิ ยำลยั เฮลซิงกิ ลีนุส เหน็ วำ่ ระบบมินกิ ซ์ (Minix) ที่เป็นระบบยูนิกซบ์ นพีซีในขณะน้ัน ซง่ึ ทำกำรพัฒนำโดย ศ.แอนดรวู ์ ทำเนนบำวม์ (Andrew S. Tanenbaum) ยงั มคี วำมสำมำรถไม่เพียงพอแกค่ วำมต้องกำร จงึ ไดเ้ รมิ่ ต้นทำกำรพัฒนำระบบยนู ิกซ์ของ ตนเองข้ึนมำ โดยจดุ ประสงค์อีกประกำร คอื ตอ้ งกำรทำควำมเข้ำใจในวชิ ำระบบปฏิบัติกำรคอมพิวเตอร์ดว้ ยเมื่อเขำ เร่ิมพัฒนำลีนกุ ซไ์ ปชว่ งหนงึ่ แล้ว เขำก็ได้ทำกำรชักชวนให้นักพัฒนำโปรแกรมอน่ื ๆมำชว่ ยทำกำรพฒั นำลนี ุกซ์ ซงึ่ ควำมร่วมมือสว่ นใหญ่กจ็ ะเป็นควำมรว่ มมือผ่ำนทำงอนิ เทอรเ์ นต ลีนุสจะเป็นคนรวบรวมโปรแกรมที่ผู้พัฒนำตำ่ งๆ ไดร้ ว่ มกนั ทำกำรพฒั นำข้นึ มำและแจกจำ่ ยใหท้ ดลองใชเ้ พอื่ ทดสอบหำขอ้ บกพร่อง ท่นี ่ำสนใจกค็ อื งำนต่ำงๆเหล่ำน้ี ผ้คู นท้ังหมดตำ่ งก็ทำงำนโดยไม่คิดค่ำตอบแทน และทำงำนผ่ำนอนิ เทอรเ์ นตทงั้ หมด ปัจจบุ ันเวอรช์ นั ล่ำสุดของ ระบบลีนกุ ซ์ท่ไี ด้ประกำศออกมำคอื เวอรช์ ัน 2.0.13 ข้อสังเกตในเรอื่ งเลขรหัสเวอร์ชนั น้ีก็คือ ถำ้ รหสั เวอรช์ ัน หลงั ทศนิยมตัวแรกเปน็ เลขค่เู ชน่ 1.0.x,1.2.x เวอร์ชันเหลำ่ นี้จะถอื วำ่ เป็นเวอร์ชันทเี่ สถยี รแล้วและมีควำม ม่นั คงในระดับหนึ่ง แต่ถำ้ เป็นเลขคีเ่ ชน่ 1.1.x, 1.3.x จะถือว่ำเปน็ เวอรช์ ันทดสอบ ซงึ่ ในเวอร์ชันเหลำ่ น้จี ะมี กำรเพม่ิ เติมควำมสำมำรถใหมๆ่ ลงไป และยงั ต้องทำกำรทดสอบหำขอ้ ผิดพลำดตำ่ งๆอยู่

ทาไมถงึ ตอ้ งเป็นลนี ุกซ์ ข้อควำมบำงส่วนจำกหนงั สือ “Running Linux” ของ Matt Welsh and Lar Kaufman เน่อื งจำกเปน็ ระบบปฏิบตั กิ ำรทฟี่ รี คณุ สำมำรถจะขอจำกผทู้ มี่ ีลีนุกซ์ หรือจะดำวนโ์ หลดจำกอินเทอร์เนต หรอื บบี ี เอสได้โดยไมผ่ ดิ กฏหมำย เนอ่ื งจำกมีผู้นยิ มใชม้ ำก ทำให้มผี นู้ ำลีนกุ ซ์ไปแกไ้ ขให้สำมำรถใชง้ ำนไดบ้ นตวั

