ข อว น จฉ ยการพยาบาลหญ งต งครรภ ท ม ภาวะhyperthyroidism

การพยาบาลระบบต่อมไร้ท่อ

นางสาวอภิญญา เพ็งแก้ว นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ช้นั ปีท่ี 2 (เรยี บเรียง)

วชิ า NU 112 204 การพยาบาลสุขภาพผ้ใู หญ่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

คานา

การสรุปเนอ้ื หาในรายวชิ า NU 112 204 การพยาบาลสขุ ภาพ ผู้ใหญ่ 2 ในหวั ข้อ การพยาบาลระบบตอ่ มไร้ท่อ เนอ้ื หาประกอบไป ดว้ ย การพยาบาลผปู้ ่วยโรคเบาหวาน การพยาบาลผ้ปู ่วยทีม่ ีความ ผิดปกติของตอ่ มใต้สมอง การพยาบาลผปู้ ว่ ยที่มีความผดิ ปกติของ ต่อมหมวกไต การพยาบาลผู้ปว่ ยท่ีมีความผิดปกติของตอ่ มไทรอยด์ และการพยาบาลผู้ปว่ ยท่มี ีความผดิ ปกตขิ องตอ่ มพาราไทรอยด์ เนื้อหามุ่งเน้นใหไ้ ด้ทบทวนและเกิดความเขา้ ใจในการพยาบาลระบบ ตอ่ มไรท้ ่อมากข้ึน

ผเู้ รียบเรยี งหวงั ว่าเอกสารฉบับนจี้ ะเกิดประโยชนก์ ับผูอ้ ่านและ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการพยาบาลได้

อภิญญา เพง็ แกว้ ผเู้ รียบเรียง

สารบญั

เนอื้ หา หนา้

การพยาบาลผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน 1

การพยาบาลผูป้ ว่ ยทม่ี ีความผดิ ปกตขิ องต่อมใต้สมอง 5

การพยาบาลผ้ปู ว่ ยที่มีความผดิ ปกตขิ องตอ่ มหมวกไต 9

การพยาบาลผู้ปว่ ยที่มคี วามผดิ ปกตขิ องต่อมไทรอยด์ 12

การพยาบาลผปู้ ่วยที่มีความผดิ ปกตขิ องตอ่ มพาราไทรอยด์ 16

เอกสารอ้างองิ 20

1

การพยาบาลผปู้ ่วยโรคเบาหวาน

 สาเหตุ : กรรมพันธุ์ การเปล่ียนแปลงวิถีชวี ิต โรคอว้ น ความเครียดรุนแรง และยาวนาน ยาและฮอรโ์ มนทีร่ ่างกายได้รับ เช่น ยาขับปัสสาวะ ยา คุมกาเนิด และโรคทเ่ี กิดกบั ตบั อ่อน

 ชนิด 1. เบาหวานชนิดท่ี 1 (T1DM) เกิดจากการทาลายเบตา้ เซลล์ทตี่ บั อ่อนจาก ภมู ิค้มุ กนั ของร่างกาย มักพบในคนอายุนอ้ ยกวา่ 30 ปี เบาหวาชนดิ นีจ้ ะ นาไปสู่ภาวะกรดคง่ั ในเลอื ดจากสารคโี ตน (Diabetic ketoacidosis: DKA) 2. เบาหวานชนิดท่ี 2 (T2DM) เกดิ จากการขาดอนิ ซลู ินแต่ไมม่ ากเทา่ ชนิดที่ 1 มกั พบในคนอายมุ ากกว่า 30 ปี เกดิ แบบค่อยเปน็ คอ่ ยไป มกั มปี ระวัติ โรคเบาหวานในครอบครัว เบาหวานชนิดนี้จะนาไปสู่ Hyperosmolar

Hyperglycemic State: HHS

 อาการและอาการแสดง : ถ่ายปัสสาวะจานวนมาก ดม่ื นา้ มาก น้าหนักลด รบั ประทานอาหารจุ

 การวินิจฉัยโรค - ระดบั พลาสมากลโู คสเวลาใดกไ็ ด้ ไม่อดอาหารมคี ่ามากกวา่ หรือเทา่ กบั 200 มก./ดล. - ระดับพลาสมากลูโคสตอนเชา้ หลงั อดอาหาร 8 ชม. (FPG) > 126 มก./ดล. - ตรวจความทนตอ่ กลูโคส (OGTT) ระดบั พลาสมากลโู คส 2 ชม.หลงั ดม่ื น้าตาล > 200 มก./ดล.

