กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและจํานวนโมลของแก๊ส

โรงเรยี นอทุ ยั
จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

แกส๊

และสมบตั ขิ องแกส๊

เคมี 3

กลุ่มสาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

แกส๊ และสมบตั ขิ องแกส๊

ผลการเรียนรู้

1) อธบิ ายความสมั พนั ธแ์ ละคานวณปริมาตร ความดนั หรืออุณหภูมิของแกส๊ ทภ่ี าวะต่าง ๆ ตาม
กฎของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกย-์ ลสู แซก

2) คานวณปรมิ าตร ความดัน หรืออณุ หภูมขิ องแกส๊ ท่ภี าวะตา่ ง ๆ ตามกฎรวมแกส๊
3) คานวณปรมิ าตร ความดนั อณุ หภมู ิ จานวนโมล หรอื มวลของแก๊ส จากความสมั พนั ธ์ตามกฎ

ของอาโวกาโดร และกฎแกส๊ อดุ มคติ
4) คานวณความดันยอ่ ยหรอื จานวนโมลของแกส๊ ในแกส๊ ผสม โดยใช้กฎความดนั ยอ่ ยของดอลตนั
5) อธิบายการแพรข่ องแกส๊ โดยใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส คานวณและเปรยี บเทยี บอตั ราการแพร่

ของแกส๊ โดยใช้กฎการแพร่ผา่ นของเกรแฮม
6) สบื ค้นข้อมูล นาเสนอตัวอยา่ ง และอธิบายการประยุกตใ์ ช้ความรู้เก่ียวกับสมบตั ิและกฎต่าง ๆ

ของแกส๊ ในการอธิบายปรากฏการณ์ หรือแกป้ ัญหาในชวี ิตประจาวนั และในอตุ สาหกรรม

ตรวจสอบความรู้กอ่ นเรียน แก๊สและสมบัตขิ องแกส๊

ใสเ่ คร่ืองหมาย หน้าข้อความที่ถกู ตอ้ ง และ
ใสเ่ ครื่องหมาย  หน้าขอ้ ความที่ไมถ่ กู ต้อง

1. แก๊สและของเหลว เปล่ยี นแปลงรปู ร่างตามภาชนะทบ่ี รรจุ แต่แตกตา่ ง
กนั ตรงท่ปี รมิ าตรของแกส๊ เปล่ียนแปลงตามภาชนะที่บรรจุได้

2. ความดนั ของอากาศทรี่ ะดับนาทะเลมีคา่ เทา่ กบั 1 บรรยากาศ

3. แกส๊ A 1.0 โมล ผสมกับแก๊ส B 4.0 โมล เศษสว่ นโมลของแก๊ส A เท่ากบั 0.25

4. ที่ STP แกส๊ ตา่ งชนดิ กันมีปรมิ าตรเทา่ กนั เมือ่ มมี วลเทา่ กัน

ตรวจสอบความร้กู อ่ นเรียน แกส๊ และสมบตั ขิ องแกส๊

ใสเ่ ครอื่ งหมาย หนา้ ขอ้ ความที่ถกู ตอ้ ง และ
ใสเ่ คร่อื งหมาย  หน้าขอ้ ความท่ีไมถ่ ูกต้อง

5. แกส๊ ฮเี ลียม 2.00 กรมั มีจานวนโมลเทา่ กับแกส๊ ออกซเิ จน 16.00 กรมั

6. แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ 44.01 กรมั มีปริมาตร 22.4 ลติ รท่ี STP

7. จากสมการ 2H2(g) + O2(g) → 2H2O(g) แสดงวา่ แก๊สไฮโดรเจน 10 มิลลกิ รัม
ทาปฏกิ ิริยาพอดีกบั แกส๊ ออกซเิ จน 5 มลิ ลิกรัม เกิดเป็นไอนา 10 มลิ ลกิ รมั

8. จากสมการ 2H2(g) + O2(g) → 2H2O(g) แสดงวา่ ทคี่ วามดนั และอณุ หภูมคิ งทแี่ ก๊ส
ไฮโดรเจน 10 มลิ ลิลิตร ทาปฏกิ ิริยาพอดกี บั แกส๊ ออกซิเจน 5 มลิ ลลิ ิตร เกิดเปน็ ไอนา 10
มิลลิลิตร

แกส๊ และสมบตั ขิ องแกส๊

สมบัติของแก๊ส

1. โมเลกลุ อยู่หา่ งกนั มาก
2. แรงดงึ ดูดระหวา่ งโมเลกลุ น้อย
3. โมเลกุลเคล่ือนทอ่ี ยตู่ ลอดเวลา
4. รปู รา่ งและปรมิ าตรขนึ อยกู่ บั ภาชนะ