ประมวลผลกลำงหลำกหลำยตงั้ แต่อินเทล, โมโตโรลำ, ดจิ ติ อลอัลฟำ, พำวเวอรพ์ ซี ,ี ไปจนถึง สปำรค์ ของซนั นอกจำกนยี้ งั มผี ้พู ัฒนำโปรแกรมประยุกตอ์ อกมำกนั มำกมำย มีประสิทธภิ ำพและมคี ณุ ภำพสงู ลีนุกซเ์ ป็น ระบบปฏบิ ัติกำร 32 บิตเตม็ รูปแบบ ซง่ึ สำมำรถจะดงึ เอำพลังของเครอื่ งคอมพิวเตอร์ออกมำได้อยำ่ งเต็มกำลงั ลี นกุ ซ์ถูกพฒั นำ จำกผ้พู ัฒนำนับร้อยทวั่ โลก แต่ Linus จะเป็นคนวำงทิศทำงในกำรพฒั นำดว้ ยตัวเอง มคี ุณลักษณะ ของระบบ UNIX เต็มรปู แบบ และเปน็ ระบบหลำกผูใ้ ช้ หลำยงำนอย่ำง แทจ้ ริง ลนี กุ ซม์ ีระบบอินเทอร์เฟสแบบ กรำฟฟคิ ท่ีเรียกกนั ว่ำ X Windows ซ่งึ เปน็ มำตรฐำนของระบบยูนกิ ซ์ทัว่ ๆไป และสำมำรถใช้ window manager ไดห้ ลำยชนดิ ตำมควำมต้องกำร นอกจำกนยี้ งั สนบั สนนุ โปรโตคอลแบบ TCP/IP ,SLIP, PPP, UUCP และอนื่ ๆ คณุ สำมำรถหำข้อมลู เพิ่มเติมไดง้ ่ำย มีเอกสำรหลำกหลำย (กรุณำดูขำ้ งลำ่ ง) และผคู้ น มำกมำยคอยสนบั สนนุ คุณผ่ำนอินเทอร์เนต หรอื คณุ อำจจะหำกำรสนบั สนุนจำกบริษัทที่ปรึกษำ หรอื จำกบรษิ ัทผู้ จัดจำหนำ่ ยระบบลีนกุ ซก์ ไ็ ด้ มเี หตุผลหลำยประกำรท่สี ำมำรถอธิบำยได้ว่ำทำไมผคู้ นถึงชอบลนี ุกซ์ แต่โดยส่วนตวั แล้ว น่ำจะเป็นเพรำะกำรพฒั นำอย่ำงรวดเร็วของลนี ุกซ์ เน่ืองจำกคุณสำมำรถเห็นกำรเปล่ยี น แปลงตวั เคอรเ์ นล และ กำรพฒั นำโปรแกรมประยุกต์ใหมๆ่ ออกมำอย่ำงรวดเรว็ ซ่งึ ไม่เคยพบเหน็ ในระบบที่แจกจำ่ ยฟรีแบบนที้ ไี่ หนมำ ก่อนเลย ผูใ้ ช้งำนและแอพพลิเคชันบนลนี ุกซ์ บรรดำผใู้ ช้งำนบนลีนุกซ์มีได้หลำกหลำย ไมว่ ่ำจะเปน็ ระดบั เคอร์นลั แฮกเกอร์ ซง่ึ จะทำกำรศกึ ษำเกี่ยวกับกำรทำงำนของระบบปฏิบัติกำรในระดับลึก ไปจนถงึ เอนด์ยูเซอร์หรอื ผู้ใช้ ท่วั ไป คุณสำมำรถใช้ลีนุกซ์ทำประโยชนไ์ ดห้ ลำยอยำ่ ง ไม่วำ่ จะเอำไว้ทำกำรศึกษำระบบยนู กิ ซ์ หรือคุณสำมำรถจะ ศึกษำตัวอยำ่ งกำรเขยี นรหัสโปรแกรมที่ดไี ด้ หำกต้องกำรจะใชแ้ อพพลิเคชนั บนดอส หรอื บนวินโดว์ส ลีนกุ ซ์ก็จะมี ดอสอมี เู ลเตอร์ (DOSEMU) และวินโดว์สอีมูเลเตอร์ (WINE) ให้ สำหรับอมี เู ลเตอร์ทง้ั สองตวั นี้ยงั อย่ใู น ขน้ั ทดสอบ และยังรันแอพพลิเคชนั ของดอสกบั วนิ โดวส์ ไดไ้ ม่มำก แต่ทมี พัฒนำโปรแกรมทง้ั สองน้กี ็ยังทำกำร พัฒนำตอ่ ไปเร่อื ยๆ และตงั้ เปำ้ หมำยว่ำจะต้องรันแอพพลิเคชันของดอสกับวินโดวสใ์ หไ้ ดม้ ำกที่สดุ เทำ่ ที่จะทำได้ ล่ำสุดทำงบรษิ ัท Caldera ได้ทำกำรซื้อลขิ สทิ ธ์ WABI 2.2 ซึ่งเปน็ อมี ูเลเตอรส์ ำหรบั รนั แอพพลิเคชันของ วินโดว์ส ทีใ่ ชใ้ นเวอรก์ สเตชันของซนั มำใส่ในผลติ ภณั ฑ์ OpenLinux ของตน

ประวัตคิ วามเป็นมา

ระบบปฏิบัตกิ ำรเก่ำแก่ทถ่ี กู พัฒนำข้ึนในปี 1969 โดยบริษัทเอทีแอนด์ที (AT&T หรอื American Telephone & Telegraph) เพอ่ื ใช้กบั เครื่องมินิคอมพวิ เตอร์ โดยแรกเรมิ่ จะถกู ใชเ้ พื่องำนวจิ ยั หรือเพอื่ กำรศกึ ษำในมหำวิทยำลยั เทำ่ นัน้ ต่อมำได้ถกู นำมำใชใ้ นทำงธุรกิจและเปน็ ท่นี ยิ มแพรห่ ลำยมำจนถงึ ปจั จุบัน เนื่องจำกยูนิกซเ์ ปน็ ระบบปฏบิ ัติกำรสำหรบั ผใู้ ชห้ ลำยคน(Multi-User) และสนับสนนุ กำรทำงำนแบบหลำย งำน (Multi-task) ท่ีเปิดโอกำสผใู้ ชส้ ำมำรถรันงำนได้มำกกวำ่ หนึ่งงำนในเวลำเดียวกัน และเน่อื งจำกเปน็ ระบบปฏิบตั ิกำรท่ถี ูกพัฒนำข้ึนด้วยภำษำซี ไมใ่ ชแ่ อสเซมบลี ดงั นน้ั จงึ มีคณุ สมบตั ิทีเ่ ดน่ กว่ำระบบปฏบิ ัตกิ ำรอ่นื ๆ คือ กำรไมย่ ดึ ตดิ อยู่กับฮำรด์ แวร์ (Hardware independent) ดังนั้นจึงสำมำรถใช้งำนยนู กิ ซไ์ ดก้ ับเคร่อื ง คอมพิวเตอร์เกือบทุกแบบทุกประเภทตง้ั แตไ่ มโครคอมพิวเตอร์ มินิคอมพวิ เตอรไ์ ปจนถงึ เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ และนอกจำกนี้ยังมกี ำรเพิม่ เตมิ ควำมสำมำรถทำงดำ้ นกำรเช่ือมต่อเข้ำกบั ระบบเครอื ขำ่ ยอีกดว้ ย หลำยบริษัทได้หันมำสนใจยนู กิ ซ์ AT&T จึงไดอ้ อกใบอนญุ ำตให้กับบริษัทผผู้ ลิตมินคิ อมพวิ เตอร์และเคร่ือง เวอรก์ สเตชันทัง้ หลำย เปน็ ผลให้ยูนิกซ์ไดร้ ับกำรปรับปรุงแกไ้ ขและถูกขำยให้กับบริษทั อ่ืน ๆ อีกหลำยบรษิ ัท ซงึ่ ก็