2

- HbA1c มากกว่าหรือเท่ากบั 6.5 % - Postpandian < 180

 ภาวะแทรกซอ้ น 1. Diabetic ketoacidosis: DKA พบในเบาหวานชนดิ ที่ 1 จากการไม่ฉีด Insulin หรอื จากการที่ Epinephrine และ Norepinephrine เพิ่มขึน้ ภาวะนี้ จะทาให้มีภาวะน้าตาลเกนิ ในเลือดและ ภาวะเลือดเปน็ กรดจากเมตาบอลซิ มึ อาการท่ีพบ ไดแ้ ก่ เบ่ืออาหาร คล่นื ไส้ อาเจยี น ปัสสาวะบ่อย ซึมลง หายใจหอบ ลึกแบบ Kussmual respiration ขาดน้า 2. Hyperglycemic State: HHS พบในเบาหวานชนิดที่ 2 ร่างกายจะเสยี น้าทาง ปัสสาวะ มีอาการขาดนา้ อาการทีพ่ บ ไดแ้ ก่ ระดบั กลโู คสในเลือดสูงมาก Hyperosmolality ขาดนา้ รนุ แรง 3. ภาวะน้าตาลในเลือดตา่ (Hypoglycemia) คอื ภาวะที่ระดับน้าตาลในเลือดตา่ กว่า 70 mg% อาการทีพ่ บ ไดแ้ ก่ใจสัน่ หัวใจเต้นเร็ว หิว รอ้ น มอื สัน่ กังวล ชา สบั สน ตาพร่ามัว อณุ หภูมติ ่า งว่ งซึม หลงลืม หมดสติ และชัก หากปล่อยไว้ นานๆอาจความจาเสื่อม วิกลจรติ สมองพิการได้ รักษาโดยการใหส้ ารอาหาร หรือสารน้าท่ีมคี วามหวานหรือกลูโคสแกผ่ ู้ป่วยจนกวา่ จะมรี ะดับนา้ ตาลในระดับ ปกติ 4. ภาวะติดเชอ้ื ง่าย 5. การอดุ ตันของหลอดเลือด การโป่งของผนังหลอดเลอื ด ความดันสูง กลา้ มเนือ้ หัวใจขาดเลอื ด อัมพาตจากหลอดเลือดในสมองตบี ตนั เนอื้ เนา่ ตาย 6. โรคไต การคง่ั ของของเสีย ไตวาย

3

7. โรคของจอตา มีเลือดออกในลกู ตา การหลดุ ลอกของจอตา ตอ้ หอน ต้อ กระจก 8. โรคของประสาทส่วนปลาย ประสาทสมอง หรอื ประสาทในชอ่ งทอ้ ง ทาให้ การนาความรูส้ กึ ลดลง ชาปลายเทา้ ปวดแสบปวดรอ้ น กระเพาอาหารขยาย พองตวั หวั ใจเต้นผดิ ปกติ

 การรักษาและการดแู ลผู้ป่วยโรคเบาหวาน 1. การควบคมุ อาหาร รับประทานอาหารท่ีหลากหลาย พลงั งานเฉลย่ี 20 – 45 kcal/นา้ หนกั ตวั มาตรฐาน เลี่ยงคารโ์ บไฮเดรตเชิงเดีย่ ว เชน่ นา้ ตาลทราย นา้ ผึง้ เลย่ี งเนื้อสัตว์ทมี่ ีไขมันสงู และไขมันอม่ิ ตัว เลี่ยงแอลกอฮอลล์ ผทู้ นี่ า้ หนักเกินควร ลดอาหารลง 500 – 1,000 Kcal/day 2. การออกกาลงั กาย เลี่ยงการออกกาลงั กายในชว่ งทย่ี าออกฤทธิส์ งู สุด ไม่ออก กาลงั กายทหี่ ักโหม หากตอ้ งใชแ้ รงมากควรรับประทานอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรตกอ่ น 3. การใช้ยา - Biguanides ยับยง้ั การดูดซมึ กลูโคส ข้อเสยี คอื เกดิ กรดแลคตกิ คง่ั ยาทใี่ ช้บอ่ ย คอื metformin ควรรบั ประทานพรอ้ มอาหาร อาการข้างเคยี งคือ ทอ้ งเสีย ท้องอืดและปวดท้อง คล่นื ไส้ เบอื่ อาหาร หา้ มใชใ้ นคนที่การทางานของได ตับ บกพรอ่ ง มภี าวะหัวใจล้มเหลว - Sulfonylureas ชว่ ยลดระดับนา้ ตาลในเลือดสูง ใช้ในโรคตับ โรคไตไม่ได้ ออก ฤทธ์หิ ลังรับประทานอาหาร 1 ชม. มกั ให้วันละครง้ั ตอนเช้า ออกฤทธิ์นาน อาการขา้ งเคยี งคอื ผน่ื คลื่นไส้ ตัวเหลอื ง ซีด