ที่บรรจุ
5. ความหนาแนน่ นอ้ ยกวา่ ของแขง็

และของเหลว

แกส๊ และสมบตั ขิ องแก๊ส

อนภุ าคของแกส๊ ชนผนงั ภาชนะทาให้เกดิ แรง
ซ่ึงแรงทังหมดที่กระทาตอ่ พืนท่ีเรยี กวา่

ความดัน (Pressure)

หนว่ ยในระบบ SI = ปาสคัล (pascal; Pa)
1 atm = 1.01325 x 105 Pa

= 760 mmHg
= 760 torr
= 1 bar
= 14.7 psi

ความร้เู พิ่มเติม แก๊สและสมบัตขิ องแกส๊

บารอมิเตอร์ (Barometer)

อปุ กรณว์ ัดความดนั บรรยากาศ
ควา่ หลอดแก้วท่บี รรจุปรอทไว้เต็ม
ปรอทบางสว่ นไหลออกมา
ปรอทจะหยดุ ไหลเมื่อความดันภายนอก
เท่ากบั ความดันภายใน
วัดความสงู ของปรอทในหลอดแก้วได้
760 mm

ความรู้เพิ่มเติม แกส๊ และสมบตั ขิ องแก๊ส

มานอมเิ ตอร์ (manometer)

อุปกรณ์วัดความดันแกส๊
กรณคี วามดนั แกส๊ = ความดันบรรยากาศ
ของเหลวจะสงู เท่ากนั

Pgas = Patm
กรณีความดันแกส๊ > ความดนั บรรยากาศ
Pแกส๊ = Pบรรยากาศ + ความสูงท่เี พ่มิ ขึน

Pgas = Patm + h
กรณคี วามดันแก๊ส < ความดันบรรยากาศ
Pแก๊ส = Pบรรยากาศ – ความสูงทเ่ี พ่มิ ขนึ

Pgas = Patm - h

หน่วยท่ี 7 หัวข้อย่อย 1 แก๊สและสมบตั ขิ องแกส๊

ความสมั พนั ธ์ระหว่างปริมาตร P
และความดนั ของแกส๊
Let’s go
V

แก๊สและสมบัติของแกส๊

กิจกรรม 7.1 การทดลองศึกษาความสมั พันธ์ระหว่าง

ความดันและปริมาตรของอากาศ P&V

จดุ ประสงคก์ ารทดลอง วัสดุและอุปกรณ์

• ทดลองและอธิบาย • กระบอกฉดี ยาพลาสติก
ความสมั พันธร์ ะหว่างความดัน ขนาด 20 mL
และปรมิ าตรของอากาศ

วธิ ีทดลอง กิจกรรม 7.1 การทดลองศกึ ษาความสมั พนั ธ์ แก๊สและสมบัติของแกส๊
ระหว่างความดันและปรมิ าตรของอากาศ
Powered by ZENSE Entertainment Co., Ltd.

แกส๊ และสมบัตขิ องแก๊ส

กจิ กรรม 7.1 การทดลองศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหว่าง คาถามทา้ ยการทดลอง
ความดนั และปรมิ าตรของอากาศ

1 อุณหภูมแิ ละจานวนโมลของอากาศภายในกระบอกฉดี ยา ก่อนและหลังการ
ทดลองมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อยา่ งไร

2 ความดนั ของอากาศในกระบอกฉดี ยาเมอ่ื เริ่มทาการทดลองมีคา่ เทา่ กบั
ความดนั บรรยากาศภายนอกหรือไม่

3 เม่ือกดก้านกระบอกฉดี ยาจนปริมาตรของอากาศเปน็ 5.0 mL ความดันของอากาศ
ภายในกระบอกฉีดยามากกว่าหรอื น้อยกว่าความดนั บรรยากาศ ทราบได้อย่างไร

4 เม่อื ดงึ ก้านกระบอกฉีดยาจนปรมิ าตรของอากาศเป็น 20.0 mL ความดันของอากาศ
ภายในกระบอกฉีดยามากกว่าหรือนอ้ ยกว่าความดนั บรรยากาศ ทราบไดอ้ ยา่ งไร

แกส๊ และสมบัตขิ องแก๊ส

จากการทดลองพบว่า

ปริมาตรของแกส๊ (V) มคี วามสัมพันธก์ บั ความดนั ของแกส๊ (P)