ได้มีกำรพัฒนำยนู กิ ซ์เวอรช์ นั ใหม่ ๆ ออกมำมำกมำย ตวั อย่ำงเช่น ยนู กิ ซ์เวอร์ชนั AIX จำกบรษิ ทั ไอบเี อ็ม Solaris จำกบรษิ ทั ซันไมโครซิสเตม็ NextStep จำกบริษัท Next หรอื Motif จำกบรษิ ทั ไอบเี อม็ ดจิ ิตลั อีควบิ เมนท์ และฮิวเลททแ์ พ็คกำรด์ (Hewlett-Packard) ทรี่ ว่ มกันพฒั นำ Motif ขึ้นมำ หรือแม้แต่ใน ปัจจบุ นั ท่มี ีกลุ่มผคู้ นจำกท่ัวโลกไดร้ ่วมกันพฒั นำยนู ิกซเ์ วอร์ชันสำหรับไมโครคอมพวิ เตอรท์ เ่ี รียกว่ำ ไลนกั ซห์ รือลี นุกซ์ (Linux) ออกมำ ซ่งึ เกดิ จำกกำรแลกเปลีย่ นควำมเหน็ กันบนอินเตอรเ์ น็ตท่ตี ้องกำรจะพัฒนำยูนกิ ซ์สำหรบั เครอื่ งไมโครคอมพิวเตอร์ ทมี่ ีประสิทธิภำพเท่ำกบั เครอ่ื งขนำดใหญ่ ซง่ึ จะเปน็ กำรลดต้นทุนและค่ำใช้จำ่ ยกว่ำกำร ใช้ยนู ิกซส์ ำหรับเครื่องขนำดใหญ่ ยูนิกซย์ งั เป็นระบบปฏิบัตกิ ำรทีม่ เี คร่อื งมอื (tools) หรอื โปรแกรมอำนวยควำมสะดวก (utilities) และเซลล์ (shell) ทีช่ ว่ ยนกั เขยี นโปรแกรมสำมำรถพัฒนำโปรแกรมประยกุ ต์บนยูนิกซไ์ ด้อยำ่ งมปี ระสทิ ธภิ ำพ นอกจำกน้ี โครงสร้ำงระบบไฟล์ยงั เหมอื นกบั ระบบปฏิบตั กิ ำรดอส แต่คำสงั่ อำจแตกต่ำงกันไปบำ้ ง ขอ้ ดอ้ ยของยนู ิกซค์ ือ ผูใ้ ชส้ ่วนใหญ่จะต้องจดจำคำสง่ั ต่ำง ๆ ของยูนกิ ซ์ ซง่ึ ค่อนข้ำงยำกต่อกำรจดจำ แต่ในปจั จุบัน ผู้ผลติ เคร่ืองท่ีใช้ระบบปฏบิ ัติกำรยนู ิกซ์ ก็ได้พฒั นำโปรแกรมท่ีมลี กั ษณะเปน็ GUI (Graphic User Interface) จงึ ชว่ ยใหก้ ำรใช้งำนยูนกิ ซง์ ำ่ ยข้นึ นอกจำกน้กี ำรท่ยี ูนิกซ์ถกู พฒั นำเป็นหลำยเวอร์ชันจำกหลำย บรษิ ทั ซึง่ แตล่ ะเวอร์ชนั อำจมขี อ้ แตกต่ำงกันบ้ำงเลก็ น้อย จงึ ทำให้มผี ู้มองวำ่ ยนู กิ ซไ์ ม่มีควำมเปน็ มำตรฐำนเดยี วกัน แต่เนอ่ื งจำกยูนกิ ซเ์ ป็นระบบปฏบิ ัติกำรทส่ี ำมำรถใชง้ ำนได้กบั เครื่องคอมพิวเตอร์หลำยประเภทหลำยแบบ ดงั น้ันจึง เป็นระบบปฏิบัติกำรทน่ี ยิ มใชม้ ำกในระบบเครอื ข่ำยขนำดใหญท่ มี่ กี ำรเชื่อมเครือ่ งคอมพิวเตอร์ แตล่ ะประเภทเขำ้ ดว้ ยกนั ในลักษณะของเครอื ข่ำยอินเตอร์เนต็

จุดเด่นของ LINUX

1. เปน็ ระบบที่ใช้ไดฟ้ รี 2. เปน็ ระบบปฏิบัตกิ ำรแบบเปิด 3. คอมแพตเิ บิลกบั Unix 4. ทำงำนไดบ้ น PC ท่ัวไป 5. ทำงำนรว่ มกับ DOS และ Windows ได้ 6. ใช้แฟ้มรว่ มกบั ระบบปฏิบัติกำรอนื่ ได้ 7. มีควำมสำมำรถดำ้ น network หลำยรูปแบบ 8. มีประสทิ ธิภำพสงู ในกำรใช้ Hardware 9. Kernel มีประสิทธิภำพสูง 10. มกี ำรใช้ Dynamic linked shared libraries 11. กำรชว่ ยเหลอื เม่ือเกดิ ปญั หำ

