สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า 24 ครั้ง

����ѵ���ʵ��  ������ʵ�� �ؤ���Ӥѭ �������з�ջ >>

�ҳҨѡ���ظ�ҡѺ��������������¹

��������ѹ�������ҧ��ظ�ҡѺ����

��������ѹ�������ҧ���ҡѺ�� ��ǹ�˭��繡�����Է�Ծ���С�â����ӹҨ�֧������Դʧ�����ѹ��ʹ�� ���˵��Ӥѭ�Ҩҡ��÷����������˭��˹�ʹԹᴹ�ͭ������˭����� ������������ӹҨ������ѧ�ҳҨѡ���ظ�� ���Թ�Ѿ��ҹ�Թᴹ�ͭ�ҧ��ҹ���ѹ�����ͼ�ҹŧ�ҷҧ��ҹ�ҷҧ��ҹ�˹�� ��÷�����¡�Ѿ��ú�Ѻ��ظ�����¤����ʴ������繶֧������ͧ������˭�㹴Թᴹᶺ��� ��о��ҵ�ͧ������ҧ�������͡�Ҿ㹴Թᴹ�����¡���Ǻ�������������������˹���ѹ���ǡѹ ���ػ��ä�Ӥѭ�ͧ���Ҥ���ҳҨѡ���ظ�ҫ���ѡʹѺʹع���������������͵�ҹ�ӹҨ�ͧ�������� ����ִ��ͧ��ظ�Ҩ֧����ǹ�Ӥѭ㹡�����ҧ�������͡�Ҿ�ͧ���Ҵ���

��ҾԨ�óҴ�ҹ���Ի���Ȩ������Ҿ��ҡѺ��������ࢵᴹ�Դ��͡ѹ�µç �����ͭ�������ҧ��ҹ���ѹ�� ��ǹ�ҧ�˹�͡��մԹᴹ�ͧ���˭������ҹ�ҡ������ ���Ҩ֧��ͧ�����˭������ҹ�� ���͵��ͭ���͹����¡�ͧ�Ѿ�ҵ���

��͹�����ҨТ����ҳ�ࢵ������ѧ�Թᴹ�ͧ�� �������ʧ�����Ѻ�ͭ��������ӹҨ�ѹ���¤��� ����Ǥ�� ���ҵ�駵�����˭����������ͧ�ͧ�� ��ǹ�ͭ��������á��駵����˭����������ͧ˧��Ǵ� ����Ҿ��ҡѺ�ͭ���ʧ�����ѹ���¤��� �繼����������ͺ��ͧ�Թᴹ�ͭ����ǹ�˭� ����·������ҿ�����Ǣ���繡�ѵ�����ͭ���С�������Ҿ�ҡ��������� �.�. 1830

 

����Ҿ������������ͧ��ҧ�ͧ�ͭ ��������ͭ˹���������������ͧ��§��ҹ��觢������Ѻ�� ����¡�Ѿ���仵վ���ᵡ���¨ҡ���ͧ��§��ҹ �Ѻ���֡�����á�����ҧ�¡Ѻ���� ��������稾�����ҪҸ��Ҫ �����ҧ�á������;������ͭ�����ͧ���� �.�. 2082 ���� �������ᴹ�¡Ѻ�������ҳ�ࢵ�Դ��͡ѹ �繼ŷ�����¡Ѻ�����Դ�Ծҷ�ѹ��з�ʧ�����ѹ����ҵ����

���ҵ�ͧ������˭��˹����ظ�����ж�Ҿ������ӹҨ�˹�������� ������Ҫ�ͧ���� �� �ͭ������˭��������������ͧ��;��� ����;��ҵա�ا�����ظ����� �.�. 2112 ��е��������;�й���������Ҫ���ҵ��������� �.�.2127 ���ҡ��Դ�˵ء�ó����������� �ա������觤������˭��������� ��л�����Ҫ�ͧ���� �� �ͭ ���˭� ��ҧ���駵��������

�������ظ�� �¡Ѻ�������ʧ�����ѹ�֧ 24 ���� ��ǹ�˭���Ҩ�¡�Ѿ�ҵ��� ��¡�Ѿ仵վ����繡�õͺ�� ��� ��������稾�й���������Ҫ 2 ���� �����������稾�й���³�����Ҫ�ա 1 ���� �͡��鹾����繽��������·�����

