Kine master ไม ม ท ว างเหล อให แปลงสภาพ

การจัดการความรู้ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่ ปีการศึกษา 2564 กลวิธีการจดั การเรยี นร้อู ยา่ งไรให้มีความสขุ ในยคุ โควิดอยา่ งครมู ืออาชีพ

ก บทสรุปผบู้ รหิ าร นโยบายและยุทธศาสตร์การอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม พ.ศ.2563-2570 เปน็ กรอบแนว ทางการพฒั นาประเทศมวี ิสัยทัศน์เพื่อ “เตรยี มคนไทยแห่งศตวรรษท่ี 21 พฒั นาเศรษฐกจิ ท่ีกระจายโอกาสอยา่ งทวั่ ถงึ สังคมท่ีมน่ั คงและส่ิงแวดลอ้ มทย่ี ัง่ ยืน โดยสร้างความเข้มแข็งทางนวัตกรรมระดับแนวหน้าในสากล นำพาประเทศไปสปู่ ระเทศท่พี ัฒนาแลว้ ” มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงใหมจ่ งึ มบี ทบาทสำคญั ในการสร้างคน สรา้ งองคค์ วามรู้ และสรา้ งนวตั กรรม โดยเฉพาะการ ขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลติ และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา และยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ยกระดับคุณภาพ การศกึ ษา ในปกี ารศึกษา 2563 คณะครศุ าสตร์ร่วมกบั คณะรว่ มผลิตครูประกอบดว้ ย คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และคณะเทคโนโลยีการเกษตร รว่ มกันดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ จดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา่ 2019 โดยปรบั เปลีย่ นเปน็ แบบ Competency based learning มากขึน้ มีรูปแบบการเรียนรู้ การวัดผลและประเมนิ ผลทหี่ ลากหลายนำเอาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่อื ออนไลน์ แอพพลเิ คชั่นและโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์มาใช้จัดการเรียนรอู้ ย่างเตม็ รปู แบบ เพอื่ ให้เกดิ ประสทิ ธิผลสูงสุด นำไปสู่คุณภาพทางการศึกษา สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยและประเทศ กจิ กรรมการจัดการความรู้ (KM) ในปกี ารศกึ ษา 2563 คณะครศุ าสตรจ์ ึงมงุ่ ประมวลผลและสกดั องค์ความร้เู ก่ยี วกบั “กลวิธีการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งไรใหม้ ีความสขุ ในยุคโควดิ อยา่ งครมู ืออาชพี ” ไดอ้ งค์ความรทู้ ีจ่ ะนำไปใชเ้ ป็นต้นแบบ ของการจดั การเรียนรู้ ดังน้ี องค์ความรู้ที่ 1 การใช้ Application ในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ องค์ความรทู้ ี่ 2 รปู แบบวธิ กี ารใช้ Application ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ องคค์ วามรูท้ ่ี 3 เทคนคิ การใช้ Application อยา่ งมืออาชีพในการจัดการเรยี นการสอน องค์ความรู้ที่ 4 ปัจจยั และข้อจำกัดที่สง่ ผลใหก้ ารจดั การเรียนการสอนออนไลนป์ ระสบผลสำเร็จ ซง่ึ จะเกิดประโยชนต์ ่อครอู าจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษา เปน็ แนวทางในการออกแบบการเรยี นการสอน และการ พฒั นาผเู้ รียนต่อไป ทงั้ นี้ คณะครุศาสตรร์ ่วมกับคณะรว่ มผลิตครู คณะกรรมการครศุ กึ ษา อาจารย์ผทู้ รงคุณวุฒิจากทงั้ 5 ภาควิชา บคุ ลากรสำนกั งานคณบดี โดยเฉพาะอย่างยิง่ คอื ทีมงาน KM ผู้ซึ่งเป็นพลังสำคญั ในการประสานงาน หนุนเสรมิ สร้าง บรรยากาศท่เี อื้ออำนวยในการพัฒนาองคค์ วามรู้ และขับเคลือ่ นงานการจดั การความรู้ จะได้ร่วมกันดำเนินงานตาม พันธกจิ วิสัยทศั น์ และปรชั ญาของคณะครศุ าสตร์ ที่ว่า “ครเู ป็นพลังสร้างชาติ ครุศาสตรส์ รา้ งครดู ี ครูเก่ง” การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

สารบัญ ข บทสรปุ ผ้บู ริหาร หน้า สารบัญ ก เกร่นิ นำ ข องความรู้ที่ 1 ค การใช้ Applications ในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ องคค์ วามรูท้ ี่ 2 1-9 รูปแบบวธิ ีการใช้ Applications ในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ 10-14 องคค์ วามรู้ที่ 3 เทคนคิ การใช้ Applications อยา่ งมอื อาชพี ในการจดั การเรียนการสอน 15 ออนไลน์ 16-17 3.1 การจดั การเรียนการสนอโดยการใช้ Applications ในแตล่ ะ 18-19 กระบวนการจัดการเรียนรู้ 20-22 3.2 เทคนคิ การวัดและประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้ Applications องค์ความร้ทู ่ี 4 23 ปจั จัยและข้อจำกัดทีส่ ่งผลให้การจัดการเรียนการสอนออนไลนป์ ระสบ 24 ผลสำเร็จ รายชื่อคณะกรรมการดำเนนิ งาน รายช่อื Tacit Knowledge ทร่ี ว่ มถา่ ยทอดความรู้ การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