คาสั่ง (Command) คำสงั่ น่ำรู้ในระบบปฏบิ ตั ิกำร Unix หรือ Linux man แสดงคำอธิบำยคำสงั่ เพื่อช่วยในกำรนำไปใช้

ls แสดงรำยชอ่ื แฟ้มใน directory ปจั จุบัน id แสดงชื่อผ้ใู ชค้ นปจั จุบัน who แสดงช่อื ผูใ้ ช้ท่กี ำลัง online อยู่ pwd แสดงชอ่ื directory ปัจจบุ ัน date แสดงวนั ที่ และเวลำปัจจบุ นั banner (คำส่งั นี้ใชง้ ำนไม่ได้ใน RedHat 9) ps แสดงกระบวนกำรท่ีกำลงั ทำงำนอยู่ kill ยกเลกิ กระบวนกำรทก่ี ำลงั ทำงำนอยู่ mail สง่ อีเมล sort จดั เรียงขอ้ มูลใน text file clear ล้ำงจอภำพ more แสดงข้อมูลจำก text file แบบแยกหนำ้ passwd เปลย่ี นรหสั ผำ่ น cal แสดงปฏิทิน echo แสดงตวั อักษร talk สนทนำกับผ้ใู ช้ในระบบ grep ค้นหำตวั อักษรจำก text file

ที่มา : https://bit.ly/31ryliq

ANDROID คอื อะไร

แอนดรอยด์ (Android) คอื ระบบปฏิบตั กิ ำรแบบเปดิ เผยซอรฟ์ แวรต์ น้ ฉบบั (Open Source) โดยบรษิ ทั กูเก้ลิ (Google Inc.) ทไ่ี ดร้ บั ควำมนิยมเป็นอย่ำงสงู เน่ืองจำกอปุ กรณท์ ี่ใช้ระบบปฏิบัติกำรแอน ดรอยด์ มีจำนวนมำก อุปกรณม์ ีหลำกหลำยระดบั หลำยรำคำ รวมท้ังสำมำรถทำงำนบนอปุ กรณ์ท่มี ขี นำดหน้ำจอ และควำมละเอยี ดแตกต่ำงกันได้ ทำใหผ้ บู้ ริโภคสำมำรถเลอื กได้ตำมต้องกำร

และหำกมองในทิศทำงสำหรบั นกั พฒั นำโปรแกรม (Programmer) แลว้ นน้ั กำรพฒั นำโปรแกรม เพือ่ ใช้งำนบนระบบปฏิบัตกิ ำรแอนดรอยด์ ไมใ่ ช่เรื่องทย่ี ำก เพรำะมีข้อมูลในกำรพฒั นำรวมท้ัง Android SDK (Software Development Kit) เตรยี มไว้ใหก้ ับนกั พัฒนำได้เรยี นรู้ และเมือ่ นกั พัฒนำตอ้ งกำร จะเผยแพร่หรอื จำหนำ่ ยโปรแกรมท่ีพัฒนำแล้วเสรจ็ แอนดรอยดก์ ย็ ังมตี ลำดในกำรเผยแพร่โปรแกรม ผำ่ น Android Market แตห่ ำกจะกลำ่ วถงึ โครงสร้ำงภำษำทีใ่ ช้ในกำรพัฒนำนัน้ สำหรบั Android SDK จะยึดโครงสร้ำงของภำษำจำวำ (Java language) ในกำรเขียนโปรแกรม เพรำะโปรแกรมทีพ่ ฒั นำมำได้ จะต้องทำงำนอยภู่ ำยใต้ Dalvik Virtual Machine เชน่ เดยี วกบั โปรแกรมจำวำ ท่ีต้องทำงำนอยูภ่ ำยใต้ Java Virtual Machine (Virtual Machine เปรียบได้กับสภำพแวดล้อมทโี่ ปรแกรมทำงำนอยู่)

นอกจำกน้ันแล้ว แอนดรอยด์ ยังมโี ปรแกรมแกรมทีเ่ ปดิ เผยซอรฟ์ แวรต์ ้นฉบบั (Open Source) เป็น จำนวนมำก ทำให้นักพฒั นำท่ีสนใจ สำมำรถนำซอร์ฟแวรต์ น้ ฉบบั มำศึกษำได้อย่ำงไมย่ ำก ประกอบกับควำมนิยม ของแอนดรอยด์ไดเ้ พ่มิ ขนึ้ อยำ่ งมำกใน โดยดูไดจ้ ำกสว่ นแบ่งกำรตลำด ดังรปู

ประวตั คิ วามเปน็ มา

เริม่ ต้นระบบปฏิบัติกำรแอนดรอยด์ ถูกพฒั นำมำจำกบรษิ ทั แอนดรอยด์ (Android Inc.) เมอ่ื ปี พ.ศ 2546 โดยมนี ำย แอนดี้ รบู นิ (Andy Rubin) ผู้ใหก้ ำเนิดระบบปฏิบัตกิ ำรนี้ และถกู บริษัท กเู กิล้ ซื้อกจิ กำร เม่อื เดอื นสิงหำคม ปี พ.ศ 2548 โดยบรษิ ัทแอนดรอยด์ ได้กลำยเป็นมำบรษิ ทั ลกู ของบริษทั กเู กล้ิ และยังมนี ำย แอนด้ี รบู นิ ดำเนินงำนอยใู่ นทมี พัฒนำระบบปฏบิ ัติกำรตอ่ ไป

ระบบปฏิบตั กิ ำรแอนดรอยด์ เป็นระบบปฏบิ ัติกำรทพี่ ัฒนำมำจำกกำรนำเอำ แกนกลำงของระบบปฏบิ ัติกำรลินกุ ซ์ (Linux Kernel) ซงึ่ เป็นระบบปฏิบตั กิ ำรท่ีออกแบบมำเพือ่ ทำงำนเปน็ เครอ่ื งใหบ้ ริกำร (Server) มำพัฒนำ ต่อ เพอ่ื ใหก้ ลำยเป็นระบบปฏบิ ัตกิ ำรบนอุปกรณพ์ กพำ (Mobile Operating System)

ตอ่ มำเม่อื เดือน พฤศจิกำยน ปี พ.ศ 2550 บรษิ ัทกูเกล้ิ ไดท้ ำกำรก่อต้ังสมำคม OHA (Open Handset Alliance,http://www.openhandsetalliance.com) เพอื่ เป็นหนว่ ยงำนกลำงในกำรกำหนด