��������ѹ�������ҧ�¡Ѻ���Ҩ֧���ѡɳФ�������ѹ��ҧ������ͧ��С�÷�ʧ������ͺ��ʹ����

�͡�ҡ��÷�ʧ���������¡Ѻ�����ѧ�ա�õԴ��ͤ�Ң�¡ѹ �������ͧ���Դ�����ͧ����Ӥѭ����Ѻ�Դ��ͤ�Ң�·ҧ��觷����ѹ���ѹ 㹺ҧ���駡�÷�ʧ���������ҧ���ҡѺ�������˵بҡ��÷���¨Ѻ��������Ңͧ���ҷ��令�Ң�·�����ͧ���Դ ��觢�й�������ͧ����Ӥѭ�ͧ�� ������������� ��Сͺ�Ѻ���ҵ�ͧ��â����ӹҨŧ�Ҩ�����觷����ѹ���ѹ���ͻ���ª��ҧ��ä�Ңͧ�� �������Ѻ��ظ�ҡ��ͧ��ä�ͺ��ͧ�Թᴹ�ͭ���ͻ���ª��ҧ��ä�Ң�ª�½�觷����ѹ���ѹ�蹡ѹ

สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า 24 ครั้ง
��������ѹ�������ҧ��ظ�ҡѺ��ҹ��ҧ
สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า 24 ครั้ง
��������ѹ�������ҧ��ظ�ҡѺ����
สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า 24 ครั้ง
��������ѹ�������ҧ��ظ�ҡѺ�ͭ
สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า 24 ครั้ง
��������ѹ�������ҧ��ظ�ҡѺ���
สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า 24 ครั้ง
��������ѹ�������ҧ��ظ�ҡѺ���´���
สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า 24 ครั้ง
��������ѹ�������ҧ��ظ�ҡѺ������ͧ�����

สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า 24 ครั้ง
สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า 24 ครั้ง
สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า 24 ครั้ง
สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า 24 ครั้ง

ตามเรื่องราวที่ปรากฎมาในพงษาวดาร เมื่อกรุงศรีอยุทธยาเป็นราชธานี ไทยได้ทำสงครามกับพม่า ๒๔ ครั้ง ต่อมาถึงเมื่อกรุงธนบุรีแลกรุงรัตนโกสินทรเปนราชธานี ได้ทำสงครามกับพม่าอิก ๒๐ ครั้ง รวมเปน ๔๔ ครั้งด้วยกัน ในจำนวนสงครามที่ว่ามานี้ ฝ่ายพม่ามาบุกรุกรบไทยบ้าง ฝ่ายไทยไปบุกรุกรบพม่าบ้าง จะว่าด้วยพม่ามาบุกรุกรบไทยก่อน การสงครามที่พม่ายกมาตีเมืองไทยรบกันเปนยุคใหญ่แต่ ๒ คราว คือ เมื่อรบกับพระเจ้าหงษาวดี ๓ องค์ติด ๆ กัน ตั้งแต่แผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ จนตลอดแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เปนระยะเวลา ๕๗ ปีคราว ๑ แลมารบกับพระเจ้าอังวะ ๓ องค์ ตั้งแต่แผ่นดินสมเด็จพระเอกทัศที่กรุงเก่า มาจนตลอดแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ ในกรุงรัตนโกสินทรเปนระยะเวลา ๕๐ ปีอิกคราว ๑ ที่ว่าระยะเวลา ๕๗ ปี แล ๕๐ ปีนั้นหมายความว่าตั้งแต่แรกเริ่มรบกันจนจบเรื่องที่ทำสงครามกันในยุคนั้น รวมทั้งเวลาว่างระหว่างสงคราม บางทีมีคราวละหลาย ๆ ปี หาได้รบกันทุกจำนวนปีที่ว่ามานั้นไม่.

