ว ธ ส งภาพ ขนาดเต ม facebook massenger

เกี่ยวกับแอปนี้

• การแปลข้อความ: แปลไปมาระหว่าง 108 ภาษาด้วยการพิมพ์ • แตะเพื่อแปล: คัดลอกข้อความในแอปใดก็ได้ แล้วแตะไอคอน Google แปลภาษาเพื่อแปล (ทุกภาษา) • ออฟไลน์: แปลโดยไม่ต้องเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (59 ภาษา) • การแปลทันใจด้วยกล้อง: แปลข้อความในรูปภาพได้ทันที เพียงเล็งกล้องถ่ายรูปไปที่ข้อความในรูปภาพ (94 ภาษา) • รูปภาพ: ถ่ายภาพหรือนำเข้ารูปภาพเพื่อคำแปลที่มีคุณภาพสูงขึ้น (90 ภาษา) • การสนทนา: แปลการสนทนา 2 ภาษาได้อย่างรวดเร็ว (70 ภาษา) • การเขียนด้วยลายมือ: เขียนตัวอักษรแทนการพิมพ์ (96 ภาษา) • Phrasebook: ติดดาวและบันทึกคำและวลีต่างๆ ที่แปลไว้เพื่อใช้งานภายหลัง (ทุกภาษา) • การซิงค์ข้ามอุปกรณ์: เข้าสู่ระบบเพื่อซิงค์ Phrasebook ระหว่างแอปกับเดสก์ท็อป • ถอดเสียง: แปลภาษาต่างๆ ที่คนอื่นพูดได้อย่างต่อเนื่องในแบบเกือบเรียลไทม์ (8 ภาษา)

สามารถแปลภาษาต่อไปนี้ไปมาได้: กงกณี, กรีก, กวารานี, กันนาดา, กาลิเชียน, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, คริโอ, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, เคชัว, เคิร์ด (กุรมันชี), เคิร์ด (โซรานี), โคซา, โครเอเชีย, จอร์เจีย, จีน (ตัวเต็ม), จีน (ตัวย่อ), ชวา, ชิเชวา, เช็ก, โชนา, ซองกา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, เซโซโท, เซอร์เบียน, โซโทเหนือ, โซมาลี, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ดิเวฮิ, เดนมาร์ก, โดกรี, ตุรกี, เตลูกู, เติร์กเมน, ทมิฬ, ทวิ, ทาจิก, ทาทาร์, ทีกรินยา, ไทย, นอร์เวย์, เนปาล, บอสเนีย, บัมบารา, บัลแกเรีย, บาสก์, เบงกอล, เบลารุส, ปัญจาป, เปอร์เซีย, โปรตุเกส, โปแลนด์, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, โภชปุรี, ม้ง, มณีปุระ (มานิพูรี), มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, มิโซ, เมารี, เมียนมา (พม่า), ไมถิลี, ยิดดิช, ยูเครน, เยอรมัน, โยรูบา, รัสเซีย, โรมาเนีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิงกาลา, ลิทัวเนีย, ลูกันดา, เวลส์, เวียดนาม, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สันสกฤต, สิงหล, สินธี, อังกฤษ, อัมฮาริก, อัสสัม, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อินโดนีเซีย, อีโลกาโน, อีเว, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, เอสโทเนีย, เอสเปอแรนโต, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โอเดีย (โอริยา), โอโรโม, ไอซ์แลนด์, ไอมารา, ไอร์แลนด์, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เฮติครีโอล

การแจ้งเตือนเกี่ยวกับสิทธิ์ Google แปลภาษาอาจขอสิทธิ์ในการเข้าถึงฟีเจอร์ต่อไปนี้: • ไมโครโฟนสำหรับการแปลคำพูด • กล้องถ่ายรูปสำหรับการแปลข้อความผ่านกล้องถ่ายรูป • ที่จัดเก็บภายนอกสำหรับการดาวน์โหลดข้อมูลการแปลออฟไลน์ • บัญชีและข้อมูลรับรองสำหรับการลงชื่อเข้าใช้และการซิงค์ในอุปกรณ์ต่างๆ

โรคที่มีความรุนแรงและก่อให้เกิดอาการเจ็บปวดต่อผู้ป่วย บาดทะยักส่งผลต่อระบบประสาททำให้ให้กล้ามเนื้อบริเวณกรามและคอมีอาการกระตุก เมื่อสารพิษเข้าสู่ระบบประสาทจะใช้เวลาหลายเดือนในการฟื้นตัวจากการติดเชื้อบาดทะยัก