• อนุภาคแก๊สมีขนาดเลก็ และอยู่หา่ งกันมาก
• การกดกระบอกฉีดยา ทาใหอ้ นภุ าคแก๊สใกลก้ นั
• ปรมิ าตรของแกส๊ น้อยลง (ปรมิ าตรแก๊สขนึ อยกู่ บั

ปรมิ าตรภาชนะ)
• อนภุ าคแกส๊ จึงชนกบั ผนังภาชนะมากขึน
• ทาให้ความดันของแก๊สเพ่ิมขึน
• ในทางตรงกันข้าม การเพมิ่ ปรมิ าตรของภาชนะซึ่งทาให้

ความดันของแก๊สลดลง

แก๊สและสมบตั ขิ องแกส๊

จากการทดลองพบว่า

ปริมาตรของแกส๊ (V) มคี วามสัมพนั ธก์ บั ความดันของแก๊ส (P)

รอเบิรต์ บอยล์ กฎของบอยล์

• ไดท้ าการทดลองความสัมพันธ์ V ∝ 1
ระหวา่ งปรมิ าตรกับความดนั ของแกส๊ P

• โดยทม่ี ี อณุ หภมู แิ ละจานวนโมลคงที่ ท่ี 2 สถาวะ

ปรมิ าตรแปรผกผนั กับความดัน P1V1 = P2V2

P = ความดันของแกส๊ ใด ๆ
V = ปรมิ าตรของแก๊สใด ๆ

โจทย์ข้อท่ี 1 แก๊สและสมบัติของแกส๊

ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความดนั และปรมิ าตรของอากาศ

แกส๊ ชนิดหนง่ึ บรรจอุ ยู่ในภาชนะขนาด 100 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร ทคี่ วามดัน 1 บรรยากาศ ณ
อุณหภมู ิ 25 องศาเซลเซยี ส ถ้าแก๊สนบี รรจุในภาชนะขนาด 200 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร อณุ หภูมิ
เดิม แก๊สนีจะมีความดนั เท่าใด

วธิ ที า P1V1 = P2V2
จาก (1.0 atm)(100.0 cm3) = P2 (200 cm3)
แทนคา่ จะได้ (1.0 atm)(100.0 cm3)
P2 (200 cm3)
=

= 0.50 atm

ดังนนั แกส๊ นีมคี วามดนั 0.50 บรรยากาศ

โจทยข์ อ้ ท่ี 2 แกส๊ และสมบตั ขิ องแกส๊

ความสัมพันธร์ ะหวา่ งความดนั และปรมิ าตรของอากาศ

แก๊สชนดิ หน่งึ บรรจุอย่ใู นกระบอกสูบขนาด 2.0 ลิตร ท่ีความดัน 1.5 บรรยากาศ เมอ่ื อัด
กระบอกสบู ใหม้ คี วามดันเพิ่มขึนเปน็ 1520 มิลลิเมตรปรอท ท่ีอณุ หภูมิคงท่ี ปริมาตรของแกส๊
จะเป็นเท่าใด

วธิ ีทา P1V1 = P2V2 mmHg x 1 matmmHg) V2
จาก (1.5 atm)(2.0 L) = (1520 760

แทนคา่ จะได้

V2 = (1.5 atm)(2.0 L)
(2 atm)
= 1.5 L

ดังนัน แกส๊ มปี รมิ าตร 1.5 ลิตร

ตรวจสอบความเข้าใจ 7.1.1. แก๊สและสมบตั ิของแกส๊

ความสมั พันธ์ระหวา่ งความดนั และปรมิ าตรของอากาศ

1. ในการทดลองวดั ปรมิ าตรของอากาศในหลอดรปู ตัวเจ (J) เมื่อเรม่ิ ตน้ อากาศในหลอดรปู
ตัวเจดา้ นปลายปิดมีปรมิ าตร 30 มลิ ลลิ ติ ร และมีความดัน 1.0 บรรยากาศ เมอ่ื เตมิ ปรอทลง
ในหลอดเพิม่ เตมิ พบว่า ความดนั ภายในหลอดเพม่ิ เปน็ 1.5 บรรยากาศ จงคานวณปริมาตร
ของอากาศในหลอดรปู ตวั เจหลังเติมปรอท ถา้ กาหนดให้อณุ หภูมิท่ีทาการทดลองคงที่

20 มิลลลิ ิตร

แกส๊ และสมบตั ขิ องแกส๊

หน่วยท่ี 7 หัวข้อยอ่ ย 2

T ความสมั พนั ธร์ ะหว่างปรมิ าตร
และอณุ หภูมิของแก๊ส

Let’s go V

กจิ กรรม 7.2 แก๊สและสมบัตขิ องแก๊ส

V&T การทดลองศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่าง
ปริมาตรและอณุ หภมู ิของอากาศ