มำตรฐำนกลำง ของอุปกรณ์พกพำและระบบปฏบิ ตั กิ ำรแอนดรอยด์ โดยมสี มำชกิ ในช่วงกอ่ นตั้งจำนวน 34 รำย เขำ้ รว่ ม ซงึ่ ประกอบไปด้วยบรษิ ัทช้ันนำทด่ี ำเนินธรุ กจิ ดำ้ กำรสอ่ื สำร เชน่ โรงงำนผลติ อปุ กรณ์พกพำ, บรษิ ทั พัฒนำ โปรแกรม, ผใู้ ห้บริกำรส่ือสำร และผผู้ ลิตอะไหล่อุปกรณ์ด้ำนสอื่ สำร หลังจำกนั้น เมอ่ื เดือนตุลำคม ปี พ.ศ 2551 บรษิ ัท กเู กิ้ล ได้เปิดตัวมอื ถือตวั แรกทใี่ ชร้ ะบบปฏบิ ัตกิ ำรแอนดรอยด์ ที่ช่ือ T-Mobile G1 หรืออีกชอื่ นงึ คอื HTC Dream โดยใช้แอนดรอยดร์ นุ่ 1.1 และหลงั จำกนัน้ ได้มี กำรปรบั พัฒนำระบบปฏิบตั กิ ำรเป็นรนุ่ ใหม่ มำเป็นลำดบั

ชว่ งตอ่ มำได้มกี ำรออกผลติ ภณั ฑ์จำกบริษัทตำ่ งๆ ออกมำหลำกหลำยรุ่น หลำกหลำยย่ีห้อ ตำมกำรพัฒนำ ระบบปฏบิ ัตกิ ำรแอนดรอยด์ ทม่ี อี ยอู่ ย่ำงตอ่ เนอื่ ง ทำให้สนิ ค้ำของแอนดรอยด์ มีให้เลือกอยอู่ ยำ่ งมำกมำย

ที่มา : https://bit.ly/31qh4WZ

ระบบปฏบิ ตั ิการ IOS

ประวัติความเป็นมา ระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS) มชี ือ่ เดมิ วา่ iPhone OS เร่มิ ตน้ ด้วยการเปดิ ตัวของ iPhone เมือ่ วนั ที่ 29 มถิ นุ ายน 2550 ระบบปฏบิ ัตกิ ารไอโอเอส (iOS) เปน็ ระบบปฏิบัตกิ ารสาหรับ สมารท์ โฟน (Smartphone) ของแอปเปิล โดยเร่ิมตน้ พัฒนาสาหรับใช้ในโทรศัพท์ iPhone และ ได้พฒั นาต่อใช้สาหรบั iPot Touch และiPad โดยระบบปฏิบัติการนี้สามารถเช่อื มต่อไปยงั แอป็ ส ตอรส์ าหรับการเขา้ ถึงถงึ แอพพลเิ คชั่น(Application) มากกวา่ 300,000 ตวั ซง่ึ มกี ารดาวนโ์ หลด ไปมากกวา่ หา้ พันลา้ นครงั้ แอปเปิลไดม้ ีการพัฒนาปรบั ปรุงสาหรับ iPhone, iPad และ iPod Touch ผ่านทางระบบ iTunes คอื โปรแกรมฟรี สาหรับ Mac และ PC ใชด้ หู นังฟังเพลงบน คอมพิวเตอร์ รวมทง้ั จัดระเบยี บและ sync ทุกๆอยา่ ง และเปน็ รา้ นขายความบันเทิงบน คอมพิวเตอร์, บน iPod touch, iPhone และ iPad ทมี่ ีทกุ ๆอย่างสาหรับคณุ ในทุกท่ีและทกุ เวลา พฒั นาระบบรักษาความปลอดภัยใหม้ ีความเป็นเลิศ ซงึ่ นี้คอื ข้อได้เปรยี บ เมือ่ เทยี บกบั คแู่ ข่ง

รุ่นของ IOS

ระบบปฏิบตั ิการไอโอเอส (iOS) 1.x เรมิ่ ตน้ ปล่อย OS เขา้ สตู่ ลาด

ระบบปฏบิ ตั ิการไอโอเอส (iOS) 2.x เป็นการปล่อย ระบบปฏบิ ตั กิ ารไอโอเอส (iOS) รุ่นทีส่ อง ท่ีใชไ้ ด้กับการเปิดตัวของ iPhone 3G โดยอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ 1.x จะเลือ่ นไปรุ่นน้ี รนุ่ ของ OS ทีจ่ ะแนะนาที่ App Store ทาให้ สามารถใช้ได้กับ iPhone และ iPod Touch แต่หลังจากท่มี ีอัพเกรดครั้งใหญ่ใน ระบบปฏิบัติการ ไอโอเอส(iOS) 4 Apple ไดย้ กเลกิ ระบบปฏบิ ตั กิ ารไอโอเอส (iOS) 2 เป็นท่ีเรยี บร้อยแลว้ โดย iPhone และ iPod Touch ทใี่ ช้ระบบปฏิบตั กิ าร ระบบปฏบิ ัตกิ ารไอโอเอส (iOS) 2 นัน้ จะไม่ สามารถเข้าไปใช้งาน App Store ได้ ซ่งึ สาหรบั ผทู้ ใ่ี ช้ iPod Touch ร่นุ เก่าทีไ่ มไ่ ดป้ รงั ปรงุ ระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS) 3.0 น้นั จะไมส่ ามารถใชง้ าน App Store ได้

