แอร์ 18000 btu กินไฟชั่วโมงละกี่บาท

แอร์ 18000 btu กินไฟกี่วัตต์ คำถามนี้น่าสนใจ เพราะคนที่ใช้แอร์ต้องคำนึงถึงค่าไฟที่แพงขึ้นด้วย ยิ่งในทุกวันนี้ค่าไฟขึ้นแบบมหาโหด การคำนวณค่าไฟจากการเปิดเครื่องปรับอากาศจึงเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมาก หากเปิดทิ้งไว้โดยไม่คำนึงถึงค่าไฟ สิ้นเดือนคุณอาจต้องเสียเงินหลายพันเลยทีเดียว ยิ่งหากเปิดแอร์ทั้งวันทั้งคืน ค่าไฟอาจพุ่งถึงหลักหมื่นก็เป็นได้ การเลือก btu ให้เหมาะกับห้องก็สำคัญเรื่องนี้จะช่วยให้คุณคำนวณค่าไฟได้ตรงกว่า หากห้องใหญ่และใช้ btu เยอะ ค่าไฟย่อมแตกต่างจาก btu น้อยอย่างแน่นอน

คำนวณค่าแอร์อย่างไรดี

การคำนวณค่าไฟ

ขนาดการทำความเย็น 18,000 (3,924-21,154) บีทียู/ ชั่วโมง – x (x-x) กิโลวัตต์ กำลังไฟฟ้า 1,570 (220-1,850) วัตต์  ยิ่งในเครื่องปรับอากาศรุ่นใหม่ ๆ จะมีโปรแกรมคำนวณค่าไฟให้คุณอย่างละเอียด ฟังก์ชั่นจะบอกว่าคุณใช้ไฟไปกี่วัตต์ ทำให้คุณสามารถทราบถึงค่าไฟที่คุณจะต้องเสียในเดือนนั้น ๆ ได้อย่างค่อนข้างแม่นยำ เพราะฉะนั้นตอนเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศ หากมีงบมากสักหน่อยควรเลือกที่มีฟังก์ชั่นนี้ เพราะมันมีประโยชน์กับคุณมาก ๆ ทำให้ไม่ต้องกังวลเรื่องค่าไฟที่จะตามมา

สำหรับการคำนวณอย่างแรกต้องรู้ก่อนว่าเป็นแอร์ประเภทไหน ระบบแอร์อินเวอร์เตอร์ (Inverter) หรือระบบแอร์รุ่นธรรมดา (Non-Inverter) หากเป็นระบบอินเวอร์เตอร์จะประหยัดกว่า โดยสูตรการคำนวณค่าไฟฟ้าของแอร์ต่อปี

แอร์อินเวอร์เตอร์

ค่าไฟต่อปีจะเท่ากับจำนวนชั่วโมงที่ใช้งานตลอดทั้งปี รับซื้อแอร์เก่า คูณ Cooling Capacity (btu/hr) หารด้วย ค่า SEER (btu/hr/w) คูณกับค่าไฟต่อหน่วย จากนั้นนำผลรวมทั้งหมดหารด้วย 1000 ก็จะได้ค่าไฟฟ้าต่อปีของแอร์ระบบอินเวอร์เตอร์ ซึ่งค่า Cooling Capacity และค่า SEER หรือค่าประสิทธิภาพพลังงานตามฤดูกาลนั้น สามารถดูจากข้อมูลจำเพาะของสินค้าหรือสอบถามจากพนักงานผู้ขาย

ค่าไฟฟ้าต่อเดือน =
จำนวนชั่วโมงใช้งาน X Cooling Capacity (btu/hr) / SEER (btu/hr/w) X ค่าไฟต่อหน่วย
/
1000

แอร์รุ่นธรรมดา

ค่าไฟฟ้าจากการใช้งานแอร์ต่อปีจะคำนวณได้จากสูตร ค่าไฟต่อปีเท่ากับ จำนวนชั่วโมงการใช้งานตลอดทั้งปีคูณด้วย ค่ากำลังไฟฟ้า (วัตต์) คูณด้วยค่าไฟต่อหน่วย จากนั้นนำค่าทั้งหมดมาหารด้วย 1000 เท่านี้ก็จะได้ค่าไฟทั้งหมดตลอดทั้งปีของการใช้แอร์รุ่นธรรมดา

ค่าไฟฟ้าต่อเดือน =
จำนวนชั่วโมงใช้งาน X WATT X ค่าไฟต่อหน่วย
/
1000

มีการคำนวณไฟฟ้าคร่าวๆ ต่อเดือนไว้ในอินเทอร์เน็ต ทำให้สะดวกในการประเมินค่าไฟฟ้ามากยิ่งขึ้น ซึ่งในกรณีเลือกซื้อเป็นแอร์แบบติดผนังระบบอินเวอร์เตอร์