ค เกรน่ิ นำ “โรคระบาดโควดิ -19 ไม่ไดท้ ำใหก้ ารศกึ ษาของไทยเราออ่ นดอ้ ยลง แตเ่ ป็นการสะท้อนให้ ผู้ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งไดเ้ พิม่ คณุ คา่ แสวงหากลวิธกี ารจดั การเรยี นรู้ รวมถงึ การปรับการเรยี นเปล่ยี น การสอนให้เข้ากับยุคสมยั และเหตกุ ารณอนั เป็นความทา้ ทายครัง้ สำคญั ซ่งึ จากปรากฏการณด์ ังกลา่ วเปน็ ไปไดแ้ ล้วในการจัดการความรู้ เรอ่ื งกลวิธีการจัด การเรียนร้อู ยา่ งไรให้มคี วามสขุ ในยุคโควดิ อยา่ งครูมอื อาชพี โดยคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เชยี งใหม”่ ภายใต้บริบทของการจัดการศึกษาไทยและการศึกษาโลกคงเป็นที่ทราบกันดีว่าการจัด การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ได้มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาสู่ผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มี คุณสมบัติ คุณลักษณะที่พึงประสงค์สอดคล้องกับยุคสมัยมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ศตวรรษที่ 21 ที่มีการเปล่ียนแปลงและเกิดไการเปลี่ยนผ่านทางด้านการศึกษา สังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีเป็นอย่างมาก บุคลากรทางการศึกษาจึงเร่งพัฒนาศกั ยภาพ ความรู้ ความสามารถ และทักษะของตนเองทุกด้าน เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และสามารถ จัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรูเ้ ป็นผูท้ ี่มีสมรรถนะและคณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี 21 มากทีส่ ดุ เน้นให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ในโลกกวา้ ง และโลกของความเปน็ จริง มากกว่าโลก ในชั้นเรียนเพียงอย่างเดียว การจัดการเรียนการสอนจากเดิมที่เป็นแบบ Standard based learning จึงถูกปรับเปลี่ยนเป็นแบบ Competency based learning มากขึ้นโดยมีรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนทีห่ ลากหลาย นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ การจดั การศึกษา เริ่มมกี ารใช้เวปไซด์ ระบบออนไลน์ และแอพพลเิ คชั่นในการจัดการเรยี นการ สอน เพื่อเติมเต็มความรู้และประสบการณ์แก่ผู้เรียน จนกระทั่งการเกิดวิกฤตทางสังคม เนื่องจากมีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า-19 ขึ้นในช่วงประมาณเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 สถานการณ์การแพร่ระบาดที่รนุ แรงบุคคลตอ้ งใชช้ วี ิตวถิ ีใหม่ (New Normal) โดยแบบ เว้นระยะห่าง ไม่อยู่รวมกันกับคนหมู่มาก สวมหน้ากากอนามัย เก็บตัวอยู่กับบ้าน Work From Home การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

ง เกริ่นนำ และป้องกันตนเองเพื่อไม่ให้เกิดการตดิ เชื้อ กระทบต่อวถิ ีชีวิตและการปฏิบัติตนในสังคมเปน็ อย่างมากในส่วนของวงการการศึกษา หน่วยงานและสถาบันทางการศึกษา อาทิ สำนักงาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน สถาบันอุดมศึกษา และโรงเรียนต่างๆ จึงปรับตัวและเร่งพัฒนาครู ผู้สอน เทคโนโลยีที่เก่ียวข้องกับการจัดการศกึ ษาเพือ่ ใหส้ ามารถจดั กระบวนการเรียนรโู้ ดยท่ีผเู้ รยี นไมต่ อ้ งเข้าชั้น เรยี นสามารถเรียนรู้อยใู่ นท่ีพกั ของตนเองได้อยา่ งเต็มท่ี เกดิ คณุ ภาพตามเป้าหมายของการศกึ ษา การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดตอ่ โคโรน่า 2019 จึงมรี ปู แบบ ที่หลากหลายและเพิ่มมากขึ้น เช่น การเรียนแบบ ON-AIR การเรียนแบบ ONLINE ผ่านอินเทอร์เน็ต (Internet) การเรยี นแบบ ON-DEMAND ผา่ น Application และการเรยี นแบบ ON HAND โดยหนังสือ เรียนและแบบฝึกหัดที่ครูนำไปให้นักเรยี นเรียนเองที่บ้าน เป็นต้น ทั้งนี้นโยบายในการจัดการเรียนการ สอน การกำหนดแนวทางการสอนว่าจะเป็นรูปแบบใดนั้นขึ้นอยู่กับหน่วยงานทางการศึกษานั้นๆ และ นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับผู้สอนแต่ละท่านว่าจะออกแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน การวัดผล ประเมินผลกาเรียนรู้อย่างไร โดยนำใช้สื่อออนไลน์ แอพพลิเคชั่น และโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์มาใช้ สอนอยา่ งเต็มรปู แบบมากขนึ้ เพ่อื ใหเ้ กดิ ผล บรรลตุ ามเป้าหมาย คุณภาพทางการศึกษา และคณุ ภาพของ ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 นี้ต่อไป กิจกรรมการจัดการความรู้ (KM) ในปีการศึกษา 2563 คณะครุศาสตร์ จงึ มงุ่ ประมวลผลและสกดั องค์ความรู้เก่ยี วกบั กลวิธกี ารจัดการเรียนการสอนออนไลนอ์ ย่างมืออาชีพ เพื่อ จะได้เกิดประโยชน์ต่อบุคลากรทางการศึกษา และคุณภาพของผู้เรียน และหากท่านเป็นส่วนหนึ่งของ การพัฒนาการศึกษาหรือเปน็ ผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับการจัดศึกษาไม่ว่าจะเป็นมิติใด เมื่อท่านเข้ามาร่วมศึกษา เรียนรู้ และสะท้อนคิด “กลวิธีการจัดการเรียนรู้อย่างไรให้มีความสุขในยุคโควิดอย่างครูมืออาชีพ” ด้วยกันแล้ว ใคร่กรุณาร่วมกันถ่ายทอด ต่อยอดอุดมการณ์ของคณะครุศาสตร์ที่มุ่งมั่นตาม ปรัชญา วสิ ัยทัศน์ และพันธกิจ เพ่ือการพัฒนาครสู กู่ ารเป็นครมู ืออาชีพไมว่ า่ จะเกิดสถานการณ์ใดๆ ก็ตาม การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

องคค์ วามรู้ท่ี 1 1 การใช้ Applications ในการ จัดการเรยี นการสอนออนไลน์ การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

2 Applications for Online Education Talent Test (รู้ Engagement สมรรถนะตนเอง) (ตระหนกั ร้)ู Discussion (สู่การอภปิ ราย) Organization Practice (จดั หมวดหมสู่ าระ) (ขยายการปฏิบตั )ิ Reflection Thinking (รอ้ ยรัดความร)ู้ การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