ลักษณะอาการโรคบาดทะยัก

หลังจากที่แบคทีเรียเข้าสู่ร่างกายผ่านทางบาดแผล โรคบาดทะยักจะเริ่มแสดงอาการตั้งแต่สองสามวันแรกและอาจกินระยะเวลาหลายสัปดาห์ ระยะฟักตัวของบาดทะยักจะใช้เวลาประมาณ 7 ถึง 10 วัน อาการทั่วไปของบาดทะยักมีดังนี้

  • ภาวะกรามติด
  • กล้ามเนื้อคอแข็ง
  • ปัญหาการกลืน
  • กล้ามเนื้อท้องแข็ง
  • การกระตุกของกล้ามเนื้อในร่างกายที่สร้างความเจ็บปวดและกินเวลาหลายนาที การกระตุกของกล้ามเนื้อจะถูกกระตุ้นด้วยการกระตุก เสียงดัง การสัมผัส หรือแสงจ้า
  • เหงื่อออก
  • ความดันโลหิตสูง
  • หัวใจเต้นเร็ว

    เมื่อไหร่ที่ควรพบแพทย์

    ผู้ป่วยควรทำการนัดหมายกับแพทย์เพื่อรับการฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากผู้ป่วยไม่ได้รับการฉีดวัคซีนทุกๆ สิบปี ผู้ป่วยควรจะได้รับการฉีดวัคซีนหากเกิดบาดแผลลึก และไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีนในช่วงห้าปีที่ผ่านมา ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่แน่ใจว่าได้รับวัคซีนบาดทะยักครั้งสุดท้ายเมื่อใด ควรทำการฉีดวัคซีนบาดทะยัก

    สาเหตุโรคบาดทะยัก

    สาเหตุของบาดทะยักเกิดจากสารพิษที่พบในสปอร์ของแบคทีเรียที่เรียกว่า Clostridium tetani แบคทีเรียเหล่านี้สามารถพบได้ในดิน ฝุ่น และมูลสัตว์ เมื่อสปอร์เหล่านี้เข้าไปในบาดแผลที่มีความลึก จะเติบโตกลายเป็นสารพิษที่ส่งผลทำให้เส้นประสาทเกิดการเสื่อม และยังส่งผลต่อเส้นประสาทที่ทำหน้าที่ควบคุมกล้ามเนื้อ ก่อให้เกิดอาการตึงและการกระตุก

    บาดทะยักไม่ใช่โรคติดต่อ บาดทะยักมักจะเกิดขึ้นกับผู้ที่ไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีนบาดทะยักหรือไม่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันทุกๆ 10 ปี

    ปัจจัยเสี่ยง

    ปัจจัยที่ อาจเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคบาดทะยัก มีดังนี้

    • ไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคบาดทะยักหรือได้รับวัคซีนบาดทะยักในจำนวนที่ไม่ครบ
    • มีบาดแผลทำให้สปอร์ของแบคทีเรียเข้าไปในแผล
    • มีสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในผิวหนังอย่างเช่น ตะปู หรือเสี้ยน

    สาเหตุที่ทำให้เกิดบาดทะยัก มีดังนี้

    • แผลจากของมีคม อย่างเช่น เสี้ยน การเจาะตามส่วนต่างๆของร่างกาย หรือการสัก
    • แผลจากการโดนยิง
    • กระดูกหักแผลปิด
    • แผลไฟไหม้
    • แผลจากการผ่าตัด
    • แผลจากการฉีดยาเข้าเส้นเลือด
    • แมลงสัตว์กัดต่อย
    • แผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวานที่มีการติดเชื้อ
    • การติดเชื้อที่ฟัน
    • การติดเชื้อที่สายสะดือในทารกแรกเกิดที่มารดาไม่ได้รับการฉีดวัคซีนในปริมาณที่จำเป็นต่อความต้องการ

    3 ภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อบาดทะยัก

    1. กระดูกแตก

      หากการกระตุกของกล้ามเนื้อมีความรุนแรงอาจส่งผลให้กระดูกสันหลังหรือกระดูกส่วนอื่นๆ เกิดการแตกได้
    2. โรคลิ่มเลือดอุดกั้นในปอด

      เลือดที่ไหลมาจากส่วนต่างๆของร่างกายอาจเกิดการอุดตัน ทำให้เกิดการอุดตันกับหลอดเลือดในปอด
    3. การเสียชีวิต

      การติดเชื้อขั้นรุนแรงจากอาการกล้ามเนื้อกระตุกทำให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ ทำให้ระบบหายใจล้มเหลวซึ่งเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตจากโรคบาดทะยัก นอกจากนี้อาจทำให้เกิดการขาดออกซิเจนซึ่งนำไปสู่ภาวะหัวใจหยุดเต้นและเสียชีวิตในที่สุด สาเหตุอีกประการของการเสียชีวิตจากบาดทะยักอีกประการคือโรคปอดอักเสบ