แอร์ 9000 BTU เสียค่าไฟประมาณเดือนละ 433 บาท
แอร์ 12000 BTU เสียค่าไฟประมาณเดือนละ 594 บาท
แอร์ 18000 BTU เสียค่าไฟประมาณเดือนละ 733 บาท

โดยค่าไฟจะขยับสูงขั้นตามขนาด BTU ในขณะที่หากเป็นแอร์ติดผนังรุ่นธรรมดา ขนาด 9000 BTU จะเสียค่าไฟฟ้าเริ่มต้นประมาณเดือนละ 678 และขยับสูงขึ้นไปตามขนาด BTU ของแอร์เช่นเดียวกัน

แอร์ 18000 btu กินไฟชั่วโมงละกี่บาท

เพราะฉะนั้นก่อนที่จะเลือกซื้อแอร์ ควรอ่านรายละเอียดให้ดี ๆ วัดความกว้างของห้องให้เหมาะสมกับขนาดของ btu จะทำให้คุณสามารถคำนวณค่าไฟได้ง่ายขึ้น แอร์ 18000 btu กินไฟกี่วัตต์ ลองอ่านจากฉลากประหยัดไฟจะทำให้คุณทราบคร่าว ๆ ว่าต้องเสียค่าไฟเท่าไหร่ และหากเลือกแอร์ควรเลือกแอร์ที่ช่วยประหยัดพลังงานจะดีที่สุด คุณจะได้ไม่ต้องกังวลเรื่องค่าไฟในอนาคต

คำถามยอดฮิตอันดับสองรองจากแอร์ยี่ห้อไหนดีของลูกค้าสยามเจริญแอร์เราคือ “แอร์ตัวนี้...กินไฟไหม” คำตอบของเราจะอ้างอิงค่าไฟรายปีจากฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ที่ออกโดยกระทรวงพลังงาน เพราะฉนั้นหากท่านมีแอร์อยู่แล้ว แนะนำให้ดูค่าไฟจากฉลากประหยัดไฟบริเวณหน้ากากแอร์ของท่านได้เลยครับ ทั้งนี้ค่าไฟที่แสดงดังกล่าวมักจะอ้างอิงจากการใช้งานปกติโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 8 ชั่วโมง/วันครับ หรือท่านสามารถกรอกค่าต่าง ๆ ผ่านเครื่องคำนวณด้านล่างเพื่อดูค่าไฟได้ทันที

แบบฟอร์มคำนวณค่าไฟแอร์

หากท่านต้องการคำนวณค่าไฟโดยคร่าวเองท่านสามารถลองเติมตัวเลขเข้าแบบฟอร์มคำนวณด้านล่างนี้ได้เลยครับ

หาดูได้จากแคตตาล็อกหรือหน้าสินค้าของเราครับ

โดยเฉลี่ยจะเป็น 8 ชั่วโมงต่อวัน ท่านสามารถเลือกเปลี่ยนได้ตามการใช้งาน

ระบุค่าไฟต่อหน่วยตามอัตราก้าวหน้า 3.96 เป็นแค่ค่าเฉลี่ยเท่านั้น

หรือถ้าท่านอยากทราบที่มาว่าค่าไฟที่ระบบคำนวณนั้นมาอย่างไร ลองอ่านในหัวข้อถัดไปได้เลยครับ


ค่าที่ท่านต้องหามาเข้าสูตรมี 5 ค่าครับ

  1. BTU
  2. ค่า SEER
  3. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อวัน
  4. จำนวนวันที่ใช้งาน
  5. ค่าไฟต่อหน่วยตามการไฟฟ้านครหลวง หรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

แล้วนำไปเข้าสูตรด้านล่างนี้ครับ

BTU / ค่า SEER / 1000 x จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อวัน x จำนวนวันที่ใช้งาน x ค่าไฟฟ้าต่อหน่วย

เช่นค่าไฟแอร์ยี่ห้อแคเรียร์ รุ่น X-Inverter Plus รหัสรุ่น 42TVAB018/38TVAB018

  1. ขนาด 18,000 BTU  
  2. ค่า SEER 22.5 (หาดูได้จากแคตตาล็อกหรือหน้าสินค้าของเราครับ)
  3. ใช้วันละ 8 ชั่วโมง
  4. คำนวณต่อเดือนตีไป 30 วัน
  5. ค่าไฟฟ้าสมมุติหน่วยละ 3.2484 บาท (ใช้น้อยกว่า 150 หน่วยต่อเดือน)

ก็จะได้เป็น

18000 / 22.5 / 1000 x 8 x 30 x 3.2484 = 624 บาท

ค่าไฟแคเรียร์ รุ่น X-Inverter Plus ขนาด 18000 BTU ก็จะประมาณ 624 บาท/เดือนครับ ถ้าอยากทราบรายปีก็เอาไปคูณ 12 ก็จะได้เป็น 7,488 บาท/ปี