จดุ ประสงค์การทดลอง วสั ดแุ ละอปุ กรณ์

• ทดลองและอธบิ าย • นา • บกี เกอร์ (500 mL)
ความสมั พนั ธ์ระหว่างปริมาตร • นายาลา้ งจาน
และอุณหภูมิของอากาศ • นารอ้ น (ประมาณ 60˚C)
• นาแข็ง
• ขวดพลาสติกใส (500 mL)

วธิ ที ดลอง กิจกรรม 7.2 การทดลองศกึ ษาความสมั พนั ธ์ แก๊สและสมบัตขิ องแกส๊
ระหว่างปรมิ าตรและอุณหภูมขิ องอากาศ
https://www.youtube.com/watch?v=k0dV84nPDns&feature=emb_title

แกส๊ และสมบตั ิของแก๊ส

กจิ กรรม 7.2 การทดลองศกึ ษาความสมั พันธร์ ะหว่าง คาถามท้ายการทดลอง
ปริมาตรและอณุ หภมู ขิ องอากาศ

1 จานวนโมลและความดันของ 2 เมอ่ื วางขวดพลาสติกลงใน
บกี เกอร์ที่มนี าร้อนและนาผสม
อากาศในขวดพลาสตกิ กอ่ นการทา นาแขง็ ปรมิ าตรและอุณหภูมขิ อง
การทดลองและหลงั การทดลองเสรจ็ อากาศในขวดพลาสติก
สนิ มีการเปล่ียนแปลงหรือไม่ อย่างไร เปลย่ี นแปลงหรือไม่ อยา่ งไร

แกส๊ และสมบัตขิ องแกส๊

จากการทดลองพบวา่

ปริมาตรของแก๊ส (V) และอุณหภูมิ (T)
สัมพันธ์กัน

• เมื่ออุณหภูมิเพมิ่ ขึน อนภุ าคแก๊สเคลือ่ นทเ่ี ร็วขึน
• ทาให้พลังงานจลน์เฉลย่ี เพ่มิ ขนึ
• อนภุ าคแกส๊ ชนกับผนังภาชนะจึงมากขึน ทาให้

ความดนั ของแกส๊ เพ่มิ ขึน (แก๊สขยายตัว)
• หากผนงั ภาชนะมีความยดื หย่นุ ความดันท่ี

เกดิ ขนึ จะทาใหป้ รมิ าตรของภาชนะเพม่ิ ขนึ

T --> P --> V

แก๊สและสมบตั ิของแกส๊

จากการทดลองพบว่า

ปริมาตรของแกส๊ (V) และอณุ หภมู ิ (T) มคี วามสมั พนั ธก์ ัน

กฎของชาร์ล เม่ือมีแก๊ส 2 สภาวะ

• ความสมั พนั ธร์ ะหว่างปรมิ าตรและ V1 = V2
อณุ หภมู ขิ องแก๊ส T1 T2

• โดยทีม่ ี ความดันและจานวนโมลคงท่ี V1 และ V2 = ปรมิ าตรของแก๊สสภาวะที่ 1 และ 2
• ปริมาตรแปรผันตรงกับอณุ หภมู ิ T1 และ T2 = อุณหภูมขิ องแกส๊ สภาวะที่ 1 และ 2

V∝T

โจทยข์ ้อท่ี 1 แกส๊ และสมบตั ขิ องแกส๊

ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปรมิ าตรและอุณหภมู ิของอากาศ

แกส๊ ไนโตรเจน (N2) ในกระบอกสูบปิด ปริมาตร 250 มิลลิลติ ร ทีอ่ ุณหภูมิ 373 เคลวิน เม่ือทา
ให้ อุณหภมู ิลดลงเป็น 273 เคลวนิ โดยความดันของแก๊สไมเ่ ปล่ยี นแปลง ปรมิ าตรสุดทา้ ยของ
แกส๊ เปน็ เท่าใด

วธิ ที า V1 V2
2T510 mL T2V2
จาก 373 K = 2(72350KmL)(273 K)
แทนค่าจะได้ V2 =
= (373 K)