4

- Alpha – glucosidase inhibitor ไม่มีฤทธ์ติ ่อการสรา้ งอนิ ซูลนิ ยากลุ่มนีค้ ือ Acrabose ยาชว่ ยลดการดูดซึมคาร์โบไฮเดรตชา้ ลง รับประทานพร้อมอาหาร เค้ยี วช้าๆ ผลขา้ งเคียงคอื ทอ้ งอดื แน่นท้อง DOC สาหรับผู้ท่มี ีข้อห้ามใช้ Metformin ยาชนิดฉดี - แบบออกฤทธเ์ิ ร็วมาก: Humalog, Novorapid - แบบออกฤทธิ์สั้น: Actrapid, Humulin R, Semilente, Regular Insulin - แบบออกฤทธ์ินานปานกลาง: NPH, Lentard, Monotard, Protaphane, Humulin N, Rapitard - แบบออกฤทธยิ์ าว: PZI, ultralente - ชนดิ ผสม: Actaphane การพยาบาลและการฉดี Insulin - การเกบ็ อินซูลินไวใ้ นท่ีเย็นเสมอ - ความเขม้ ขน้ ของอินซูลินตรงกับมาตราของ Syringe ทีใ่ ช้ - คลึงขวดยาแทนการเขย่า เพราะจะทาให้เกิดฟองอากาศซ่ึงมีผลตอ่ ความ ละเอยี ดในการดดู ยา - ฉดี ยาไดท้ ีต่ ้นแขน หนา้ ขา หน้าท้อง และสะโพก ควรเปลยี่ นทีฉ่ ดี ยาไปเรอ่ื ยๆ เลย่ี งบรเิ วณทีเ่ หี่ยวลีบหรอื บวม เพราะจะดูดซึมไมด่ ี 4. การดูแลเท้า - ล้างเทา้ ด้วยสบูฤ่ ทธ์ิอ่อน นา้ อณุ หภมู ิห้อง ไมค่ วรใช้นา้ อนุ่ เช็ดให้แหง้ ทาเครีม บารุง ยกเว้นบริเวณซอกนิว้

5

- ตัดเลบ็ เท้าลกั ษณะตรง ไม่สั้นหรอื ยาวไป ใหอ้ ย่รู ะดบั เดียวกับปลายน้ิวเทา้ - สวมรองเท้าเหมาะสม ไม่ควรใสส่ น้ สูง ตรวจดทู กุ คร้ังก่อนใส่ - บรหิ ารเทา้ ทกุ วนั ดว้ ยการเดิน 5. การกากบั ตนเองเพ่ือควบคมุ เบาหวาน

 ตวั อย่างข้อวินจิ ฉยั ทางการพยาบาล 1. มโี อกาสเกดิ ภาวะแทรกซ้อนระยะยาวจากเบาหวาน เนอ่ื งจากขาดความ ตระหนักในการดูแลตนเอง 2. มีภาวะขาดน้า เนอื่ งจากภาวะน้าตาลในเลอื ดสูง 3. มีโอกาสไดร้ ับอนั ตราย: มีภาวะ Diabetic ketoacidosis: DKA หรือ Hyperosmolar Hyperglycemic State: HHS 4. มีโอกาสเกดิ ผลที่เท้า เน่ืองจากการรบั ความรูส้ กึ ที่เท้าเปล่ียนแปลงและผปู้ ่วย ขาดความรู้ในการดูแลเท้า 5. ภาพลักษณเ์ ปลี่ยนแปลง เนือ่ งจากตอ้ งตดั เท้าจากแผลเบาหวาน

การพยาบาลผูป้ ่วยท่ีมีความผดิ ปกตขิ องตอ่ มใตส้ มอง

 ความผิดปกตขิ อง Anterior Pituitary Gland

1. Hypopituitarism จากการสร้าง/หลั่งฮอร์โมนนอ้ ยกว่าปกติ

2. Hyperpituitarism จากการสรา้ ง/หลงั่ ฮอร์โมนมากกว่าปกติ

6

ความผิดปกติของ อาการและอาการแสดง การรกั ษา การหลัง่ ฮอร์โมน หลง่ั GH มาก - gigantism ในเดก็ ตดั เอาก้อนเนอ้ื งอกออก

หลง่ั GH นอ้ ย - acromegaly ในผใู้ หญ่ หรือฉายแสง หรอื ให้ยา

หล่ัง ACTH มาก กดการทางานของ GH หลั่ง ACTH นอ้ ย เกดิ dwarfism ในเด็ก การ ให้ GH ทดแทน หลงั่ TSH มาก หล่ัง TSH นอ้ ย ตอบสนองต่อ insulin สูง หล่งั PRL มาก ทาให้เกดิ ภาวะน้าตาลใน หลั่ง PRL นอ้ ย เลือดตา่

Cushing’s syndrome ตดั เอากอ้ นเนื้องอกออก

หรอื ฉายแสง

Addison’s disease ให้ glucocorticoid

ออ่ นเพลีย คลื่นไส้ อาเจยี น ทดแทน

ความดนั ต่า ภาวะนา้ ตาล

โซเดยี มและโปตัสเซียมใน

เลอื ดต่า

Hyperthyroidism ตดั เอาก้อนเน้อื งอกออก

Hypothyroidism ให้ Thyroid hormone

ทดแทน

ขาดประจาเดอื น น้านมไหล ตัดเอากอ้ นเน้อื งอกออก

ความต้องการทางเพศลดลง หรอื ฉายแสง หรอื ให้ยา

หรอื หมดไป การหลัง่ น้าอสจุ ิ กดการทางานของ

ลดลง prolactin

ไมม่ ีการหล่งั น้านมหลังคลอด

7

หล่ัง อวยั วะเพศเด็กกอ่ นวัยมขี น ตดั เอาก้อนเนอ้ื งอกออก gonadotropins ข้นึ ผดิ ปกติ มาก หลง่ั พัฒนาการทางเพศในเดก็ ชา้ ให้ gonadotropins gonadotropins เพศหญิงขาดประจาเดือน ทดแทน มาก เป็นหมนั ในเพศชายเกดิ