3 E : Engagement (สรา้ งความสนใจ) Applications การนำไปใช้ ขอ้ จำกดั Online-stopwatch ผู้สอนสามารถสมุ่ ผู้เรียนเป็นรายบคุ คลและ เปน็ โปรแกรมทีจ่ ะต้องใช้ จดั ผ้เู รียนเป็นกลุ่มด้วยหมายเลขและรายชือ่ ผา่ นอินเตอรเ์ น็ตออนไลน์ มีลกู เลน่ สีสนั นา่ ใชก้ ระต้นุ ผูเ้ รยี นได้เป็น เท่าน้นั ไม่สามารถ Export อย่างดี นอกจากน้ผี สู้ อนยงั สามารถนบั เวลา รายชอื่ ผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคล ถอยหลงั ในการนำเสนองาน การสอบ เป็น หรอื กลุม่ ได้ ตน้ Pickerwheel ผ้สู อนสามารถส่มุ ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคลและ เปน็ โปรแกรมทีจ่ ะต้องใช้ จดั ผูเ้ รียนเป็นกลุ่มด้วยหมายเลขและรายช่ือ ผ่านอนิ เตอรเ์ น็ตออนไลน์ สามารถ Import และ Export ไฟล์รายชื่อ เทา่ นัน้ มีลูกเล่นหรอื สีสนั ผเู้ รยี นได้ คอ่ นขา้ งนอ้ ย Kahoot ผู้สอนสามารถใช้โปรแกรม Kahoot ในการ ผเู้ รียนจะตอ้ งมมี ือถือ QuizWhizzer ทดสอบและทบทวนเน้อื หาในส่งิ ทไ่ี ดเ้ รียนรู้ คอมพิวเตอร์ และ เป็นลกั ษณะของ Multiple Choices ช่วย อนิ เตอรเ์ น็ตเพอ่ื เชอื่ มต่อใน ใหผ้ ู้เรียนสนุกกับการเรยี นรู้ โดยใช้ผา่ น การเข้ารว่ มโปรแกรม คอมพวิ เตอร์ มือถอื หรือไอแพด Kahoot ผู้สอนสามารถออกแบบเปน็ บอรด์ เกมส์ รบั รองจำนวนผ้เู ล่นมากสดุ ออนไลนท์ ่ีแขง่ ขนั กนั ตอบคำถามเพอื่ ให้เดิน 20 คน และไม่สามารถ ไปถึงเส้นชยั ไดม้ ลี กั ษณะคล้ายกบั บนั ไดงู Export คะแนนออกเป็น ตอบถูกเดินหน้า ตอบผดิ ถอยหลัง Excel ได้ โปรแกรมนีจ้ ะทำให้ผู้เรียนสนกุ สนาน ตืน่ เตน้ เร้าใจ และท้าทายผู้เรียน สามารถ โจมตีคู่แข่งได้ เชน่ ยิงปืนใส่ สลับตำแหน่ง หรือลุ้นการเดินทางไปขา้ งหนา้ การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

Applications E : Engagement (สร้างความสนใจ) 4 Mentimeter การนำไปใช้ ขอ้ จำกดั แอปพลเิ คชนั่ น้ีสามารถช่วยกระตุน้ ให้เกดิ สามารถใชไ้ ด้แค่ 2 Slides การมสี ว่ นร่วมในชัน้ เรยี น การตอบคำถาม และมโี จทย์ประเภท Quiz การระดมความคิดเห็น สำรวจมากสุด นอ้ ย Competition ได้สงู สดุ 5 สดุ การโวต การจัดลำดบั ประเด็นต่างๆ คำถาม และไม่สามารถ Export เปน็ Excel ได้ และสามารถแสดงผลได้หลายรูปแบบ D : Discussion (อภปิ ราย) Applications การนำไปใช้ ข้อจำกัด Microsoft Teams เปน็ เคร่ืองมอื ท่ถี ูกออกแบบมาเพือ่ เป็นส่อื กลาง หนา้ จอในการแสดงผลได้ ในการทำงานในด้านตา่ งๆ เชน่ การ จำนวนนอ้ ยเห็นคนไม่ครบ ตดิ ต่อสอ่ื สาร การนัดหมาย การประชุม การ ระบบ Streaming ยงั ไม่ค่อย ประกาศและติดตาม ข่าวสาร การตดิ ตามงาน ดี ไม่ล่ืนไหล ภาพไมช่ ดั เจน หรือโครงการตา่ งๆ มคี วามเหมาะสมในการ นำมาใช้ในจดั การเรียนการสอนออนไลน์ Google Classroom เป็นโปรแกรมบรหิ ารระบบจัดการเรียนการ ไม่มรี ะบบติดตอ่ สอ่ื สารกบั สอนออนไลน์ ชว่ ยอำนวยความสะดวกดา้ น ผ้เู รียน หรอื ระหวา่ งครดู ว้ ยกัน การศึกษา ผูส้ อนสามารถจัดการช้ันเรียนแสดง เชน่ ห้องสนทนาออนไลน์ ความคิดเห็นและใหค้ ะแนนได้โดยตรงในแบบ และไมม่ รี ายการบนั ทึก เรียลไทม์ สามารถใส่สอื่ การสอนไดห้ ลาย กจิ กรรมการเขา้ ใชง้ านของชนั้ รูปแบบ เช่น วดิ โี อ Youtube Google form เรยี นของผู้เรยี น ไฟล์ pdf และอื่นๆ จาก Google drive Zoom แอปพลิเคช่ันสำหรบั การประชุมวดี ีโอออนไลน์ เวอรช์ ่ัน Basic รองรับ 100 สามารถใชง้ านบทแพลตฟอรม์ ได้หลากหลาย คน การใชง้ านประชมุ ไดเ้ พยี ง ไมว่ า่ จะเป็น Windows Mac iOS หรอื 40 นาที เหมาะกบั การคยุ กนั Android สามารถแชรห์ นา้ จอ หรือ โปรแกรม ระยะสนั้ มพี น้ื ทีใ่ นการบนั ทกึ ใดโปรแกรมหนึ่งให้ผ้รู ่วมประชุมเหน็ ได้ และ วีดโี อจำกัด สามารถ ผรู้ ่วมประชุม เหมาะสำหรบั ใชใ้ นการประชมุ intregrate โปรแกรมอ่นื เข้า และการสอนออนไลน์ ไดจ้ ำกดั การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