= 183 mL

ดังนัน แก๊สมีปริมาตร 183 มิลลิลติ ร

โจทย์ขอ้ ท่ี 2 แก๊สและสมบตั ิของแก๊ส

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าตรและอณุ หภูมิของอากาศ

แก๊สชนิดหนงึ่ มีความดัน 1 บรรยากาศ อณุ หภูมิ 2 องศาเซลเซยี ส บรรจไุ วใ้ นภาชนะทย่ี ืดหยนุ่
ได้ เม่อื นาภาชนะบรรจแุ ก๊สนีไปจุ่มลงในของเหลวท่ีกาลงั เดอื ด ที่ความดนั คงที่ ปรมิ าตรของ
แกส๊ จะ ขยายตัวจาก 70.0 มิลลลิ ติ ร เป็น 90.0 มลิ ลลิ ติ ร ท่อี ณุ หภูมิก่ีองศาเซลเซียส

วธิ ที า V1 V2
7T01.0 mL T902.0 mL
จาก 2+273 K = (90T2mL)(275 K)
แทนค่าจะได้ T2 =
= (70.0 mL)

= 354 K = 354-273 = 81๐C

ดังนนั แก๊สมีอุณหภมู ิ 81 องศาเซลเซยี ส

ตรวจสอบความเข้าใจ แก๊สและสมบตั ขิ องแกส๊

ความสัมพันธ์ระหว่างความดนั และปรมิ าตรของอากาศ

1. ถา้ ต้องการให้แกส๊ ไฮโดรเจน (H2) ท่ีอณุ หภมู ิ 27 องศาเซลเซยี ส มปี รมิ าตรลดลง
ครง่ึ หนง่ึ ที่ความดันคงที่ ตอ้ งทาให้อณุ หภูมขิ องแก๊สเป็นก่อี งศาเซลเซยี ส

2. ถา้ บรรจุแก๊สฮีเลยี มในลูกโป่ง 10.0 ลติ ร ทีอ่ ณุ หภูมิ 27 องศาเซลเซียส แลว้ นาลูกโป่งนี
ไปไวใ้ นท่ีที่มีอุณหภมู ิ 57 องศาเซลเซยี ส ลกู โปง่ จะมีขนาดเท่าใด ถา้ กาหนดใหค้ วาม
ดัน ภายในลูกโป่งคงที่

1. ตอบ -123 องศาเซลเซียส
2. ตอบ 11.0 ลิตร

แกส๊ และสมบัติของแก๊ส

หนว่ ยท่ี 7 หัวขอ้ ย่อย 3

ความสมั พันธ์ระหวา่ งความดนั Let’s go
และอุณหภมู ขิ องแกส๊

TP

แกส๊ และสมบตั ขิ องแกส๊

ความสัมพันธ์ระหว่างความดันและอณุ หภมู ขิ องแก๊ส

จะเกิดอะไรขึน หากนากระป๋องสเปรย์ซง่ึ มี
แกส๊ บรรจุอยู่ วางใกล้เปลวไฟ

• กระปอ๋ งสเปรย์มอี ณุ หภมู ิสูงขึน
• ปริมาตรของแกส๊ มากขึนดว้ ย (ตามกฎของชารล์ )
• แต่กระป๋องสเปรยม์ ีปริมาตรคงที่
• ไมส่ ามารถขยายตวั ได้
• ความดันภายจงึ เพม่ิ ขนึ จนทาให้เกดิ การระเบิดได้

แก๊สและสมบัติของแก๊ส

ความดัน (P) และอณุ หภูมิ (T)

• เมื่ออุณหภมู ิเพิม่ ขึน อนุภาคแก๊สเคลือ่ นทเ่ี รว็ ขนึ
• อนภุ าคแกส๊ ชนกับผนงั ภาชนะจึงมากขนึ ทาให้

ความดันของแกส๊ เพิ่มขนึ

แก๊สและสมบัตขิ องแกส๊

ความสมั พันธ์ระหวา่ งความดนั และอุณหภูมขิ องแก๊ส

กฎของเกย์ - ลูสแซก

• ความสมั พันธร์ ะหว่างความดนั และ เมอ่ื มีแก๊ส 2 สภาวะ
อุณหภูมขิ องแก๊ส
P1 = P2
• โดยท่มี ี ปริมาตรและจานวนโมลคงท่ี T1 T2
• ความดนั แปรผนั ตรงกบั อุณหภมู ิ
P1 และ P2 = ความดนั ของแกส๊ สภาวะท่ี 1 และ 2
P∝T T1 และ T2 = อณุ หภูมิของแก๊สสภาวะที่ 1 และ 2