อวยั วะไม่แขง็ ตัวเมื่อมี เพศสัมพันธ์  โรคท่ีเกดิ จากความผิดปกติของ Anterior pituitary gland

Acromegaly เกิดจากการหลั่ง GH มากผดิ ปกติ อาการจะคอ่ ยเปน็ ค่อย ไป อาการและอาการแสดง ได้แก่ Tumor pressure, Growth hormone excess (hyperglycemia, ระดบั ฟอสเฟตและแคลเซยี มในปัสสาวะสูง, ตอ่ ม เหงือและไขมนั ทางานมากกว่าปกติ, ความดันโลหิตสูง, มผี ลต่อฮอร์โมนอื่นๆ), Musculoskeletal hypertrophy ขนาดกระดูกและกลา้ มเนอื้ ใหญข่ ึน้ การ วนิ ิจฉัยโรคทาได้โดยสงั เกตอาการ ตรวจทางรงั สี ตรวจระดับ GH การรักษาทา ไดโ้ ดยการผา่ ตดั เอากอ้ นเนื้องอกออก ฉายแสง และให้ยาลดระดบั GH เช่น Bromocriptine

 โรคทเ่ี กดิ จากความผิดปกตขิ อง Posterior pituitary gland

โรคเบาจดื (Diabetes Insipidus หรือ DI) เกดิ จากการขาด ADH ไตไม่ สามารถดดู น้ากลับได้ มี 2 ชนิด คอื Neurogenic หรือ Central DI ผิดปกติที่ hypothalamus หรอื infundibular stem และชนดิ ทีส่ องคอื Nephrogenic

8

DI เกิดจาก collecting tubules ไมต่ อบสนองตอ่ ADH มักเกดิ จากกรรมพันธ์ุ อาการและอาการแสดง ไดแ้ ก่ ปสั สาวะออกมากและบ่อยแต่จางมาก ความ ถ่วงจาเพาะต่า มีภาวะ Dehydration เกิด hydronephrosis ได้ plasma osmolality สูงกว่า urine osmolality การวนิ ิจฉยั โรคโยการจากัดนา้ (water restriction) ซงึ่ ไมค่ วรเกิน 4 ชม. และดกู ารขบั ถ่ายปัสสาวะ วดั ระดับ osmolality ตรวจค่าความถว่ งจาเพาะตา่ กว่าปกติ การรักษาอาจให้ ADH ทดแทน รกั ษา Neurogenic DI ให้ synthetic vasopressin ทางหลอดเลือด ใหย้ า Chlorpropamide, Clofibrate, carbamazepine กระตนุ้ การปลอ่ ย ADH จาก Hypothalamus

Syndrome of Inappropriate Antidiuretic Hormone (SIADH) ADH หล่ังมากต่อเนือ่ ง อาจเกิดจากยาดมสลบ ยาจติ เวช การผ่าตัด การตดิ เชอ้ื และมะเร็ง อาการและอาการแสดง ได้แก่ ปวดศรี ษะ สบั สน ระดับความรสู้ กึ ตวั ลดลง ออ่ นเพลีย ชกั สญู เสยี Na ทางปสั สาวะ (>20 mEq/L) hyponatremia ปสั สาวะบ่อย วนิ ิจฉัยโรคมีระดับ Na ต่ากวา่ 120 mEq/L. ค่า serum osmolarity ตา่ กวา่ ปกติ urine osmolarity > 100 mosm/kg. การรักษาให้ จากัดน้า < 1000 มล.ตอ่ วนั ให้ยาขบั ปสั สาวะ ให้ hypertonic saline 3%-5% ทางหลอดเลือดดาแก้ Na ในเลอื ดต่า เนอื้ งอกรักษาโดยผ่าตดั ให้ยายบั ยงั้ ADH เชน่ Demeclocycline Lithium Carbonate