อย่างไรก็ตามหากท่านดูจากฉลากประหยัดไฟ ค่าไฟฟ้าต่อหน่วยจะเป็นค่าเฉลี่ยคือ 3.96 ครับ เนื่องจากค่าไฟฟ้ามีการแปรผันตามอัตราก้าวหน้า ถ้าเราลองมาคำนวณตามค่าเฉลี่ย 3.96 ก็จะได้ดังนี้ครับ

18000 BTU / ค่า SEER 22.5 / ค่าคงที่ 1000 x 8 ชั่วโมงที่ใช้ต่อวัน x 365 วัน x ค่าไฟฟ้าต่อหน่วย 3.96 = 9250.56 หรือปัดเศษ 9,251 บาท/ปี ตามฉลากเป๊ะๆเลยครับ

ค่าไฟแอร์ยี่ห้อแคเรียร์ รุ่น X-Inverter Plus รหัสรุ่น 42TVAB018/38TVAB018

หากท่านกำลังสงสัยว่าแล้วตัว "ค่าไฟฟ้าต่อหน่วย" ของบ้านท่านมันหน่วยละกี่บาทกันแน่ ท่านสามารถดูตารางด้านล่างนี้ได้เลยครับ

1.1 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน

จำนวนหน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง)หน่วยละ (บาท)15 หน่วยแรก (หน่วยที่ 1 – 15)2.348810 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 – 25)2.988210 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 – 35)3.240565 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 – 100)3.623750 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 – 150)3.7171250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400)4.2218เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป)4.4217

1.2 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน

จำนวนหน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง)หน่วยละ (บาท)150 หน่วยแรก (หน่วยที่ 1 – 150)3.2484250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400)4.2218เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป)4.4217

1.3 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff )

On PeakOff Peakแรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์5.11352.6037แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์5.79822.6369

อ้างอิงตารางค่าไฟต่อหน่วยจาก การไฟฟ้านครหลวง

หากท่านมีคำถามใด ๆ เพิ่มเติม ที่สยามเจริญแอร์พอจะช่วยท่านได้ โปรดอย่าลังเลที่จะติดต่อเราครับ

ขอบคุณครับ

มองหาแอร์ใหม่พร้อมติดตั้งราคาไม่แพง?

เราจำหน่ายแอร์พร้อมติดตั้งทุกยี่ห้อ ใหม่แกะกล่อง มีใบรับประกันจากผู้ผลิต รับประกันราคาคุ้มค่า สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดเยี่ยมชมหน้าสินค้าของเรา

แอร์ 18000 บีทียู กินไฟกี่วัตต์

ในกรณีของแอร์ซึ่งระบุขนาดเป็น BTU ถ้าเราต้องการคำนวณหาค่าไฟ จะต้องแปลงค่า BTU ให้เป็นวัตต์ก่อน โดย 1 BTU เท่ากับ 0.293071 วัตต์ ถ้าแอร์ขนาด 18000 BTU ก็มีค่าเท่ากับ 5,275 วัตต์/ชม. โดยประมาณ คือถ้าขนาดของ BTU ยิ่งสูง กำลังไฟก็ยิ่งมาก การกินไฟก็มากกว่าด้วย

แอร์ 18,000 บีทียู กินไฟกี่แอมป์

แอร์ หรือ เครื่องปรับอากาศ กินไฟเท่าไร กี่แอมป์ 18,000 BTU - 7.0-7.5 A. 24,000 BTU - 9.5-10.5 A. เป็นค่าโดยประมาณครับ ถ้าแอร์เก่า บางที 12,000 BTU กินไฟไปถึง 7A ก็มี

แอร์ 18500 BTU กินไฟกี่วัต

ขนาดการทำความเย็น 18,000 (3,924-21,154) บีทียู/ ชั่วโมง – x (x-x) กิโลวัตต์ กำลังไฟฟ้า 1,570 (220-1,850) วัตต์ ยิ่งในเครื่องปรับอากาศรุ่นใหม่ ๆ จะมีโปรแกรมคำนวณค่าไฟให้คุณอย่างละเอียด ฟังก์ชั่นจะบอกว่าคุณใช้ไฟไปกี่วัตต์ ทำให้คุณสามารถทราบถึงค่าไฟที่คุณจะต้องเสียในเดือนนั้น ๆ ได้อย่างค่อนข้างแม่นยำ เพราะฉะนั้นตอนเลือก ...

แอร์เคลื่อนที่ กินไฟ ชั่วโมงละ กี่ บาท

- หากเปิดแอร์ติดต่อกันนาน 8-10 ชั่วโมง แอร์เคลื่อนที่ขนาด 12,000 btu กินไฟที่ 1.04 หน่วยต่อชั่วโมงในขณะที่ทำงานที่พัดลมแรงสุด #เปรียบเทียบราคาค่าไฟบ้านจะตกประมาณ 3.8-4 บาท ต่อชั่วโมง ถ้าเปิด 8 ชั่วโมงจะอยู่ประมาณ 32 บาท - แอร์เคลื่อนที่ขนาด 10,000 btu กินไฟที่ 0.7 หน่วย ต่อชั่วโมง