หนว่ ยที่ 7 หัวข้อย่อย 3 แกส๊ และสมบัตขิ องแกส๊

ความสัมพนั ธ์ระหว่างปรมิ าตร P
ความดัน และอุณหภมู ิของแก๊ส
V
Let’s go T

แก๊สและสมบัตขิ องแกส๊

ความสัมพันธ์ระหวา่ งปรมิ าตร ความดนั และอณุ หภมู ิของแกส๊

กฎรวมแก๊ส เป็นการรวม กฎรวมแก๊ส

กฎของบอยล์ V ∝ 1 PV = คา่ คงที่
กฎของชาร์ล P T

V∝T

กฎของเกย์ – ลสู แซก P ∝ T 2 สภาวะ

P1 และ P2 = ความดนั ของแก๊สสภาวะที่ 1 และ 2 P1V1 = P2V2
V1 และ V2 = ปรมิ าตรของแกส๊ สภาวะท่ี 1 และ 2 T1 T2
T1 และ T2 = อุณหภมู ขิ องแกส๊ สภาวะท่ี 1 และ 2

ตวั อยา่ ง 7 แก๊สและสมบัตขิ องแกส๊

ความสมั พันธร์ ะหว่างปริมาตร ความดนั และอุณหภูมิของแกส๊

ลกู โป่งบรรจแุ ก๊สฮีเลียมปรมิ าตร 30 ลิตร ทค่ี วามดนั 1.5 บรรยากาศ ณ อุณหภมู ิ 40 องศา
เซลเซยี ส ปริมาตรของลูกโป่งนจี ะเปน็ เทา่ ใดท่ี STP

STP : อุณหภูมิและความดนั มาตรฐาน : 273 เคลวิน และความดัน 1 บรรยากาศ

วิธที า P1V1 = P2V2
จาก (1.5 atmT1)(30 L) = (1T.02 atm)(V2)
(40 + 273) K
แทนค่าจะได้ (273) K

V2 = (1.5 atm)(30 L)(273 K)
(313 K)(1.0 atm)
= 39 L

ดังนนั ลกู โป่งจะมีปริมาตร 39 ลติ รท่ี STP

ตวั อยา่ ง 8 แก๊สและสมบตั ขิ องแก๊ส

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งปรมิ าตร ความดัน และอุณหภมู ขิ องแกส๊

แกส๊ ชนิดหน่งึ มปี ริมาตร 1000 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร ทค่ี วามดัน 1.00 บรรยากาศ อณุ หภูมิ 0
องศาเซลเซียส ถา้ แก๊สชนดิ นมี ปี ริมาตรและความดันเปลยี่ นเปน็ 1150 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร
และ 900 มิลลิเมตรปรอท ตามลาดบั จงหาอณุ หภมู ทิ เ่ี ปลี่ยนแปลงไปในหน่วยองศาเซลเซยี ส

วธิ ที า P1V1 Kma(t9mm00Hgm)==mHP(9g2T0)V2(0121m5m0cHmTg23))((1217530Kc)m3)
atm xT17601 (760 mmHg)(1000cm3)
จาก (1.00 (0 + 273)
แทนคา่ จะได้ T2
=

= 372 K = 372 -273 = 99

ดงั นัน อณุ หภูมขิ องแก๊สเปลีย่ นแปลงไป 99 องศาเซลเซียส

ตรวจสอบความเข้าใจ แกส๊ และสมบัตขิ องแก๊ส

ความสมั พันธ์ระหวา่ งปรมิ าตร ความดนั และอณุ หภมู ขิ องแกส๊

1. เมอ่ื ปลอ่ ยลูกโปง่ ทม่ี ปี รมิ าตร 6.0 ลิตร ความดัน 1 บรรยากาศ และอณุ หภูมิ 27 องศา
เซลเซยี สขนึ ไปส่บู รรยากาศชนั บนซ่ึงมคี วามดนั 0.50 บรรยากาศ และอณุ หภมู ิ -23 องศา
เซลเซียส ลกู โปง่ จะมีปริมาตรเทา่ ใด

ลูกโป่งจะมปี รมิ าตร 10 ลติ ร

บทท่ี 7 หัวข้อที่ 7.1.5 แกส๊ และสมบัตขิ องแกส๊

ความสัมพนั ธ์ระหว่างปรมิ าตร n
และจานวนโมลของแก๊ส V

Let’s go

กจิ กรรม 7.4 แกส๊ และสมบตั ขิ องแกส๊

V&n การทดลองศกึ ษาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง
ปรมิ าตรและจานวนโมลของแกส๊ ของแก๊ส

จดุ ประสงคก์ ารทดลอง วสั ดุและอปุ กรณแ์ ละสารเคมี
Let’s go
• ทดลองและอธบิ าย
ความสมั พันธ์ระหว่าง
ปรมิ าตรและจานวนโมล
ของแก๊สของแกส๊

แก๊สและสมบัติของแก๊ส

กิจกรรม 7.4 การทดลองศึกษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง
ปริมาตรและจานวนโมลของแก๊ส
V&n

วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ละสารเคมี

• โซเดียมไฮโดรเจนคารบ์ อเนต (NaHCO3)
• สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) 0.50 M
• ลูกโปง่ ขนาด 10 นิว
• ขวดรูปกรวยขนาด 125 mL
• กระดาษชั่งสาร
• กรวยกรอง
• ช้อนตักสาร
• บกี เกอร์ขนาด 250 mL
• กระบอกตวง ขนาด 50 mL
• หลอดหยด
• ปากกาเขียนป้าย

วธิ ที ดลอง กิจกรรม 7.4 การทดลองศกึ ษาความสมั พนั ธ์ แกส๊ และสมบัติของแกส๊
ระหว่างปรมิ าตรและจานวนโมลของแก๊ส
https://www.youtube.com/watch?v=k0dV84nPDns&feature=emb_title

แกส๊ และสมบัตขิ องแกส๊

กิจกรรม 7.4 การทดลองศกึ ษาความสัมพันธร์ ะหว่าง คาถามทา้ ยการทดลอง
ปริมาตรและจานวนโมลของแกส๊ ของแกส๊

1 สมการเคมีของปฏกิ ิรยิ าระหว่าง NaHCO3 และ HCl เปน็ อย่างไร

2 จานวนโมลของแก๊สทีเ่ กิดขึนในลูกโปง่ แตล่ ะหมายเลขเท่ากนั
หรือไม่ ทราบได้อยา่ งไร

3 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งปรมิ าตรและจานวนโมลของแกส๊ เปน็ อยา่ งไร

แกส๊ และสมบัติของแกส๊

จากการทดลองพบว่า

จานวนโมลและปริมาตรของแกส๊ มคี วามสัมพนั ธก์ นั

กฎของอาโวกาโดร เมอื่ มแี ก๊ส 2 สภาวะ

• ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าตรและ V1 V2
n1 n2
จานวนโมลของแก๊ส =

• ความดนั และอุณหภูมิคงที่

• ปรมิ าตรแปรผันตรงกบั จานวนโมล V1 และ V2 = ปริมาตรของแกส๊ สภาวะท่ี 1 และ 2
V n1 และ n2 = จานวนโมลของแก๊สสภาวะที่ 1 และ 2
V∝n n = ค่าคงที่

ตวั อยา่ งที่ 9 แกส๊ และสมบัติของแกส๊

ความสัมพนั ธ์ระหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศ

เมือ่ บรรจแุ ก๊สฮีเลียม 2.0 โมล ในลกู โปง่ จะทาใหล้ ูกโปง่ มปี รมิ าตร 50 ลิตร ถา้ บรรจแุ ก๊สฮีเลยี ม
ลงไปในลูกโปง่ เรอ่ื ย ๆ จนมปี ริมาตร 150 ลิตร โดยไมม่ กี ารเปลี่ยนแปลงอุณหภมู แิ ละความดัน
ลูกโป่งนีจะมีแกส๊ ฮีเลยี มบรรจุอย่กู ่ีโมล

วธิ ที า V1 V2
n510 L 1n520 L
จาก 2.0 mol = (n1520 L)(2.0 mol)
แทนค่าจะได้ n2 =
= (50 L)

= 6.0 mol

ดังนัน ลกู โป่งนีจะมแี กส๊ ฮีเลียมบรรจอุ ยู่ 6.0 โมล

ตัวอย่างที่ 10 แกส๊ และสมบัติของแก๊ส

ความสัมพันธร์ ะหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศ

ห่วงยางปรมิ าตร 5.0 ลิตร มีแกส๊ ไนโตรเจน (N2) บรรจอุ ยู่ 0.35 โมล เม่อื เตมิ แกส๊ ไนโตรเจนจน
มจี านวน 0.70 โมล ปรมิ าตรของแกส๊ ในห่วงยางเปน็ เทา่ ใด

วธิ ที า V1 V2
n15.0 L n2 V2
จาก 0.35 mol = 0(.57.00 mL)o(0l.70 mol)
แทนค่าจะได้ =
(0.35 mol)
V2 =

= 10 L

ดงั นัน ห่วงยางมีปริมาตร 10 ลติ ร

ตรวจสอบความเขา้ ใจ 7.1.5 แกส๊ และสมบตั ิของแก๊ส

ความสัมพันธ์ระหวา่ งความดนั และปรมิ าตรของอากาศ

1. เม่อื บรรจุแก๊สอาร์กอนจานวน 2.0 โมลในกระบอกสูบที่มีก้านกระบอกสูบเคลื่อนท่ีได้
จะมปี ริมาตร 3.0 ลิตร ถ้าเติมแก๊สอารก์ อนเพ่ิมไปอกี 1.0 โมล ปริมาตรของแกส๊ ใน
กระบอกสบู จะเปน็ กีล่ ิตร กาหนดใหอ้ ุณหภูมิและความดนั ของแก๊สไมเ่ ปล่ยี นแปลง