9

การพยาบาลผู้ป่วยท่มี ีความผิดปกตขิ องต่อมหมวกไต

 โรคของต่อมหมวกไตสว่ นนอก

Hyposecretion Hypersecretion เกิด Adrenocortical เกดิ Cushing’syndrome (cortisol Insufficiency มากเกินไป) 1. Addison’s disease เกดิ Conn’s disease (Aldosterone 2. secondary Adrenocortical มากเกินไป) insufficiency 3. Addison Crisis มี cortisol เกิน อาการและอาการแสดง - กระตุ้น gluconeogenesis การขาด cortisol - ระดบั น้าตาลในเลือดสูง - gluconeogenesis ลดลง - มไี ขมนั สะสม - นา้ ตาลในเลือดตา่ - กลา้ มเนื้อแขนขาลีบ - อารมณ์แปรปรวน ซมึ เศร้า - ติดเชือ้ ง่าย - ผิวดาคล้า คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดนิ - ผิวหนงั บาง เปราะ - ความดันโลหิตสงู การขาด Aldosterone การมี Aldosterone เพ่ิมข้ึน - ขาดน้า ความดนั โลหิตลดลง - น้าเกนิ ความดันดลหิตสูง - cardiac output ลดลง - โปแตสเซียมในเลอื ดต่า โซเดียมสงู - โปรแตสเซียมในเลือดสูง โซเดียมตา่

10

Hyposecretion Hypersecretion

การขาด Androgen Androgen เพิ่มขึ้น

- สตรจี ะมขี นที่รักแรแ้ ละอวยั วะเพศ - เปน็ สวิ ขน/ผมขน้ึ ผิดปกติ

นอ้ ยกว่าปกิ - ประจาเดือนมานอ้ ย หรอื ผิดปกติ

การรกั ษา

1. แกภ้ าวะขาดน้า 1. การผ่าตดั เชน่ Adrenalectomy

2. ให้ glucocorticoid Excision of tumor

3. ให้ mineralocorticoid 2. ฉายแสง

4. แกภ้ าวะความกันโลหิตต่า 3. ให้ยากดการทางานการหลงั่

5. รกั ษาตน้ เหตุ Cortisol เชน่ metyrapone,

cyproheptadine

โรคท่เี กดิ จากความผิดปกติ Adrenal cortex

Cushing’s syndrome เกดิ จาก Cortisol สงู พบได้ในทุกวยั ผหู้ ญิงเกดิ

ได้มากกวา่ ผู้ชาย อาการและอาการแสดง ไดแ้ ก่ Truncal obesity (moon

face, buffalo hump, supraclavicular fat pad), Muscular weakness,

Skin changes, Impaired glucose tolerance hypercortisolism, Peptic

ulcer hypercortisolism, High blood pressure, Osteoporosis,

Increased risk of Infection glucocorticoid, Virilization ผู้ปว่ ยหญงิ มี

ลกั ษะเหมอื นเพศชาย, Psychological changes การวินิจฉัยโรคตรวจทาง

หอ้ งปฏิบัตกิ าร ค่า Hct, Hb สูงกว่าปกติ PMN เพิม่ ขนึ้ lymphocyte,

eosinophile ลดลง FBS สงู VLDL,LDL สงู ทา Screening test หรือ

11

Definitive test ตรวจหาเนอื้ งอ การรักษาดว้ ยการผ่าตัด ใหย้ า เช่น Bromocriptine, Metyrapone, Ketoconazole

การพยาบาลผปู้ ว่ ย Cushing’s syndrome สงั เกตอาการ Hypernatremia, Hypokelemia บันทึก I/O จากดั น้า 2,000 ml/day จากัด Na intake < 2 -4 g/day งดอาหารรสเค็ม ใหย้ า E.KCL ทางปาก ให้ KCL ผสม ใน IV fluid drip ทาง IV ตามแผนการรกั ษา แนะนาให้รับประทานอาหาร K สงู เชน่ เนือ้ สัตว์ ผกั สด ผลไม้ (กลว้ ย ส้ม องนุ่ ) แนะนาการรับประทาน Ca สงู เลยี่ งการยกของหนัก ดูแลความสะอาดของรา่ งกาย หากมีแผลแนะนา รบั ประทานอาหารโปรตีน Vit.A,C สงู แนะนาออกกาลงั กายเท่าที่ทาได้ ดแู ล ทางด้านจติ ใจ ติดตาม Electrolyte

12

 โรคของต่อมหมวกไตส่วนใน Pheochromocytomy เปน็ เนือ้ งอกจากการหลงั่ catecholamine มาก

เกินไป พบได้ท้ังเพศชายและหญิง อายุ 40 – 60 ปี ถา้ ในเดก็ จะเป็นทง้ั สอง ขา้ ง มกั พบในครอบครัวท่มี ีประวตั ถิ ่ายทอดทาง autosomal dominant ปัญหาที่พบ ผู้ป่วยอาจได้รับอันตรายจากความดันโลหติ สงู เนอ่ื งจากไมม่ ี ความรใู้ นการดแุ ลตนเอง ดูแลแนะนาใหร้ ับประทาอาหารท่มี ี Na ตา่ ดูแลให้ ยาขยายหลอดเลือดแดง ยาลดความดนั โลหิตตามแผนการรักษา ไม่ควรนวด หลงั เพราะกระตน้ การทางานของตอ่ มมากข้ึน ใหย้ า Phenozybenzamine (Dibenzyline) จามแผนการรักษา สอนการหายใจ การออย่างมี ประสทิ ธิภาพ หลังผา่ ตัดพลิกตะแคงตวั ทุก 2 ชม. กระตุน้ ให้มีกิจกรรม ก่อน ลุกจากเตยี งใหพ้ ันปลายเทา้ และขาด้วยผ้ายดื เพราะการไหลเวียนยังไม่ดี ตดิ ตามภาวะสมดุลของฮอรโ์ มน