อนึ่งชาวเรามักเข้าใจกันมาแต่ก่อนโดยมาก ว่าเมื่อคราวรบศึกพระเจ้าหงษาวดีนั้น ไทยรบกับมอญ เพราะเมืองหงษาวดีเปนราชธานีของรามัญประเทศ ก็เชื่อว่าพระเจ้าหงษาวดีเปนมอญ แต่ความจริงมิใช่เช่นนั้น พระเจ้าหงษาวดีที่มารบกับไทยเปนพม่าทุกองค์ ต้นวงศ์อยู่เมืองตองอู ครั้งนั้นปราบปรามได้ทั้งประเทศพม่ารามัญรวมไว้ในราชอาณาจักรอันเดียวกัน ตั้งเมืองหงษาวดีเปนราชธานี จึงได้ปรากฎพระนามว่าพระเจ้าหงษาวดีทั้ง ๓ องค์ แต่ส่วนมอญนั้นหาได้ปรากฎว่าเคยเปนสัตรูกับไทยโดยลำพังไม่ ที่มอญมารบพุ่งกับไทยคราวใด ก็โดยถูกพม่าบังคับให้มาในเวลาตกอยู่ในอำนาจพม่า ถ้าได้โอกาศเมื่อใดมอญก็กลับเปนสัตรูพม่า บางทีทนพม่ากดขี่ไม่ไหวก็พากันหนีมาอาไศรยไทย เปนมาแต่โบราณอย่างนี้.

แต่ทว่ามอญเปนต้นเหตุแลปัจจัยในการสงครามที่พม่ามารบกับไทยแทบทุกคราว เพราะภูมิประเทศของไทยแลพม่าอยู่ห่างไกลกัน มีรามัญประเทศของพวกมอญคั่นอยู่กลางข้างตอนใต้ ต่อขึ้นไปข้างตอนเหนือเมืองพม่ายิ่งห่างหนักออกไป ด้วยมีประเทศลานนาไทย คือมณฑลพายัพที่เมื่อยังมีอิศระคั่นอยู่ชั้น ๑ แล้วยังมีแว่นแคว้นของพวกไทยใหญ่ซึ่งเรียกว่า เงี้ยวฤๅเฉียง คั่นออกไปอิกชั้น ๑ พ้นไปแล้วจึงถึงประเทศพม่า เพราะฉนั้นถ้าหากว่ามอญมีกำลังตั้งเปนอิศระอยู่ได้ตราบใด ก็ใช่วิไสยที่ไทยกับพม่าจะเกิดรบพุ่งกัน เพราะฝ่ายใดจะไปรบก็จะต้องเข้ากับมอญฤๅตีเมืองมอญเอาเปนที่มั่นแลเปนทางเดินให้ได้ก่อน จึงจะยกทัพไปถึงแดนอิกฝ่าย ๑ ได้ ส่วนไทยแต่เดิมมาไม่มีกิจที่จะไปช่วยมอญรบกับพม่า และไม่มีเหตุที่จะไปตีเมืองมอญ เพราะเมืองไทยกับเมืองมอญต่างบริบูรณ์ด้วยพืชพรรณธัญญาหารแลอยู่ริมทเล มีทางไปมาค้าขายกับนาๆ ประเทศได้สดวกอย่างเดียวกัน แดนที่ติดต่อกันก็มีเทือกเขาปันเขตร ไทยไม่มีเหตุที่จะเปนอริกับมอญทั้งในการแสวงหาผลประโยชน์แลด้วยเรื่องเหลื่อมล้ำเขตรแดนทั้ง ๒ สถาน แต่ทางพม่ากับมอญไม่เช่นนั้น ประเทศพม่าอยู่ข้างเหนือน้ำ ประเทศรามัญอยู่ข้างปากน้ำ เขตรแดนติดต่อในที่ร่วมลำแม่น้ำเดียวกัน ทั้งแม่น้ำเอราวดีแลแม่น้ำสะโตง แผ่นดินพม่าก็ไม่บริบูรณ์เหมือนแผ่นดินรามัญ จะไปมาค้าขายทางทเลถึงนานาประเทศก็จำต้องอาไศรยผ่านไปในแผ่นดินรามัญ เพราะภูมิประเทศเปนเช่นว่ามานี้ เหตุที่จะก่อเกิดการเปนอริในระหว่างพม่ากับมอญจึงมักมีอยู่เสมอไม่ขาด เพราะฉนั้นเวลาพม่ามอญมีกำลังอยู่ด้วยกัน จึงทำศึกสงครามขับเคี่ยวกันมาทุกกาลสมัย ดังปรากฎในเรื่องราชาธิราชนั้นเปนต้น แต่บางคาบเกิดบุรุษพิเศษขึ้นเปนใหญ่ในพวกพม่า มีอานุภาพปราบปรามประเทศที่อยู่ใกล้เคียงเอาไว้ได้ในอำนาจพม่าทั้งหมด อาณาเขตรพม่าก็มาติดต่อกับแดนเมืองไทย เปนเช่นนี้เมื่อใดการสงครามก็เปนเกิดมาถึงเมืองไทย เพราะพม่าได้โอกาศที่มีกำลังมากมาย แลได้อาไศรยเมืองของมอญเปนที่มั่น แล้วจึงยกมาบุกรุกตีเมืองไทย ฝ่ายไทยจึงต้องเสียเปรียบพม่า เพราะต้องต่อสู้ในเวลาพม่าได้กำลังของประเทศอื่น ๆ มาสมทบทุ่มเทเอาไทยพวกเดียว ด้วยเหตุนี้จึงได้เสียกรุงศรีอยุทธยาถึง ๒ ครั้ง