ระบบปฏบิ ัติการไอโอเอส (iOS) 3.x ใช้ได้กับ iPhone 3GS มันถูกปลอ่ ยออกเมอื่ 17 มถิ นุ ายน 2552 รุ่นนจ้ี ะเพม่ิ คุณสมบตั ิที่ ตอ้ งการมากขึ้น อปุ กรณท์ ี่ใช้ 2.x ถกู อพั เกรดเป็น ระบบปฏิบตั กิ ารไอโอเอส (iOS) 3.xน้ี สาหรับ การสนบั สนนุ ระบบปฏิบตั ิการไอโอเอส (iOS)3 ของ Apple นัน้ จะส้ินสุดลงเมอื่ ถึงปหี นา้ ท่ี ระบบปฏบิ ัติการไอโอเอส (iOS)5 ได้ทาการเปิดตัว และเมื่อ ระบบปฏิบตั ิการไอโอเอส (iOS)5 ไดท้ าการเปิดตัวนน้ั กค็ งจะเป็นจดุ จบของ iPhone และ iPod Touch รุ่นท่ไี ม่สามารถอพั เกรด เปน็ ระบบปฏิบตั ิการไอโอเอส (iOS)4 ได้

ระบบปฏิบัติการไอโอเอส (IOS) 4.x ระบบปฏบิ ตั กิ ารไอโอเอส (iOS) 4 มกี ารใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชนสาหรับ iPhone และ iPod touch เมอ่ื 21 มถิ ุนายน 2554 นีเ้ ป็นครงั้ แรก ปลอ่ ย iOS ท่สี าคัญที่สนับสนนุ สาหรับอุปกรณ์ บางอยา่ ง คอื iPhone 3G และ iPhone 4, 3GS iPhone, iPod และ iPod touch 4 สาหรบั iPad ได้ถูกเพมิ่ เข้ามาด้วยการเปิดตัวของ ระบบปฏิบัติการไอโอเอส(IOS) 4.2.1 เมือ่ 22 พฤศจกิ ายน 2554

ระบบปฏบิ ตั ิการไอโอเอส (iOS) 5.x แอปเปลิ ประกาศเปิดตัวระบบปฏบิ ตั กิ ารใหม่ ระบบปฏิบัตกิ ารไอโอเอส (iOS) 5.0 ขนึ้ มา โดยมีฟเี จอร์ใหมร่ ว่ ม 200 รายการ ระบบปฏิบตั ิการ ระบบปฏิบตั ิการไอโอเอส (iOS) 5 จะพรอ้ ม ให้ดาวนโ์ หลดไปติดตั้งไดใ้ นชว่ งประมาณเดือนกันยายน 2554 อุปกรณท์ จี่ ะสามารถตดิ ต้งั

ระบบปฏบิ ัติการ ระบบปฏบิ ตั ิการไอโอเอส (iOS)เวอร์ช่นั 5 นี้ ไดแ้ ก่ iPhone 4 ,iPhone 3GS ,iPad 2 ,iPad, iPod touch 4 ,iPod touch 3 โดยมคี วามโดดเดน่ คือ ระบบ iCloud ซ่งึ เปน็ ระบบซงิ ก์ขอ้ มลู อัตโนมัติแบบไร้สายระหว่างอุปกรณ์ต่างๆผา่ นศนู ยข์ ้อมูลของ Apple ซึ่ง ใหบ้ ริการฟรี เช่น iTunes wifi sync ทาการซิงกข์ ้อมูลกบั โปรแกรม iTunes โดยไมต่ ้องตอ่ สาย และสามารถทาการซิงกอ์ ัตโนมตั ิขณะไม่ใช้งานเคร่ือง , Airplay mirror สง่ ภาพจากหนา้ จอไป ปรากฏบนหนา้ จอทีวใี หญ่ผ่านเครอ่ื ง , Apple TV PC free ไมต่ ้องต่ออปุ กรณ์เขา้ กับ คอมพิวเตอร์เพอื่ ใช้งาน เช่นเมือ่ ซื้ออุปกรณ์มาใหม่ สามารถเปิดใชง้ านไดเ้ ลยไม่ตอ้ งต่อเข้าซิงก์ กับคอมพิวเตอรท์ ่มี ี iTunes อีก นอกจากน้ียังสนับสนุนการดาวน์โหลดอพั เดทโปรแกรมและ ระบบแบบไร้สาย หรอื OTA โดยไม่ต้องต่ออุปกรณเ์ ขา้ กบั คอมพิวเตอร์, สนบั สนุนการอพั เดท โปรแกรมแบบ Delta update คือการดาวนโ์ หลดเฉพาะสงิ่ ทเี่ ปล่ยี นไปจากโปรแกรมเวอรช์ นั เดมิ โดยไม่ต้องโหลดใหม่หมดท้ังโปรแกรม ช่วยลดระยะเวลาการดาวนโ์ หลด

ระบบปฏบิ ตั ิการไอโอเอส (iOS) 6.x iOS 6 ไดป้ ระกาศเมอื่ 11 มถิ นุ ายน 2012 ณ ของ Apple WWDC เหตกุ ารณป์ ราศรัย 2012 มอี ย่มู ากกว่า 200 คณุ สมบตั ิใหมใ่ น iOS 6 ได้แก่ หนา้ ซอฟตแ์ วรท์ าแผนที่แอปเปิลใหม่ เปิดโดยเปิดนาร่องการจราจรและสะพานลอย, สิรสิ นับสนนุ iPad Generation, 3 กฬี าภาพยนตร์ และรา้ นอาหารของ Facebook บรู ณาการ (คล้ายกบั Twitte rบรู ณาการใน iOS 5) โพสต์ โดยตรงไปยัง Facebook, รายชอ่ื , ปฏิทิน Apps และชอบและเพลงท่ีใชร้ ่วมกนั ภาพ Stream สิง่ อานวยความสะดวก App โทรศพั ท์ใหม่, iCloud แทบ็ ใน Safari , สงิ่ อานวยความสะดวก Accessablity ใหม่

คณุ สมบตั ขิ องระบบปฏิบัติการ IOS หนา้ จอหลกั (Home screen)