การพยาบาลผู้ป่วยท่ีมคี วามผิดปกติของต่อมไทรอยด์

 กลไกการหล่งั ไทรอยด์ฮอร์โมน

13

 ภาวะที่มไี ทรอยด์ฮอร์โมนมมากกว่าปกติ (Hyperthyroidism) สาเหตุเกดิ จากการหลั่ง T3 T4 มากวา่ กว่าปกติ เรียกว่า ภาวะไทรอยด์

เป็นพิษ (Thyrotoxiciosis) สาเหตุ ไดแ้ ก่ โรค Graves’s disease ซง่ึ เปน็ โรค Autoimmune อาการทพี่ บคือตาโปน (Bulging eyes หรือ Exophthalmos) ผอม มอื ส่ัน ร้อน เมตาบอลิซมสูง กระวนกระวาย หัวใจเตน้ แรง ภาวะคอหอย พอกเป็นพษิ มะเรง็ ต่อมไทรอยด์ การอกั เสบของต่อมไทรอยด์ การรักษาด้วย ไทรอยดฮ์ อรโ์ มน การไดร้ ับไอโอดีนมากกว่าปกติ

อาการและอาการแสดง ไดแ้ ก่ คอหอยพอก ไดย้ ินเสยี ง Bruit ที่ตอ่ ม ไทรอยด์ กระวนกระวาย หวั ใจเต้นเร็ว หิวบ่อย น้าหนักตัวลด ทนความร้อนไม่

14

คอ่ ยได้ หากไมไ่ ด้รบั การรักษาเสี่ยงตอ่ ภาวะแทรกซ้อนคอื Thyroid storm หรอื Thyroid crisis อาการและอาการแสดงทพี่ บ ได้แก่ มีไข้สงู หวั ใจเตน้ เรว็ ผดิ จงั หวะ กล้ามเนอ้ื หัวใจขาดเลือด หวั ใจวาย ตาตัวเหลือง ท้องเสยี คลนื่ ไส้ อาเจยี น ชกั หมดสติ เป็นต้น

การวนิ จิ ฉัยโดยตรวจพบระดบั T3 T4 และ Radioactive iodine uptake (RAIU) สูงขึ้น แต่ระดับ TSH ลดลง การรักษาดว้ ยยาตา้ นไทรอยด์ เช่น PTU, Methimazone S/E คอื มผี ื่นคัน มีไข้ ปวดตามขอ้ เม็ดเลือดขาวลดลง ตับถูกทาลาย PTU จะทาให้ตาตัวเหลือง ปัสสาวะสเี ขม้ เหนือ่ ยอ่อนเพลยี มาก ปวดทอ้ ง หากมีอาการให้หยดุ ยาและแจง้ แพทยท์ นั ที การรกั ษาดว้ ย Radioactive iodine รักษาด้วยการผา่ ตดั กอ่ นผา่ ตดั จะให้ Lugol’s iodine การรกั ษาด้วย Beta adrenergic blocking agents

ตวั อย่างข้อวินิจฉัยการพยาบาล 1. เสีย่ งตอ่ การส่งเลือดออกจากหัวใจลดลง เนอื่ งจาก หวั ใจตอ่ งทางานหนักข้นึ น จากการเพิ่มการเผาผลาญของรา่ งกาย ร่วมกับมกี ารเปลี่ยนแปลงการไหลเวยี น ของเลอื ดดาและแรงตา้ นของหลอดเลือดสว่ นปลาย 2. ขาดความสมดุลของภาวะโภชนาการโดยได้รบั สารอาหารน้อยกว่าร่างกาย ตอ้ งการ เนอ่ื งจากรา่ งกายมีการเผาผลาญอาหารมากกวา่ ปกติ 3. ท้องเสีย เนือ่ งจากกระเพาะอาหารและลาไส้เคลอ่ื นไหวมากขึน้ 4. เส่ยี งตอ่ การขาดสมดุลของอเิ ลค็ โทรไลท์ เนื่องจากท้องเสีย คล่นื ไส้ อาเจียน และเหงอ่ื ออกมาก

 ภาวะท่ีมไี ทรอยดฮ์ อร์โมนน้อยกว่าปกติ (Hypothyroidism)

15

สาเหตุ ได้แก่ Acute thyroiditis, Subacute thyroiditis, Hashimoto disease (Autoimmune thyroiditis), Congenital hypothyroidism, Thyroid carcinoma, การรกั ษา Hyperthyroidism ดว้ ย Radioactive iodine หรอื มีประวตั ิเคยไดร้ บั รังส,ี การผ่าตดั ต่อม ไทรอยด,์ การไดร้ ับยาบางชนดิ เช่น Amiodarone, อยรู่ ะหว่างตง้ั ครรภห์ รอื หลงั คลอด, การขาดไอโอดีน