แต่พม่าไม่สามารถจะปราบปรามเอาไทยไว้ในอำนาจได้เหมือนกับพวกประเทศอื่น พอไทยถูกพม่าทำยับเยินแล้ว ในไม่ช้าคงเกิดมีวีระบุรุษขึ้นเปนใหญ่ในพวกไทย สามารถจะควบคุมคนน้อยรบพุ่งเอาไชยชนะคนมากได้ด้วยปรีชากล้าหาญ กลับตั้งเมืองไทยเปนอิศระภาพได้อิก แต่นั้นพม่าพยายามมาปราบปรามสักเท่าใดใดก็มีแต่พ่ายแพ้กลับไป จนกระทั่งไทยสามารถไปบุกรุกตีเมืองพม่าบ้างเมื่อใด การสงครามก็เปนสิ้นเรื่อง รูปการสงครามที่พม่ายกมาตีเมืองไทยในยุคใหญ่เปนทำนองเดียวกันดังกล่าวมานี้ทั้ง ๒ คราว เพราะฉนั้นถ้านับจำนวนศึกที่พม่ายกมาตีเมืองไทยทั้ง ๒ คราวนั้น จะเห็นได้ว่าพม่ามีไชยชนะไทยแต่ ๔ ครั้ง ที่พม่าแตกพ่ายแพ้ไทยไป ฤๅต้องเลิกทัพกลับไปโดยทำไม่สาเร็จได้ดังประสงค์ รวมถึง ๑๙ ครั้ง นอกจากสงครามยุคใหญ่ ๒ คราวที่กล่าวมา พม่าเปนแต่มาตีหัวเมืองชายแดนโดยตามครัวมอญเข้ามาบ้าง มาปล้นทรัพย์จับชเลยบ้าง มาชิงเมืองเชียงใหม่บ้าง ก็เสียทีแพ้ไปทุกครั้ง.

คราวนี้จะว่าด้วยการสงครามที่ฝ่ายไทยไปบุกรุกรบพม่า ข้าพเจ้าได้อธิบายมาแต่ก่อนแล้ว ว่าถ้าโดยปรกติพม่ากับไทยใช่วิไสยที่จะต้องรบกัน สงครามเกิดขึ้นเพราะพม่าได้เมืองมอญแล้วจึงเลยมาตีเมืองไทย เพราะเหตุนี้การสงครามที่ไทยไปบุกรุกรบพม่า ถึงไปทำพม่าก่อน ก็เปนการตอบแทนที่พม่ามารบไทยทุกคราว เว้นแต่คราวไปตีเมืองพม่าเมื่อในรัชกาลที่ ๓ แลที่ ๔ เท่านั้น ตามเรื่องที่ปรากฎมาในพงษาวดาร การสงครามเกิดขึ้นเพราะไทยไปรบพม่าก่อนมี ๑๖ ครั้ง คือ รบเพื่อจะขับไล่พม่าไปเสียจากแดนไทย ๗ ครั้ง ไปตีเมืองพม่า ๙ ครั้ง

