พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564

ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ

National Agricultural Big Data Center

ข้อมูลบริการ

แอปพลิเคชัน

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564

  • ให้บริการความรู้ด้านการเพาะปลูกและการทำการเกษตรที่ถูกต้องแก่เกษตรกรและผู้สนใจทั่วไป
  • นำเสนอองค์ความรู้ด้านการเกษตร ในรูปแบบ Augmented Reality (AR) Virtual Reality (VR)
  • มีระบบสำหรับสอบถามข้อมูลความรู้และการให้คำแนะนำการทำเกษตรจากผู้เชี่ยวชาญ

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564

  • ให้บริการข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลทางการเกษตร เป็นเครื่องมือสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับเกษตรกรในการทำกิจกรรมทางการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรสามารถวิเคราะห์และตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากแบบจำลองข้อมูล (Model) 4 ชนิดสินค้า ได้แก่ ข้าว ยางพารา โคขุน และ ปลานิล โดยวิเคราะห์ในรูปแบบ AI ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางภูมิอากาศและภูมิศาสตร์ของแปลง เพื่อดูความเหมาะสมในการเพาะปลูกและการเพาะเลี้ยง

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564

  • วางแผนการทำการเกษตรได้ง่าย
  • ทำให้ทราบราคาสินค้าเกษตรแต่ละชนิด
  • ทราบราคาเป็นรายวัน ระดับภาค จังหวัด และอำเภอ

ข่าวสำคัญ

หน่วยงานร่วมลงนาม MOU

-----

หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

-----

หน่วยงานภายนอกกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

-----

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564

แบบสำรวจความพึงพอใจ

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564

ข้อร้องเรียน (Complaint)

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564

ออนไลน์ ขณะนี้ : 8   วันนี้ : 253   เมื่อวาน : 287   ทั้งหมด : 169547  

© สงวนสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ

บราวเซอร์ที่รองรับ

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564
Chrome (แนะนำ) |
พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564
Firefox |
พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564
Exploer 11+ |
พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564
Safari

จำนวนเกษตรกร มีเท่าไร ? พร้อมวิเคราะห์เชิงลึกเกษตรกรไทยทำอะไรกันบ้าง ! 

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม

ในปีที่ผ่าน GPD ภาคเกษตรประเทศไทยเติบโตเฉลี่ย 0.5% จากปี 2561อ้างอิงสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

 ส่วนปี 2563 สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติคาดการณ์ในเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ว่าในปีนี้ GDP ภาคการเกษตรอาจติดลบ 5%จากภัยแล้งที่เกิดขึ้น

ในปัจจุบันข้อมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์อัปเดต 21 เมษายน 2563 พบว่า ประเทศไทย มีเกษตรกรทั้งสิ้น 8,094,954 ครัวเรือน 9,368,245 ราย  มีเกษตรกรมากถึง4,900,875 ราย เป็นเกษตรกรที่หาเลี้ยงชีพด้วยการปลูกพืช เป็นหลัก

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564

แต่อย่างไรก็ดี จากข้อมูลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ยังพบว่าในวันนี้เกษตรกรในประเทศไทย มีการทำเกษตรแบบผสมผสานปลูกพืช-เลี้ยงสัตว์ หรือไร่นาสวนผสมมากกว่า 37% ของเกษตรกรทั้งหมด เพื่อลดความเสี่ยงจากการทำเกษตรเป็นอย่างเดียว

จำนวนเกษตรกร

8,094,954 ครัวเรือน

9,368,245 ราย

ปลูกพืช

4,809,026 ครัวเรือน (59.41%)

4,900,875 ราย (52.31%)

เลี้ยงสัตว์

835,485 ครัวเรือน (10.32%)

853,381 ราย (9.11%)

เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

63,033 ครัวเรือน (0.78%)

66,636 ราย (0.71%)

ปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์

1,897,439 ครัวเรือน (23.44%)

2,901,546 ราย (30.97%)

ปลูกพืช และเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

279,400 ครัวเรือน (3.45%)

339,160 ราย (3.62%)

เลี้ยงสัตว์ และเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

16,825 ครัวเรือน (0.21%)

22,379 ราย (0.24%)

ไร่นาสวนผสม

193,746 ครัวเรือน (2.39%)

284,268 ราย (3.03%)

ที่มา :กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 21 เมษายน 2563

ที่ผ่านมาเกษตรกรไทยมีจำนวนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่าในปี 2557 มีเกษตรกรไทย 6,047,824 ครัวเรือน เพิ่มเป็น 7,271,759 ครัวเรือน ในปี 2561

เกษตรกรในประเทศไทย

 2557  6,047,824 ครัวเรือน

2558 6,516,347 ครัวเรือน   

2559  6,813,995 ครัวเรือน      

2560 7,010,191 ครัวเรือน                 

2561 7,271,759 ครัวเรือน

ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ

ในปี 2561 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยังเป็นภาคที่มีเกษตรกรไทยมาที่สุดถึง 46.6% เนื่องจากเป็นภาคที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่ที่เหมาะกับการเกษตร โดยอุบลราชธานี เป็นจังหวัดที่มีเกษตรไทยมากที่สุด จำนวน  311,630 ครัวเรือน และภูเก็ตเป็นจังหวัดที่มีเกษตรกรน้อยที่สุด เพียง 9,247 ครัวเรือน

เกษตรไทยอยู่ที่ไหนกัน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 46.6%

ภาคเหนือ 22.2%

ภาคใต้ 17.1%

ภาคกลาง 14.1%

ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ

5 จังหวัดเกษตรกรสูงสุด

อุบลราชธานี        311,630 ครัวเรือน

นครราชสีมา         307,510 ครัวเรือน

ขอนแก่น               244,060 ครัวเรือน

ศรีสะเกษ               244,002 ครัวเรือน

ร้อยเอ็ด                  235,092 ครัวเรือน

ภูเก็ตเป็นจังหวัดที่มีเกษตรกรน้อยที่สุด เพียง 9,247ครัวเรือน

ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สำหรับพื้นที่ถือครองการเกษตรในประเทศไทยในปี 2561 มี ประมาณ 112.8 ล้านไร่ แบ่งเป็นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 52.4 ล้านไร่

ภาคเหนือ 26.7 ล้านไร่ ภาคกลาง19.1 ล้านไร่ ภาคใต้ 14.6 ล้านไร่

ผู้ถือครองที่การเกษตร มีเนื้อที่ถือครองขนาด 10 – 39 ไร่ 50.9%  ต่ำกว่า 6 ไร่ 23.6% มากกว่า 140 ไร่ ขึ้นไป  0.7%

อัพเดตข่าวสารการตลาดทุกวันได้ที่ 
Website : Marketeeronline.co / Facebook : www.facebook.com/marketeeronline



อัพเดตข่าวสารการตลาดทุกวันได้ที่ Website: Marketeeronline.co
Facebook: www.facebook.com/marketeeronline

ติดตาม Marketeer Online ทาง Line@ : @marketeer

พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564
พื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย 2564