อาการและอาการแสดง ได้แก่ เบ่อื อาหาร น้าหนกั ตัวเพิ่มขน้ึ เคล่อื นไหวตวั ช้า ตวั เย็น CO ลดลง หวั ใจเต้นชา้ เซอ่ื งซมึ เฉ่อื ยชา บวม ภาวะแทรกซ้อนทอี่ าจพบ คือ Maxedema coma จากการไม่ได้รบั การ รกั ษา ผูป้ ่วยจะตัวเย็นมาก หัวใจหยดุ เตน้

การวนิ ิจฉยั โรค ใชร้ ะดับ TSH เปน็ หลกั จะพบว่าคา่ สูงกวา่ ปกติ การ รกั ษาโดยให้ไอโอดีนทดแทน

ตวั อยา่ งข้อวินิจฉยั การพยาบาล 1. ความทนในการทากิจกรรมลดลง เนอื่ งจากเคล่ือนไหวตวั ชา้ 2. ท้องผูก เนอ่ื งจากการทาหน้าทข่ี องระบบทางเดินอาหารลดลง 3. เสี่ยงตอ่ การขาดความสมดลุ ของอณุ หภูมิในร่างกาย เน่ืองจากการไหลเวยี น เลอื ดไปเลย้ี งที่ผวิ หนงั ลดลง รว่ มกับตอ่ มไขมันและตอ่ มเหง่อื ทางานลดลง 4. เส่ยี งตอ่ ภาวะนา้ เกิน เนือ่ งจากอัตราการกรองที่ไดน้อยลง

16

การพยาบาลผปู้ ่วยทมี่ คี วามผิดปกติของตอ่ มพาราไทรอยด์

 กลไกการหลง่ั พาราไทรอยดฮ์ อร์โมน

 ภาวะทม่ี พี าราไทรอยด์ฮอร์โมนมมากกว่าปกติ (Hyperparathyroidism) สาเหตแุ บ่งเปน็ 2 แบบ คอื แบบปฐมภูมิเกิดจากความผดิ ปกติของต่อม

พาราไทรอยด์ เชน่ เน้อื งอก มะเรง็ แบบทุติยภูมไิ ม่เกี่ยวขอ้ งกบั ตอ่ มพารา ไทรอยด์ เช่น โรคไตวายเรือ้ รัง การบริโภควติ ามนิ ดีและแคลเซียมไมเ่ พยี งพอ การไดร้ บั ยาบางชนดิ เชน่ phenytoin, phenobarbital, laxatives เปน็ ตน้ ทา ใหร้ ะดบั Ca ในเลือดลดลง PTH หลั่งมากขึ้น

17

อาการและอาการแสดง ได้แก่ มวลกระดกู บางลง กระดูกพรุน นิว่ ปัสสาวะออกมาก ใจสั่น หวั ใจเตน้ ผดิ จังหวะ หงุดหงดิ สบั สน ซมึ เศรา้ นอนไม่ หลับ ปวดท้อง เกดิ แผลในกระเพาะอาหาร เบื่ออาหาร

การวินจิ ฉยั โรคจากการตรวจระดับ Ca, P ในเลอื ด ตรวจระดบั PTH ใน เลอื ด ตรวจความหนาแน่นกระดกู เก็บปัสสาวะตรวจ ตรวจหาวิตามินดี X-ray หานวิ่ ตรวจพเิ ศษ เช่น CT Scan, Esophagography, Ultrasound เปน็ ต้น การรักษาทาไดโ้ ดยการผ่าตดั ซ่ึงมี 2 แบบ คือ Minimally invasive parathyroidectomy และ Standard neck exploration การกั ษาด้วยยาขับ ปัสสาวะ เชน่ Furosemide การใหย้ า Calcimimetics และ Cinacalcet การ ให้ Phosphate การใหฮ้ อร์โมน Calcitonin การให้ Calcium chelators เช่น Mithramycin, Penicillamine เป็นต้น ผลขา้ งเคยี งคอื เลือดออก มีผลตอ่ การ ทางานของตบั และไต

ตัวอยา่ งข้อวินจิ ฉยั ทางการพยาบาล 1. ความทนในการทากจิ กรรมลดลง เนื่องจากอ่อนลา้ กล้ามเน้ืออ่อนแรง และ ปวดกระดกู

การพยาบาล ประเมิน ADL ประเมนิ อาการปวด ใหย้ าบรรเทาปวด จัดให้ มกี ารพักผอ่ น ส่งเสรมิ ใหท้ ากิจกรรมตามความเหมาะสม 2. ปวดเฉียบพลัน เนอ่ื งจากมกี ารสลายมวลของกระดูกมากขน้ึ ซ่ึงเป็นผลกระทบ จากการเพิม่ ของระดับแคลเซียมในเลือด