      การป้องกันโรคบาดทะยัก

      การฉีดวัคซีนสามารถช่วยป้องกันการเกิดบาดทะยัก

      แนวทางการให้วัคซีนบาดทะยักสำหรับเด็ก

      วัคซีนป้องกันบาดทะยักมักจะถูกให้ร่วมกับวัคซีน DTaP สำหรับเด็ก วัคซีนนี้จะช่วยป้องกันการเกิดโรค 3 โรค ดังนี้ โรคคอตีบ โรคไอกรน และโรคบาดทะยัก วัคซีนรวม DTap จำเป็นต้องฉีด 5 เข็มและจะถูกฉีดวัคซีนเด็กให้เด็กตามอายุต่างๆ ตามลำดับดังนี้

      • 2 เดือน
      • 4 เดือน
      • 6 เดือน
      • 15 ถึง 18 เดือน
      • 4 ถึง 6 ปี

        วัคซีนป้องกันบาดทะยักสำหรับผู้ใหญ่

        วัคซีนป้องกันบาดทะยักสามารถให้ร่วมกับวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ (Td) ในปี 2548 วัคซีนบาดทะยัก คอตีบ และไอกรน (Tdap) ได้รับการรับรองให้สามารถใช้ได้ทั้งในวัยรุ่นและผู้ใหญ่ที่มีอายุต่ำกว่า 65 ปี เพื่อช่วยในการป้องกันโรคไอกรนอย่างต่อเนื่องเด็กวัยแรกรุ่นที่มีอายุระหว่าง 11 ถึง 12 ปีควรได้รับการฉีดวัคซีน Tdap และ วัคซีน Td ทุกๆ 10 ปี หากผู้ป่วยไม่เคยฉีดวัคซีน Tdap ผู้ป่วยสามารถรับวัคซีน Td 1 เข็ม เพื่อทดแทน หลังจากนั้นในครั้งถัดไปผู้ป่วยสามารถทำการฉีด Td ต่อเนื่องได้การติดตามการฉีดวัคซีนให้ครบอยู่เสมอเป็นสิ่งที่จำเป็น ผู้ป่วยควรทำการปรึกษาแพทย์เรื่องการฉีดวัคซีนเป็นประจำปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับการฉีดวัคซีน Tdap หากคุณยังไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีนในวัยเด็ก

        การวินิจฉัยโรค

        แพทย์จะทำการวินิจฉัยโรคบาดทะยัก ด้วยการตรวจร่างกายและทำการซักประวัติเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลและการฉีดวัคซีนของผู้ป่วย แพทย์จะถามคำถามเกี่ยวกับอาการกล้ามเนื้อกระตุกของผู้ป่วย

        การดูแลรักษาแผล

        การทำความสะอาดแผลเป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะช่วยป้องกันไม่ให้สปอร์ของแบคทีเรียมีการเจริญเติบโต โดยขั้นตอนการดูแลรักษาแผลเริ่มต้นด้วยการที่ผู้ป่วยล้างแผลและขจัดสิ่งสกปรก สิ่งแปลกปลอมและเนื้อเยื่อที่ตายแล้วออกจากบาดแผล โรคบาดทะยักสามารถรักษาได้ด้วยการดูแลแผล โดยแพทย์จะทำการสั่งยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการโรค

        การใช้ยารักษาโรคบาดทะยัก

        • ยาต้านพิษ

          แพทย์อาจจะทำการสั่งยาต้านพิษ ยาต้านพิษจะช่วยปรับสารพิษที่ยังไม่รวมเข้ากับเส้นประสาท
        • ยาปฏิชีวนะ

          แพทย์อาจจะทำการสั่งยาปฏิชีวนะเพื่อใช้ในการรักษาแบคทีเรียบาดทะยัก
        • วัคซีนป้องกันโรคบาดทะยัก

          ผู้ที่เป็นโรคบาดทะยักจำเป็นต้องได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยักทันทีที่ได้รับการวินิจฉัยโรค
        • ยากล่อมประสาท

          แพทย์จะทำการสั่งยากล่อมประสาทเพื่อบริหารอาการกล้ามเนื้อกระตุก

        ตัวยาชนิดอื่น ๆ

        ในบางครั้งแพทย์จะทำการสั่งยาชนิดต่างๆ อย่างเช่น แมกนีเซียมซัลเฟต และยาในกลุ่มเบต้า-บล็อกเกอร์บางชนิดเพื่อช่วยบริหารอาการเกี่ยวกับการเต้นของหัวใจและการหายใจ ในบางทีแพทย์อาจจะใช้มอร์ฟีนและยากล่อมประสาทในการรักษาโรคบาดทะยักอีกด้วย