5 Applications D : Discussion (อภปิ ราย) ขอ้ จำกัด Youtobe การนำไปใช้ ด้านความปลอดภัย เปน็ ชอ่ งทางในการถูกละเมดิ Google Meet แอปพลเิ คช่นั สำหรบั เป็นสื่อในการนำเสนอ ลขิ สิทธิ์ ขโมยผลงาน หรือ ผลงานทางสงั คมออนไลน์ ท้ังนร้ี วมถึง ถกู แอบอ้าง VooV Meeting อาจารย์และนักศกึ ษาด้วย Bandicam แอปพลเิ คชน่ั สำหรบั การประชมุ ทางไกล เร่ิมตน้ รองรบั ได้ 100 คน สามารถแชร์ ภาพหน้าจอ หรอื เฉพาะ สามารถ Live Stream ได้ โปรแกรมใด โปรแกรมหน่ึงๆได้ สามารถใช้ เฉพาะคนในองคก์ รทจี่ ะเห็น งานบนระบบต่างๆ ไมจ่ ำกัดพน้ื ท่ีและไม่ เทา่ นั้น ไมม่ ี Whiteboard จำกดั เวลาในการประชมุ เหมาะสำหรับใช้ ไม่มี Screen Drawing ไมม่ ี ในการประชุมและการสอนออนไลน์ Remote Control แอปพลเิ คชั่นสำหรับการประชมุ ทางไกล ผเู้ ข้ารว่ มประชุมในทัง้ สามารถแชร์ ภาพหน้าจอ ได้ท้งั ทาง รปู แบบเสียง และรูปแบบ macOS และวินโดวส์ (Windows) วดี ีโอได้ 300 คน ระบบปฏบิ ตั กิ ารมอื ถือทง้ั iOS และ แอน ดรอยด์ (Android) และสามารถประชุมได้ อย่างต่อเน่ืองไม่มีการจำกดั เวลา แอปพลเิ คชั่นสำหรบั คนทำวดิ โี อสอนการใช้ ต้องใชส้ เปกเครอ่ื ง งานโปรแกรมหรือการสอนต่างๆ สามารถ คอมพวิ เตอรท์ ่สี งู เหมาะสม แคปเจอรภ์ าพนิ่ง ของหน้าโปรแกรม หนา้ และมีหน้าต่างโปรแกรมมี เวบ็ ตา่ งๆ ไดอ้ ย่างง่ายดาย เปน็ เครอ่ื งมอื ทม่ี ี ขนาดคอ่ นขา้ งใหญ่ ตอ้ ง ประโยชน์มากสำหรบั คุณครหู รอื วทิ ยากรที่ คอยขยบั หนา้ ตา่ งหลบ มัก ต้องการสรา้ งสอื่ การสอนการใช้งาน บังสว่ นทีต่ อ้ งการแคปเจอร์ โปรแกรมต่างๆ การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

6 P : Practice (ลงมอื ปฏบิ ัต)ิ Applications การนำไปใช้ ข้อจำกดั loom แอปพลิเคชน่ั ท่ีสามารถนำมาใชใ้ นการ ภาพและเสยี งยังไม่ชดั เจน Google Sites จดั ทำคลปิ วิดโี อการสอนในรปู แบบ และนำไฟล์เข้าไปใช้ Viva Video ออนไลน์ ซง่ึ เปน็ แอปพลเิ คชนั่ ทไี่ มเ่ ปลอื้ ง คอ่ นข้างยาก หากผู้สอน CODETWO พื้นทคี่ วามจำของโนต้ บคุ๊ สามารถตง้ั คา่ อยากใหไ้ ด้คลิปวดิ โี อทม่ี ี ส่วนตวั หรอื สาธารณะพรอ้ มทัง้ ตรวจสอบ คุณภาพอาจจะต้องเสียเงิน คนทเี่ ข้ามาดไู ด้ ค่าใช้จา่ ย ผูส้ อนสามารถออกแบบเว็บไซตด์ ้วยตนเอง ขนาดของพ้นื ทจ่ี ัดเกบ็ Site สามารถเผยแพรข่ ้อมูลท่ีเปน็ ลักษณะไฟล์ มีขนาดสงู สดุ 10GB เท่าน้ัน รปู ภาพ เสยี ง คลปิ วดิ โี อ ไฟล์อ่นื ๆ ได้ มี การใชง้ านจะต้องเชอื่ มต่อ รูปแบบใหเ้ ลือกไดห้ ลากหลาย โดยผู้สอน Internet อยู่เสมอในขณะที่ สามารถนำเน้อื หาเก่ยี วกับการเรียนการ จดั ทำ Google sites และ สอนใสไ่ ว้บนเวบ็ ไซต์ ยังไมส่ ามารถทำงานร่วมกับ Scrip อื่นได้ แอพพลเิ คชั่นบันทกึ และตัดต่อคลิปวิดีโอ ปัจจบุ นั ยังไม่รองรับโซเชยี ล ขนาดสนั้ ทม่ี ลี กู เลน่ นา่ รกั ๆ และถา่ ยคลิป มีเดยี ทกุ ประเภท ดว้ ยฟลิ เตอรม์ ากมาย เหมาะสำหรับ นำเสนอการสอนด้วยภาพเคลื่อนไหว หรอื งานกิจกรรมต่างๆ สำหรับนักศกึ ษา ง่าย ตอ่ การใช้งาน เริม่ ตน้ ใช้งานไดฟ้ รี แอปพลิเคชน่ั ใช้สำหรบั ทำการสแกนควิ อาร์ ใชง้ านกับเครอื่ ง โค้ด (QR Code) จากบนหน้าจอเดสก์ทอ็ ป คอมพวิ เตอรเ์ ดสกท์ ็อป (Desktop) บนเครือ่ งคอมพวิ เตอรข์ องคุณ ไดโ้ ดยตรง และสามารถสร้างคิวอารโ์ คด้ ดว้ ยตนเองได้ เหมาะสำหรบั อาจารย์ผู้สอน ในการส่งลิงก์ขอ้ มูลให้กบั นกั ศึกษาผา่ นคิว อารโ์ คด้ ให้เกิดความรวดเร็ว การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