ปรมิ าตรของแกส๊ ในกระบอกสบู เปน็ 4.5 ลติ ร

แก๊สและสมบัตขิ องแก๊ส PV

7.2 = nRT

กฎแก๊สอุดมคติ
และความดนั ย่อย

แก๊สและสมบตั ิของแกส๊

แก๊สอุดมคติ

เป็นแกส๊ ทมี่ ีสมบตั เิ ป็นไปตามกฎรวมแก๊สและกฎอาโวกาโดร

กฎรวมแก๊ส PV = คา่ คงที่ V = ค่าคงท่ี x T
T P

กฎอาโวกาโด V = คา่ คงท่ี V = ค่าคงท่ี x n
n

PV = nRT

R คือคา่ คงท่ขี องแกส๊ แก๊สและสมบัตขิ องแกส๊

คา่ R มดี ังนี การใชค้ า่ R
ใหพ้ จิ ารณา
 0.0821 L.atm.mol-1.K-1
 8.314 m3.Pa.mol-1.K-1 หน่วย
 8.314 J.mol-1.K-1
Ex โจทยใ์ หค้ วามดันหน่วย Pa
คาถามชว่ ย คิด ท่สี ภาวะ STP ค่าคงที่ของแกส๊ มคี ่าเทา่ ใด ปรมิ าตรหนว่ ย ลกู บาศก์
เมตร (m3) ให้ใชค้ ่า 8.314
m3.Pa.mol-1.K-1

ตัวอยา่ งที่ 11 แก๊สและสมบัติของแก๊ส

กฎแกส๊ อดุ มคติ

บรรจแุ กส๊ ออกซเิ จน 0.885 กิโลกรมั ไวใ้ นถังเหลก็ กลา้ ซง่ึ มปี รมิ าตร 438 ลิตร
จงคานวณความดันของแก๊สออกซิเจนในถังนีท่ีอณุ หภมู ิ 21 องศาเซลเซียส

วิธที า

จาก PV = nRT
nRT
แทนค่าจะได้ P = V kg x 1000 g x 312.m00ogl] [0.0821 mL.aotlm.K] (21 + 273 K)
P = [0.885 1 kg (438 L)

= 1.52 atm

ดงั นนั แก๊สออกซเิ จนมีความดนั 1.52 บรรยากาศ ท่ีอุณหภมู ิ 21 องศาเซลเซียส

ตวั อย่างท่ี 12 แก๊สและสมบัติของแกส๊

กฎแก๊สอุดมคติ

ถงั แกส๊ มีเทนปรมิ าตร 3.20 x 105 ลิตร บรรจแุ ก๊สท่ีความดนั 150 บรรยากาศ อุณหภูมิ 45
องศาเซลเซียส ในถังแกส๊ นมี ีแก๊สมีเทนอยกู่ ี่กิโลกรมั

วธิ ีทา

จาก PV = nRT
PV
แทนคา่ จะได้ n = RT (150 atm)(3.20x105 L)
n = (0.0821 L.atm/mol.K) (45 + 273 K)

n = 1.84 x 106 mol 16.05 g 1 kg
1 mol 1000
หามวล CH4 ดงั นี m = 1.84 x 106 mol x x g

m = 2.95 x 104 kg

ดังนนั ในถังแก๊สนีมีแกส๊ มีเทนอยู่ 2.95 x 104 กโิ ลกรัม

ตัวอยา่ งที่ 13 แกส๊ และสมบตั ขิ องแกส๊

กฎแกส๊ อุดมคติ

แก๊สออกซเิ จน 1.0 โมล ท่ีอุณหภมู ิ 62 องศาเซลเซียส ความดัน 3.45 บรรยากาศ มคี วาม
หนาแนน่ เทา่ ใด

วธิ ที า

จาก PV = nRT
nRT
แทนคา่ จะได้ V = (P1.0 mol)(0.0821 L.atm/mol.K)(62 + 273 K)
8.0 L 3.45 atm
V = m 32.00 g
V = V 8.0 L

ความหนาแนน่ ของ O2 d = =

d = 4.0 g/L

ดังนัน แก๊สออกซิเจนมคี วามหนาแน่น 4.0 กรัมตอ่ ลติ ร