การที่รบขับไล่พม่าไปเสียจากแดนไทยนั้น จะต้องอธิบายความสักน่อยหนึ่งก่อน คือเวลาเมื่อพม่ายกมาตีกรุงศรีอยุทธยาครั้งพระเจ้าหงษาวดีก็ดี ครั้งพระเจ้าอังวะก็ดี อาณาเขตรลานนามีเมืองเชียงใหม่เปนต้น หาได้ขึ้นอยู่กับไทยไม่ เปนเมืองขึ้นของพม่าอยู่ทั้ง ๒ คราว กองทัพพม่าได้อาไศรยเสบียงอาหารแลพาหนะเมืองเชียงใหม่จึงตีกรุงศรีอยุทธยาได้ เวลาไทยจะกลับตั้งตัวเปนอิศระต้องรบพุ่งขับไล่พม่าในเมืองไทยเองไม่เท่าไร ที่ต้องรบพุ่งมากนั้น เพื่อจะขับไล่พม่าไปเสียจากอาณาเขตรลานนา เพราะถ้าพม่ายังเปนใหญ่อยู่ที่เมืองเชียงใหม่ตราบใด ก็ยังอาจจะมาตีเมืองไทยได้สดวกอยู่ตราบนั้น จะปล่อยไว้ไม่ได้ ด้วยเหตุนี้จึงต้องรบพุ่งชิงเมืองเชียงใหม่กับพม่า ครั้นไทยมีไชยชนะขับไล่พม่าไปจากอาณาเขตรลานนาได้หมด ก็ได้ประเทศลานนามาเปนของไทย เพราะฉนั้นการที่รบพม่าทางเมืองเชียงใหม่จึงเปนการแผ่อาณาเขตรไทยให้ใหญ่ยิ่งกว่าเมื่อก่อนเสียกรุง ฯ แก่พม่าด้วยอิกสถาน ๑

แต่การที่ไทยไปตีเมืองพม่าตอบแทนบ้างนั้น ถ้าจะเปรียบกับพม่ามาตีเมืองไทย ไทยเสียเปรียบพม่ามากนัก ด้วยพม่าตีเมืองไทยในเวลาเมื่อพม่ามีกำลังมากกว่าปรกติตั้งหลายเท่าทุกคราว แต่เวลาไทยได้มีโอกาศไปตีเมืองพม่าบ้าง เฉภาะเปนเวลาแรกก่อร่างสร้างตัว เมื่อบ้านเมืองยับเยินป่นปี้เสียก่อนแล้ว ด้วยเหตุนี้ถึงมีจอมพลแลแม่ทัพนายกอง ตลอดจนพลไพร่เข้มแขงในการศึกสักเพียงใด จำนวนพลเมืองก็ย่อมน้อยกว่าเมื่อบ้านเมืองยังบริบูรณ์ กำลังไทยจึงไม่พอที่จะปราบปรามเอาประเทศพม่าไว้ในอำนาจได้ ในครั้งสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้เพียงหัวเมืองมอญมาเปนของไทยเกือบหมด แลกองทัพไทยได้ขึ้นไปถึงล้อมราชธานีของพม่าหลายครั้ง เพราะประจวบกับเวลาราชวงศ์พม่าไม่ปรองดองกัน แต่ในคราวพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ พม่ามีกำลังบริบูรณ์ไม่แตกร้าวระส่ำระสายดังคราวก่อน เปนแต่มาแพ้ไปจากเมืองไทย ไทยจึงไม่สามารถจะตีเอาบ้านเมืองในเขตรแดนพม่ามาเปนของไทยได้ ได้แต่หัวเมืองประเทศราชลื้อเขินสิบสองปันนาข้างเหนือมาเปนของไทยในครั้งนั้น นอกจากใน ๒ ยุคที่กล่าวมา เมื่อไทยรบกับพม่าในแผ่นดินสมเด็จพระนารายน์มหาราช ก็ไปตีเมืองเชียงใหม่ได้มาจากพม่าครั้ง ๑ แลไปตีเมืองพม่าอิกครั้ง ๑ แต่หาสำเร็จไม่ ในชั้นกรุงรัตนโกสินทร พ้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์มา ไทยได้ไปตีเมืองพม่าเมื่อในรัชกาลที่สามครั้ง ๑ ในรัชกาลที่ ๔ อิกครั้ง ๑ ก็หาสำเร็จไม่ ไทยกับพม่าได้รบกันเปนครั้งที่สุด เมื่อปีฉลูจุลศักราช ๑๒๑๕ พ.ศ. ๒๓๙๖ ในคราวไทยไปตีเมืองเชียงตุงเมื่อในรัชกาลที่ ๔ ต่อนั้นก็มิได้รบพุ่งกันอิกจนตราบเท่าทุกวันนี้ ว่าโดยรูปเรื่องการสงครามที่พม่ารบกับไทยมาแต่ก่อนเนื้อความเปนดังแสดงมานี้.