7 Applications P : Practice (ลงมอื ปฏิบตั )ิ ข้อจำกัด KINEMASTER การนำไปใช้ ใชไ้ ดบ้ น Smart phone ทงั้ ระบบปฏิบัตกิ าร IOS และ Powerpoint แอพพลิเคชน่ั บันทกึ และตดั ต่อคลิปวิดีโอ Android สามารถเพ่ิมเพลง ข้อความและ Effect ให้กับวดิ ีโอได้ เหมาะสำหรบั นำเสนอการ ไฟล์มีขนาดใหญ่ เม่ือใส่ สอนด้วยภาพเคลื่อนไหว หรอื งานกจิ กรรม รูปภาพ เสยี ง วีดโี อ ลงไป ต่างๆ สำหรับนักศกึ ษา งา่ ยตอ่ การใช้งาน เร่ิมตน้ ใช้งานไดฟ้ รี โปรแกรมใชใ้ นการทำ Presentation สามารถใสก่ ราฟ ตาราง รปู ภาพ วีดีโอ ใช้ งานง่าย Canva และ Canva.com โปรแกรมสำหรับใช้จดั ทำ Presentation, ไมม่ ี Effect ให้เล่นแบบ Portfolio, Resume, Poster หรอื Card ก็ PowerPoint ได้ มี Template ตวั อยา่ งงาน และ Icon ต่าง ๆ ใหเ้ ลือกเยอะมาก รวมถึงมกี ราฟิกให้ เลือกหลากหลายรปู แบบ R : Reflection Thinking (สะท้อนความคดิ ) Applications การนำไปใช้ ข้อจำกดั Padlet ผู้สอนสามารถตั้งประเดน็ คำถามไวใ้ นกระดาน ผ้สู อนสามารถใช้ไดฟ้ รี ออนไลน์ แล้วให้แตล่ ะคนได้แสดงความ จำนวนไม่เกนิ 3 กระดาน คดิ เหน็ และอภปิ รายรว่ มกัน เพ่อื ใหน้ ักศึกษา ออนไลน์ และต้องใช้ผ่าน ตอบคำถามและแชร์ประสบการณร์ ว่ มกันใน การเชือ่ มตอ่ อินเตอรเ์ นต็ ส่งิ ท่ีเรยี นรู้ และผู้สอนสามารถดาว์นโหลด เท่านนั้ ขอ้ มูลทอ่ี ยู่ในกระดานออกเปน็ PDF ไฟล์ได้ การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

8 R : Reflection Thinking (สะทอ้ นความคิด) Applications การนำไปใช้ ขอ้ จำกัด Facebook แอปพลเิ คชัน่ สำหรบั สร้างเครือขา่ ยทางสงั คม ดา้ นความปลอดภัย การ FreeMind ออนไลน์ สามารถ live สดเพ่อื ใช้สอนผูเ้ รียน ขยายเครือข่ายทางสงั คม ได้ และสามารถจดั กล่มุ ผูเ้ รียนหรอื กลุ่ม ออนไลน์ อาจทำใหเ้ กิดการ ผสู้ นใจในเรื่องตา่ งๆ เปน็ หมวดๆ ได้ เหมาะ ลักลอบขโมยขอ้ มูล หรือการ สำหรับใช้ในการสื่อสารและจัดกลมุ่ การเรียน แฝงตวั ของมิจฉาชพี หรือ การสอนและส่งงานออนไลน์ และสะทอ้ น ขบวนการหลอกลวงต่างๆได้ ความคดิ โปรแกรมสรา้ งผงั ความคดิ (MINDMAP) ใช้ แถบคำอธบิ ายประกอบ งานงา่ ย สามารถสร้างผงั ความคิดไดอ้ ยา่ ง หนาแนน่ มาก สะดวกและรวดเร็ว เหมาะสำหรบั การจดั การ โครงการ สร้างฐานขอ้ มูลที่มีโครงสร้าง การ ระดม ความคดิ มีคำอธิบายประกอบหลาย รายการใหเ้ ลอื ก เหมาะสำหรบั การนำไปใชใ้ น ชั้นเรยี น Line แอปพลเิ คชนั่ ใช้สำหรับการสื่อสารท่ีสามารถ การส่งไฟล์มกี ารหมดอายุ รบั -สง่ ข้อความ ใชใ้ นการนัดหมาย และจัด กล่มุ การตดิ ต่อส่ือสารได้ เชน่ ห้องเรียนฟิสกิ ส์ เปน็ ตน้ สามารถโทรดว้ ยเสียงหรอื วดิ โี อ สามารถสง่ ไฟล์ รูปภาพ สร้างอลั บม้ั โน้ต การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

9 Applications R : Reflection Thinking (สะท้อนความคิด) ข้อจำกัด Poll Everywhere การนำไปใช้ ใหม้ ผี ตู้ อบได้ไมเ่ กนิ 40 คน หรอื 40 ครง้ั ถา้ จะใช้ แอปพลเิ คชน่ั น้ีใชส้ ำหรับการสรา้ งคำถามเพอ่ื มากกว่านี้ต้องซอ้ื สำรวจความคดิ เหน็ ทดสอบ ความรู้ความ เขา้ ใจ และเกบ็ feedback โดยมีจดุ เดน่ ใน ด้าน การสร้างรปู แบบคำถามทีห่ ลากหลาย บันทกึ ผลอย่างเป็นระบบ นำเสนอผลโหวตได้ สามารถใช้กับห้องเรียนขนาดใหญไ่ ด้ Google Forms แอปพลเิ คช่นั สำหรับจดั ทำแบบสอบถามแบบ ดา้ นความปลอดภยั เม่ือทำ Socrative ออนไลน์ มกี ระจายขอ้ มูลไดท้ ั่วถงึ สามารถ การลงชอ่ื เขา้ ใช้ (Log-in) ใน เขา้ ถึงไดร้ วดเร็ว และสรา้ งข้อสอบสำหรบั การ คอมพิวเตอร์ แล้วไม่ได้ลงชื่อ สอบยอ่ ยได้ โดยที่ผ้ทู ำขอ้ สอบสามารถตรวจ ออก (Log-out) ผู้ทใ่ี ช้ตอ่ คำตอบได้ทนั ที หรือผไู้ มห่ วงั ดี สามารถเข้า ไปเชค็ ขอ้ มูลและแกไ้ ขได้ โปรแกรมใช้สำหรับการทำ Formative สมคั รฟรี จะใช้ไดแ้ ค่ 1 ห้อง Assessment หรอื การประเมินระหวา่ งเรียน เทา่ น้ัน รองรบั จำนวน เหมาะในการทำแบบทดสอบออนไลน์ คำถาม ผูเ้ รียนไมเ่ กิน 50 คน/หอ้ ง แบบเลือกคำตอบ (Multiple Choice) คำถามแบบถกู หรอื ผิด (True/False) คำถาม แบบเติมคำตอบ (Short Answer) โดยท่ีผ้ทู ำ ขอ้ สอบสามารถตรวจคำตอบได้ทันที การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