เปน็ ส่วนแสดงข้อมูลท่ีประกอบดว้ ย application ที่มบี นเคร่อื ง ซง่ึ Application เหล่าน้ีรองรบั การทางานในระบบปฏบิ ตั ิการiOS สามารถดาวนโ์ หลดหรอื ซื้อไดท้ ่ี Apple’s store หรือผา่ น เวบ็ ไซต์ของแอปเปลิ ได้โดยตรง การใช้งานทาไดง้ า่ ยและสะดวกเพยี งนานิ้วจม้ิ หรือแตะไปท่ีรูป ไอคอนทต่ี ้องการใชง้ าน

แฟ้มขอ้ มูล (Folders)

iOS 4 การแนะนาของระบบโฟลเดอร์ทเี่ รยี บง่ายมา เมอ่ื ใช้งานอยู่ในโหมด “กระตุก” ใด ๆ สอง สามารถลากดา้ นบนของแต่ละอนื่ ๆ เพ่อื สรา้ งโฟลเดอร์และจากนนั้ มาปพลิเคชนั เพิ่มเตมิ สามารถเพิม่ ลงในโฟลเดอร์โดยใช้ข้ันตอนเดียวกนั ไดถ้ ึง 12 บน iPhone และ iPod touch และ 20 ใน iPad ชอื่ สาหรับโฟลเดอร์ทีถ่ กู เลอื กโดยอัตโนมตั ิตามประเภทของการใช้งานภายใน แต่ ชอ่ื ยังสามารถแกไ้ ขไดโ้ ดยผใู้ ช้

การแจง้ เตือน (Notification) ใน iOS 5 ปรบั ปรุงคุณลกั ษณะการแจง้ เตอื นท่ีถกู ออกแบบใหมอ่ ยา่ งสมบูรณ์ เพื่อให้การทางาน

รวดเร็วและตอบสนองความตอ้ งการของผู้ใช้ได้งา่ ยขน้ึ

เปรียบเทยี บการใชง้ านระหวา่ งระบบปฏบิ ัติการ IOS กับ ANDROID iOS เป็นระบบปฏบิ ัติการที่ถกู พฒั นาโดยบรษิ ทั Apple ซ่ึงใช้ในผลิตภัณฑ์ท่ีบริษทั Apple เป็น

ผผู้ ลิต อุปกรณส์ ่ือสารภายใตย้ ีห่ ้อ Apple เช่น iPod, iPad และ iPhone

ทีม่ า : https://bit.ly/3huAXld

Debian OS(เดเบี้ยนโอเอส)

เป็นชุดของซอฟต์แวร์เสรที พ่ี ัฒนาโดยอาสาสมัครภายใต้โครงการเดเบยี น ภายใตโ้ ครงการนมี้ ี เดเบียนลินกุ ซ์ (Debian GNU/Linux) (เดเบ้ยี ล จเี อ็นยู รนี ุก) ที่ใช้ลินกุ ซ์เปน็ เคอรเ์ นล และใช้เครอ่ื งมือต่าง ๆ ในโครงการ GNU(จีเอ็น ย)ู ประกอบกนั เป็น OS(ระบบปฎบิ ัตกิ าร)

เดเบยี นมีชือ่ เสยี งในฐานะทีเ่ ป็นลนิ ุกซด์ สิ ทรบิ ิวชนั แรกที่ประสบความสาเร็จในการพฒั นาด้วย ชมุ ชนล้วน ๆ โดยไม่มเี อกชนอยเู่ บือ้ งหลัง มกี ารสรา้ งสญั ญาประชาคม บทนยิ าม OpenSource(โอเพ้นซอรส์ ) และแนวนโยบายท่ีชัดเจนทงั้ ทางเทคนิคและการ บรหิ ารงาน กลายเปน็ ตน้ แบบใหก้ บั ชุมชนอนื่ ๆ ตอ่ มา รวมถงึ ปริมาณ Packet(แพก็ เกจ) ใน โครงการมากกว่า 37,000 Packet(แพก็ เกจ) และรองรับสถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์มากกว่า 11 ชนดิ ซึ่งครอบคลมุ ตัง้ แต่ Computer(คอมพวิ เตอร์) ฝังตวั ไปจนถงึ เมนเฟรม มี Linux distribution (ลนิ ุกซด์ ิสทรบิ ิวชัน่ ) จานวนมากท่ีนาเดเบียนไปพฒั นาตอ่ อยา่ งเชน่ Ubuntu(อู บนุ ต)ู เปน็ ตน้ ประวัติ โครงการเดเบยี นก่อตง้ั โดย Ian Murdock(แรน มอดอ๊ ก) อยา่ งเปน็ ทางการเมือ่ วนั ที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1993 ในระหวา่ งท่ี Ian(แรน) เปน็ นกั ศึกษาปรญิ ญาตรีท่ีมหาวทิ ยาลยั เปอรด์ ู ซ่ึง ในขณะนน้ั แนวคิดของ Linux distribution (ลินกุ ซ์ดสิ ทรบิ ิวชั่น) ยังเปน็ เร่ืองใหม่อยู่ โดย จุดมุง่ หมายของ Ian(แรน) คือตอ้ งการให้เดเบียนพฒั นาแบบเปิดเหมือนอย่าง

GNU(จีเอ็นยู)และ Linux(ลนี กุ ) โดยไดร้ บั การสนบั สนนุ จากมูลนธิ ิ ซอฟตแ์ วร์เสรี เป็นเวลาหน่ึง ปี คือตั้งแต่พฤศจิกายน ค.ศ. 1994 ถึงพฤศจิกายน ค.ศ. 1995