18

การพยาบาล ประเมินอาการปวด ให้ยาตามแผนการรักษา รกั ษาโดยไมใ่ ช้ ยา เช่น เบย่ี งเบนความสนใจดว้ ยการพูดคยุ ให้ยา Calcimimetics, Cinacalcet, Phosphate เปน็ ตน้ 3. เสย่ี งตอ่ การตดิ เชอื้ ในระบบทางเดนิ ปสั สาวะ เนอ่ื งจากเกิดนิว่ ในไต

 ภาวะที่มพี าราไทรอยด์ฮอรโ์ มนน้อยกวา่ ปกติ (Hypoparathyroidism) สาเหตเุ กิดจาก Iatrogenic or acquired hypoparathyroidism เกิด

จากการผ่าตัดโดนตอ่ มพาราไทรอยด์ ขณะผ่าตดั ต่อมไทรอยด์ Idiopathic hypoparathyroidism เกดิ เองโดยไมท่ ราบสาเหตุ Hereditary hypoparathyroidism จากความผดิ ปกตติ งั้ แตเ่ กิด Radiation treatment การรับรงั สีรกั ษาบรเิ วณคอ และ Hypomagnesemia

อาการและอาการแสดง ได้แก่ เม่ือใชเ้ ครื่องวัดความดนั โลหิต จะมอี าการ เกรง็ และงอมือ แสดงว่ากลา้ มเนือ้ ขาด Ca ไปเลยี้ ง เรียกอาการนว้ี ่า Trousseau’s sign และถ้าทดสอบโดยเอานว้ิ เขี่ยที่หนา้ ระหวา่ งติ่งหูกับโค้ง กระดูกโหนกแกม้ จะพบว่ามมุ ปากขา้ งน้ันเบ้ยี ว เปน็ มากจะเกรง็ ทงั้ ใบหน้า เรียก อาการนวี้ ่า Eliciting Chvostek’s sign นอกจากน้ีมีอาการเหนื่อยล้า อ่อนเพลยี ปวดประจาเดอื นมาก ปวดศีรษะ เล็บเปราะ ผิวหยาบ รเี ฟลก็ ซเ์ อน็ ลกึ มากกว่า ปกติ กระดูกผิดรปู กระสับกระส่าย ปัญหาการจา และนอนไม่หลับ

การวินิจฉยั โรคทาได้โดยการตรวจเลือดพบระดับแคลเซียม PTH และ แมกนเี ซยี มต่า แตร่ ะดับฟอสเฟรตในเลือดสงู EKG พบ Prolong QT interval

19

ตรวจปสั สาวะพบระดับแคลเซยี มสูง การรักษาเน้นการแก้ไขภาวะแคลเซยี มและ แมกนเี ซยี มตา่ การช่วยเหลือเรง่ ด่วนให้ 10% Calcium chloride หรอื Calcium gluconate ทางหลอดเลอื ดดาช้าๆ (มากกว่า 10 – 15 นาที ) และ ควรให้ CVC เพราะอาจเกิดภาวะหลอดเลอื ดอกั เสบได้ การขาดวติ ามนิ ดีให้ Calcitriol (Rocaltrol) แมกนเี ซยี มตา่ ให้ 50 % Magnesium sulfate ทาง MI หรือ IV การรักษาระยะยาวใหร้ บั ประทานแคลเซียมและวติ ามินดี

ตัวอยา่ งข้อวินิจฉยั ทางการพยาบาล 1. ความทนในการทากิจกรรมลดลง เนอ่ื งจากอ่อนล้า และมีการรบั รูบ้ กพร่อง 2. แบบแผนการหายใจไมม่ ีประสิทธภิ าพ เน่ืองจากเกดิ การหดเกรง็ ของหลอดลม 3. เส่ยี งตอ่ การได้รับบาดเจบ็ เน่ืองจากอาการชัก/เกร็งจากการหดตวั ของ กล้ามเนื้อ

20

เอกสารอ้างองิ

ตอ่ มพาราไทรอยด์. (ม.ป.ป.). ค้นเม่อื 3 พฤษภาคม 2563, จาก https://il.mahidol.ac.th/emedia/hormone/chapter4/parathyroi

d_hormone.htm

นงลักษณ์ เมธากาญจนศกั ดิ์. (2562). เอกสารประกอบการสอบวิชา NU ๑๑๒๒0๔ การพยาบาลสขุ ภาพผใู้ หญ่ ๒ หวั ข้อ การ พยาบาลระบบต่อมไร้ท่อ. ขอนแก่น.

อรณิชา สุนทรโลหะนะกูล. (ม.ป.ป.). การทดสอบการทางานของ ต่อมไทรอยด์. คน้ เมอื่ 3 พฤษภาคม 2563, จาก https://meded.psu.ac.th/binla/class04/388_421/Thyroid_Fun

ction_test/index.html

นางสาวอภิญญา เพง็ แกว้ รหัสนกั ศึกษา 613060072-6 Section 1

นักศกึ ษาคณะพยาบาลศาสตร์ชนั้ ปที ี่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น E-mail: [email protected]