องคค์ วามรู้ท่ี 2 10 รูปแบบวธิ ีการใช้ Applications ในการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

11 “จากการวิเคราะหก์ ารจดั การเรียนรู้แบบออนไลนจ์ าก คณาจารยใ์ นสาขาวชิ าต่าง ๆ ในหลกั สตู รครุศาสตรบณั ฑติ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่ ประจำปี การศกึ ษา 2563 ซึง่ ในชว่ งปีการศึกษาดังกลา่ ว เกดิ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ (COVID-19) สง่ ผลใหก้ ารจดั การเรียนการสอนภายในมหาวิทยาลยั จำเปน็ ต้องมกี ารปรับเปลยี่ นให้เหมาะสมกับสถานการณ์ คณาจารย์ไดม้ ีการศกึ ษาเพ่มิ เตมิ เพื่อเพิ่มพนู ทักษะเกีย่ วกบั การ จัดการเรยี นการสอนผา่ นระบบออนไลน์ ซงึ่ การจัด การเรียนมี การใช้แอพพลเิ คชันหรือเวป็ ไซด์หลายรปู แบบที่เหมาะสมกบั การนำมาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนสาขาวิชาตา่ ง ๆ นอกจากนีแ้ ลว้ Application เดียวกนั ก็มีการใชท้ ่ีแตกต่าง กนั ออกไปตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับเน้ือหาหรือ กระบวนการสอนในขนั้ ตอนต่าง ๆ ซึง่ จะเห็นไดจ้ ากรูปแบบ วิธีการใชแ้ อพพลเิ คชันและการนำสื่อเทคโนโลยีมาใช้ในการ จัดการเรยี นรู้แบบออนไลน์” ดงั นี ้ การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

12 1. ใชเ้ พอื่ เชค็ ช่อื เข้าช้นั เรียน 2. ใช้เพือ่ ทดสอบก่อนเรียน ทวบทวนความรเู้ ดิมและกระตนุ้ ให้เกดิ ความสนใจในการเรยี นรู้ 3. ใช้เพื่อบรหิ ารจดั การในช้นั เรยี น เช่น จดั กลุ่มใหญ่ กล่มุ ยอ่ ยเพื่อทำกิจกรรม การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

13 4. ใชส้ ำหรับตั้งเป็นประเด็นคำถามหรือกระดานแลกเปลย่ี นความรู้ ความคิดเห็น Padlet Mentimeter Poll Everywhere 5. ใช้เปน็ ระบบจัดการเรยี นการสอน และบรหิ ารการจัดการเรยี นร้ใู นแตล่ ะรายวชิ า ในการแบ่งปนั ส่ือ ประกอบการเรยี นรู้ มอบหมายงาน ส่งงาน หรือทดสอบย่อย Microsoft Teams Google Classroom Class Start 6. ใชส้ ำหรับติดตอ่ ส่อื สาร ประชุมออนไลน์ โต้ตอบหรอื ส่งไฟลข์ ้อมูลต่างๆ การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

14 7. ใชส้ ำหรับการสร้างผลงานผา่ น VDO สร้างชิ้นงานและนำเสนองาน Kinemaster canva Viva Video Power Point YouTube Google Site Spotify Loom 8. ใช้สำหรับทดสอบความรู้ ก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียนเพือ่ ประเมนิ ผลการเรยี นร้ขู อง ผเู้ รียน 9. ใชส้ ำหรบั อำนวยความสะดวกในการอา่ น QR code และจดั เก็บภาพ ตกแต่งภาพ การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

องคค์ วามรูท้ ่ี 3 15 เทคนคิ การใช้ Applications อยา่ งมืออาชีพ ในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

16 3.1 เทคนคิ การจดั การเรยี นการสอนโดยใช้ Application ในแต่ละกระบวนการจดั การเรยี นรู้ จากการถอดบทเรียนจากคณาจารย์ในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ ในหลกั สตู รครศุ าสตรบัณฑติ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่ พบวา่ อาจารยม์ ีการใช้เทคนคิ การการจดั การ เรียนรู้ที่หลาหลาย สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ Application ในการจัดการเรียนรู้ ดังสรุปได้จากตาราง ดังน้ี ขนั้ นำเขา้ สูบ่ ทเรียน ใน ขนั้ นำเข้าสบู่ ทเรยี น จะมีกระต้นุ เร้าความสนใจผู้เรยี นด้วยเทคนิคตา่ งๆ เนน้ ให้ผู้เรยี นมคี วามสขุ และพรอ้ มที่จะเรยี นรู้ โดยทักทายผู้เรียนภาพรวม หรอื รายบคุ คล มกี ารสอบถามข้อมลู ทั่วไป ก่อนเขา้ ส่บู ทเรยี น การใช้เสียงกระด้ิง จงั หวะดนตรี หรือเพลง เชน่ การเตรยี มความพรอ้ มด้วยบทเพลง การเร้าความ สนใจดว้ ยสอ่ื กระตนุ้ เรา้ และทดสอบความรเู้ ดมิ ดว้ ยการใช้ Application การต้ังหวั ข้อใหผ้ ู้เรยี นเช็คช่ือในกลมุ่ Facebook หรือในระบบ LMS ใหผ้ เู้ รียนเลน่ เกมผ่าน Kahook ให้ผูเ้ รียนได้ตอบคำถามผา่ น Mentimeter ให้ผู้เรียนไดร้ ว่ มแสดงความคดิ เห็นผา่ น Poll Everywhere เปน็ ตน้ การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