เดเบียนเป็น Linux distribution(ลนิ กุ ซด์ สิ ทริบวิ ชน่ั )ทพ่ี ฒั นาสงิ่ แปลกใหม่ให้เกดิ ข้นึ ในวงการ Linux(ลนิ กุ ซ)์ เปน็ อย่างมาก เช่น มรี ะบบจัดการ Packet(แพก็ เกจ) ระบบตดิ ต้ังจากคลัง และ ยทู ลิ ิตี้สาคญั ๆ เปน็ เทคโนโลยขี องตนเอง จนกลายเป็นรูปแบบการใชง้ านทเี่ ป็นอกี หน่ึงบรรทัด ฐานของการใชง้ าน Linux(ลินุกซ)์ เชน่ เดียวกับท่ีกลุ่ม Red Hat(เรดแฮด็ ) ไดส้ ร้างไว้

เดเบยี นรนุ่ ต่าง ๆ รนุ่ ของเดเบียนนบั รนุ่ stable(สเตเบล้ิ ) เป็นหลกั ปจั จุบันรนุ่ stable(สเตเบล้ิ ) ลา่ สดุ คอื 8 หรือ jessie(เจสซ)่ี รายช่อื ร่นุ ของเดเบียน รวมโค้ดเนมและวันทอี่ อก

รายการสถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์ทเี่ ดเบียนรองรับ สาหรับรนุ่ stable(สเตเบ้ิล) ปัจจุบนั คอื 8 รองรับสถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์อยา่ งเป็นทางการ 10 รายการตอ่ ไปนี้

พีซี 32 บติ (i386) พซี ี 64 บติ (amd64) ARM 64 บติ (arm64) ARM EABI (armel) ARMv7 (armhf) เอ็มไอพเี อส (mips, mipsel) เพาเวอรพ์ ซี ี (powerpc) เพาเวอร์พีซี 64 บิต ลติ เทลิ เอนเดยี น (ppc64el) IBM System z (s390x)

ท่มี า : https://bit.ly/3hqwOyR

อบู นุ ตู (Ubuntu)

ปน็ ระบบปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ท่ีเป็นระบบปฏิบตั กิ ารแบบเปดิ ซ่งึ มีพ้ืนฐานบนลนิ ุกซ์ดิสทรบิ ิวชัน ที่พฒั นาต่อมาจากเดเบียน ช่อื ของดสิ ทรบิ ิวชันน้ันมาจากคาในภาษาซูลู และภาษาโคซา (ภาษาในแอฟรกิ าใต้) วา่ Ubuntu ซง่ึ มคี วามหมายในภาษาองั กฤษคือ “humanity towards others”

อบู นุ ตตู ่างจากเดเบียนตรงทีอ่ อกรนุ่ ใหม่ทุก 6 เดือน และแต่ละร่นุ จะมรี ะยะเวลาในการ สนบั สนุนเป็นเวลา 18 เดอื น ซอฟตแ์ วร์ต่างๆ ท่ีรวมมาใน อูบุนตนู ัน้ เปน็ ซอฟตแ์ วรเ์ สรี (Freeware)เกอื บทง้ั หมด มีบางสว่ นทีเ่ ปน็ ลขิ สทิ ธ์ิ เช่น ไดรเวอร์ จุดมุง่ หมายหลักของ อบู ุนตู คอื เปน็ ระบบปฏบิ ัตกิ ารสาหรบั คนท่วั ไป ที่มโี ปรแกรมสนบั สนุนท่ที ันสมยั และมีเสถยี รภาพใน ระดับที่ยอมรบั ได้

ที่มา : http://kruchian.com/main/?p=113

Red Hat คอื อะไร

Red Hat เป็น Distribution หนง่ึ ใน Linux ทีไ่ ดร้ ับความนิยมสูงสดุ เปน็ อนั ดบั หน่งึ ในอเมริกา เมอื่ เทียบกบั Distribution อื่นๆของ Linux อย่าง Mandrake, slackware หรอื ลนี กุ ซ์พันธ์ไทย อย่าง TLE เพราะ RedHat มีโปรแกรมตดิ ตัง้ ท่ใี ช้งานง่าย ตลอดจนโปรแกรมเสริมหรอื แอพพลิเคชน่ั ท่นี ่าสนใจอีกมากมาย เชน่ โดยปรกติแลว้ การติดต้ังซอฟตแ์ วรใ์ นระบบ ยนู กิ ซ์ และ ลนี ุกซ์ จะต้องขยายไฟล์ทถ่ี ูกบบี อัดไว้กอ่ น แล้วคอมไพล์ตัวโปรแกรม ลนี ุกซ์ ใหมพ่ ร้อม กบั โปรแกรมเหล่านัน้ จึงจะสามารถตดิ ตั้งซอฟตแ์ วรน์ ้นั เพม่ิ ลงไปในระบบได้ ดงั น้นั เรดแฮท จงั ได้พัฒนาโปรแกรม RPM (Red Hat Package Management) ขนึ้ มาสาหรบั ตดิ ตั้ง ถอดถอน และบริหารชุดของแพ็กเกจดงั กล่าวโดยไม่ตอ้ งเสียเวลาคอมไพล์ใหม่ นอกจาก RPM แลว้ ทาง บริษัท ยังได้พฒั นาโปรแกรมตดิ ตัง้ ทเ่ี รียกวา่ GLINT (Graphical Linux Installation Tool) ซง่ึ มีลักษณะการใช้งานเปน็ แบบกราฟกิ ขนึ้ จงึ ทาให้สามารถใช้งานได้งา่ ยขน้ึ กว่าเดมิ มาก

Red Hat คือบริษัทซ่งึ ทาธรุ กิจเกี่ยวกบั ซอฟต์แวร์OpenSource เรดแฮตเปน็ ผ้นู าตลาดของ ระบบปฏิบัตกิ ารลนิ กุ ซ์ ผลิตภณั ฑห์ ลักของบรษิ ัทคือ Red Hat Enterprise Linux (Linux OS ตวั หนึ่ง)

ทมี่ า : http://swnr1995.blogspot.com/2016/04/red-hat.html