ทีนี้จะพรรณาการสงครามเปนรายเรื่องโดยพิศดารต่อไป จะกำหนดเปน ๓ ภาค คือภาคที่ ๑ การสงครามเมื่อกรุงศรีอยุทธยาเปนราชธานี ภาคที่ ๒ การสงครามเมื่อครั้งกรุงธนบุรีเปนราชธานี ภาคที่ ๓ การสงครามเมื่อครั้งกรุงรัตนโกสินทรเปนราชธานี อธิบายเปนเรื่องราวแต่ต้นไปจนสิ้นเรื่องสงครามที่ไทยได้รบพุ่งกับพม่ามาแต่ก่อน.

สงครามใด เป็นสงครามครั้งแรก ระหว่างอยุธยา กับ พม่า *

สงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ หรือ สงครามคราวเสียสมเด็จพระสุริโยทัย เป็นสงครามครั้งแรกระหว่างราชวงศ์ตองอูแห่งพม่ากับอาณาจักรอยุธยา และเป็นสงครามพม่า–ไทยครั้งแรกซึ่งจะดำเนินมาจนกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 สงครามนี้ขึ้นชื่อว่านำมาซึ่งการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นในภูมิภาค และขึ้นชื่อในประวัติศาสตร์ไทยว่าสมเด็จพระสุริโยทัยสมเด็จพระ ...

ไทยกับพม่าทำสงครามกันกี่ครั้ง

ตามเรื่องราวที่ปรากฎมาในพงษาวดาร เมื่อกรุงศรีอยุทธยาเป็นราชธานี ไทยได้ทำสงครามกับพม่า ๒๔ ครั้ง ต่อมาถึงเมื่อกรุงธนบุรีแลกรุงรัตนโกสินทรเปนราชธานี ได้ทำสงครามกับพม่าอิก ๒๐ ครั้ง รวมเปน ๔๔ ครั้งด้วยกัน ในจำนวนสงครามที่ว่ามานี้ ฝ่ายพม่ามาบุกรุกรบไทยบ้าง ฝ่ายไทยไปบุกรุกรบพม่าบ้าง จะว่าด้วยพม่ามาบุกรุกรบไทยก่อน การสงครามที่ ...

สงครามครั้งสําคัญระหว่างไทยกับพม่าคือสงครามใด

การทาสงครามกับพม่าครั้งสำคัญๆ เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช ตลอดรัชกาลนี้มีการทำสงครามกับพม่าถึง 7 ครั้ง ที่สำคัญและหนักหน่วงที่สุดคือสงครามครั้งที่หนึ่ง ใน พ.ศ. 2328 ซึ่งเรียกกันว่า “ศึกเก้าทัพ” ที่พระเจ้าปดุงของพม่ายกทัพเข้ามา 5 ด้านรวม 9 ทัพ ทำให้

สงครามในกรุงศรีอยุธยาเกิดขึ้นทั้งหมดกี่ครั้ง

การทำศึกสงครามในยุคสมัยกรุงศรีอยุธยาถือว่ามีสงครามน้อยใหญ่อยู่ตลอดเวลา แต่สงครามที่ทำให้บ้านเมืองเกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่มีอยู่สองครั้ง นั่นคือ การเสียกรุงครั้งที่ 1 ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแห่งราชวงศ์สุพรรณภูมิ (ซึ่งถือเป็นยุคที่ถูกนำมาผลิตซ้ำผ่านสื่อต่าง ๆ มากที่สุดยุคหนึ่ง เนื่องจากเป็นการเสียกรุงก่อนที่พระ ...