17 ขั้นการจัดการเรยี นการสอน ใน ข้นั การจัดการเรียนรู้ จะมกี ารใชเ้ ทคนคิ ที่หลากหลาย กระตนุ้ ผ้เู รียนเกิด ความสนใจ ให้เวลากับผเู้ รียนได้มีเวลา ศึกษา คน้ ควา้ ในเรอ่ื งท่ีสอน โดยใช้ รปู แบบการสอนเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญเนน้ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 การสอน แบบ Active Learning และเน้น การสอนแบบ “สอนน้อย เรยี นรู้ให้ มาก” (Teach Less Learn More) ครูเป็นผอู้ ำนวยความ สะดวก (Facilitator) ลดการบรรยายลง แต่เปน็ การใหผ้ เู้ รยี นได้ คน้ ควา้ แลกเปลยี่ นและนำเสนอ การตดิ ตามงานตา่ งๆ เปน็ ในรูปแบบ Real Time มกี ารใหข้ ้อเสนอแนะทันที เมื่อผเู้ รียนสง่ งานตามกำหนด ขนั้ สรปุ ใน ขน้ั สรปุ การจดั การจัดการเรียนรู้ ผูส้ อนไดใ้ ช้เทคนิคทหี่ ลากหลายผ่าน Application ให้ผ้เู รยี นไดส้ ะทอ้ นคิด (After Action Review: AAR) ผลงานของตนเองและให้เพ่ือนๆ ไดแ้ สดงความ คิดเห็นเป็นตลาดนัดความรูอ้ อนไลน์ (Online Learning Hub) ถอดบทเรียน สะท้อนคิดผ่าน Padlet ทำแบบทดสอบผ่าน Google From เป็นรายบคุ คล หรอื รายกล่มุ เพ่อื การพฒั นาปรับปรุงการจัดการ เรยี นรใู้ หม้ ปี ระสิทธภิ าพมากย่งิ ขึน้ การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

18 3.2 เทคนคิ การวดั และประเมินผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Application รายวิชาทีเ่ น้นการปฏิบตั ิ มีแนวทางในการประเมนิ ดงั น้ี 1. ประเมนิ จากผลงานทเ่ี กดิ ข้นึ ระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน จะเกบ็ คะแนนจากการ เข้าช้ันเรยี น การทำแบบฝกึ หดั เก็บจากชิ้นงาน หรือแฟม้ สะสมผลงาน 2. การสอบวัดผลจะดำเนนิ การสอบผ่านโปรแกรมต่าง ๆ แต่ถ้าในสาขาวิชาคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา จะให้นักศึกษาทำเป็น Mini Project ส่วนวิชาดนตรีศึกษา และพลศึกษา จะทดสอบจากการ ฝกึ หดั และถ่ายส่งเป็นคลิป VDO 3. เกณฑก์ ารคิดคะแนนจะคิดคำนวณโดยใช้โปรแกรม Excel ในการกำหนดแบบ Rubric score การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

19 รายวิชาท่มี ที ั้งทฤษฎีและการปฏิบัติ มีแนวทางในการประเมนิ ดังน้ี 1. ทดสอบยอ่ ยในแต่ละบทเรยี น ผ่านโปรแกรม Kahoot, Quiz Whizzer, Socrative, Google Form และ Google Site ซึ่งเป็นโปรแกรมในการเก็บคะแนน หลักท่ใี ช้ในการจดั การเรยี นรู้ ขอ้ คำถามจะเป็นคำถามปลายเปดิ วเิ คราะห์คำถามในแต่ละขอ้ ใหค้ รอบคลมุ ไม่ใชเ่ น้นองคค์ วามรู้เพียงด้านเดียว มีการสลับคำถามในข้อสอบแต่ละชุด และกำหนดเวลาสอบท่ชี ดั เจน 2. ประเมินผ่านการทำงานกลมุ่ / ทีม โดยกำหนดให้มีการเปล่ียนกลุ่ม และประเมนิ โดยการ ประเมินตนเอง เพ่อื นประเมิน และอาจารย์ผ้สู อนเป็นผ้ปู ระเมิน 3. การเกบ็ คะแนนจะเกบ็ จากการเขา้ ชัน้ เรียน เกบ็ จากชน้ิ งาน การทำแบบฝกึ หัด แฟ้มสะสม ผลงาน หรอื ส่อื ดจิ ทิ ัล โดยมีกำหนดส่งลว่ งหน้า 4. ประเมินดว้ ยการสอบกลางภาคและสอบปลายภาค 5. นักศกึ ษาสามารถรู้ผลคะแนนในการสอบ และคะแนนเกบ็ ระหว่างเรียนได้ 6. เกณฑก์ ารคดิ คะแนนจะคิดคำนวณโดยใช้โปรแกรม Excel ในการกำหนดแบบ Rubric score การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

องค์ความรู้ที่ 4 20 ปัจจยั และข้อจำกดั ทส่ี ง่ ผลใหก้ ารจดั การ เรยี นการสอนออนไลน์ประสบผลสำเร็จ การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

21 ปัจจัย 1. ผ้สู อน 1) ผสู้ อนควรเตรยี มความพร้อมในการจดั การเรยี นการสอน เช่น เนอื้ หา สอ่ื การสอน กิจกรรม ใบงาน และแบบฝึกหดั ให้ครบถว้ น 2) ผสู้ อนควรทำการชี้แจง รวมทง้ั ทำความเข้าใจกบั ผ้เู รยี นในการจดั การเรียน การสอน 3) ผ้สู อนควรสร้างแรงจงู ใจในการจัดการเรยี นการสอน และมกี ารเสริมแรงทางบวก ใหก้ บั ผเู้ รยี น เชน่ คำชม รางวลั คะแนนสะสม เป็นต้น รวมทง้ั มีการสรา้ งวนิ ยั ใน การเรียนใหก้ ับผ้เู รียน 4) ผสู้ อนควรสร้างบรรยากาศที่เออื้ อำนวยตอ่ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ เช่น การเปดิ เพลง การจดั กิจกรรมหรอื เกมส์ การเปิดคลิปวดี โี อ เป็นตน้ 5) ผู้สอนควรมีความพร้อมในการใชเ้ ทคโนโลยกี ารสอนท่หี ลากหลาย และเหมาะสม กบั เน้อื หาของรายวิชา เชน่ การใช้แอพพลเิ คชนั่ ZOOM, MICROSOFT TEAM, GOOGLE CLASSROOM FACEBOOK, KAHOOT เป็นตน้ 6) ผูส้ อนควรมีการบริหารเวลาที่เหมาะสม เพ่อื ให้สามารถการจัดการเรียนการสอน ทีม่ คี ุณภาพ และครบถ้วนตามท่ีได้วางแผนการบรหิ ารรายวิชาไว้ 2. ผเู้ รยี น (ความซอ่ื สตั ย/์ ความรับผิดชอบ) 1) ผู้เรียนควรทำการศกึ ษาข้อมูลในการเรียนการสอนมากอ่ น 2) ผ้เู รียนควรมีความพรอ้ มในการใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื การเรียนรู้ 3) ผเู้ รยี นควรได้รับการช้แี จงการเรียนการสอนจากผสู้ อนก่อน 4) ผเู้ รียนควรมีวนิ ยั ความรับผดิ ชอบ และความซอ่ื สตั ย์ 5) ผเู้ รียนควรมกี ารบรหิ ารเวลาอยา่ งเหมาะสม การจดั การความรู ้ คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

22 3. ธรรมชาตขิ องวชิ า เนอื่ งจากวตั ถปุ ระสงค์ เนื้อหา กจิ กรรม และรูปแบบการจดั การเรยี นการสอนของแต่ละ รายวิชามคี วามแตกตา่ งกนั ดงั นัน้ จึงตอ้ งมีการบรหิ ารจดั การใหเ้ หมาะสมกับธรรมชาติ ของวชิ าน้ันๆ 4. ระยะเวลา การวางแผนบรหิ ารเวลาในการจดั การเรียนการสอนตอ้ งเปน็ ระบบ เพือ่ ทำให้สามารถ จัดการเรียนการสอนได้ตรงตามเปา้ หมายที่กำหนดไว้ 5. เทคโนโลยี ระบบเทคโนโลยตี ่างๆ ตอ้ งมคี วามพรอ้ ม เชน่ คอมพวิ เตอร์ สัญญาณอินเตอรเ์ น็ต ขอ้ จำกดั 1. ระบบอนิ เตอรเ์ นต็ : ระบบสัญญานอนิ เตอรเ์ น็ตทไี่ ม่สเถียร ทำให้ส่งผลต่อความสำเรจ็ ในการเรยี นการสอน 2. ความเชี่ยวชาญดา้ นการใช้เทคโนโลยี : การใชเ้ ทคโนโลยใี นการเรยี นการสอนต้องอาศัยระยะเวลาในการเรยี นรู้ และ ความเช่ียวชาญของแต่ละบคุ คล ทำให้มผี ลตอ่ ความสำเร็จในการเรียนการสอน 3. สภาพแวดล้อม สถานทจี่ ัดการเรียนการสอน และทอ่ี ยู่อาศยั : สภาพแวดลอ้ ม สถานท่ีจดั การเรยี นการสอน และที่อยู่อาศัยในทหี่ า่ งไกล ซง่ึ ไม่มี สัญญาณอินเตอร์เน็ต ยอ่ มสง่ ผลต่อการเรยี นการสอน 4. ความพร้อมของอปุ กรณ์ : ประสิทธภิ าพของอุปกรณเ์ ปน็ สว่ นหน่ึงท่ีสง่ ผลตอ่ การเรยี นการสอน 5. งบประมาณ : งบประมาณที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคลย่อมส่งผลต่อการจัดหาเทคโนโลยีที่จะ นำมาใช้ประกอบในการเรยี นการสอนท่แี ตกตา่ งกนั การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

23 รายช่ือคณะกรรมการดำเนนิ งาน 1. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ เยยี่ มลกั ษณ์ อดุ าการ ทปี่ รึกษา 2. อาจารย์ปภสั ฉตั รยาลักษณ์ ประธานกรรมการ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วชิรา เครอื คำอ้าย กรรมการ 4. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ทศั นีย์ บุญแรง กรรมการ 5. อาจารย์จันทรา แซ่ลิ่ว กรรมการ 6. อาจารย์ ดร.รัตนวชั ร์ เพญ็ รัตนหิรญั กรรมการ 7. อาจารยโ์ กวิท จอมคำ กรรมการ 8. อาจารยป์ ยิ ะณัฐ จนั ตะ๊ คาด กรรมการ 9. อาจารย์อัณณ์ชญากร พฒั นประสทิ ธ์ิ กรรมการ 10. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ พดั ชา ปณิ ฑะดิษ กรรมการ 11. อาจารย์ ดร.จินดา น้าเจรญิ กรรมการ 12. อาจารย์ชชั วรรณ ต๊ะผดั กรรมการ 13. อาจารยอ์ งั คณา ลังกาวงศ์ กรรมการ 14. อาจารยค์ ะเณยะ อ่อนนาง กรรมการ 15. อาจารยช์ วลิต ขอดศิริ กรรมการ 16. อาจารย์วีระยุทธ สุภารส กรรมการ 17. นางสาวธณัญภรณ์ คำหล้า กรรมการและเลขานุการ การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่

24 รายช่ือ Tacit Knowledge ทีร่ ว่ มถา่ ยทอดความรู้ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรทยั อินตา อาจารย์ภาควิชาหลกั สูตรและการสอน 2. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ทิพย์เกสร กัมปนาท อาจารย์ภาควิชาเทคนิคการศึกษา 3. อาจารย์ ดร.รัตนวชั ร์ เพ็ญรัตนหริ ัญ อาจารย์ภาควชิ าจิตวทยิ า 4. อาจารยโ์ กวิท จอมคำ อาจารย์ภาควชิ าพลศึกษา 5. อาจารยป์ ระธาน คำจนิ ะ อาจารยภ์ าควิชาคอมพวิ เตอร์ศึกษา 6. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ธรี ธร เลอศลิ ป์ อาจารย์ภาควชิ าการศกึ ษาพิเศษ 7. อาจารย์สงกรานต.์ สมจนั ทร์ อาจารยภ์ าควชิ าดนตรี 8. อาจารย์ ดร. ศิรมิ าศ โกศลั ยพิพัฒน์ อาจารย์ภาควิชาการศึกษาปฐมวยั การจดั การความรู ้ คณะครศุ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่