เฉลย ใบ งาน ที่ 2 เรื่อง การศึกษา พันธุ ศาสตร์ ของ เมน เด ล

ก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม โดยใช้วัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ สาหรบั นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ชดุ ท่ี 1

ก ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เร่อื ง การถ่ายทอดทางพันธกุ รรม โดยใช้วัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน สาหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ชุดนี้ เปน็ นวตั กรรมการเรยี นรู้ ที่จดั ทาขึน้ เพื่อใช้เป็นส่ือประกอบ การจดั การเรียนรู้ เร่ือง การถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม รายวชิ าชวี วทิ ยา สาหรบั นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ซึง่ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้นี้ มีเนือ้ หาสาระและกจิ กรรมท่ีสอดคล้องกับ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ของหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซง่ึ ประกอบด้วยชดุ กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ง้ั หมด 10 ชุด ดังน้ี ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การศึกษาพนั ธศุ าสตร์ของเมนเดล จานวน 2 ชว่ั โมง ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็น จานวน 1 ชว่ั โมง ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 3 เร่ือง กฎแห่งการแยก จานวน 2 ช่ัวโมง ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 4 เร่ือง กฎแหง่ การรวมกลุ่มอย่างอสิ ระ จานวน 2 ชั่วโมง ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การผสมเพื่อทดสอบ จานวน 1 ชั่วโมง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 6 เรื่อง การข่มไม่สมบรู ณ์และการข่มร่วมกัน จานวน 2 ชว่ั โมง ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 7 เร่ือง มลั ติเปิลแอลลีลและพอลิยนี จานวน 2 ช่ัวโมง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่ 8 เรื่อง ยีนบนโครโมโซมเพศ จานวน 2 ชั่วโมง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 9 เร่ือง ยีนบนโครโมโซมเดียวกัน จานวน 2 ชว่ั โมง ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 10 เรอื่ ง ลกั ษณะท่ีอยภู่ ายใต้อทิ ธิพลของเพศและลักษณะท่ปี รากฏจาเพาะเพศ จานวน 2 ช่วั โมง ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เร่ือง การถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม โดยใชว้ ฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน สาหรบั นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 น้ี ประกอบดว้ ยมาตรฐานการเรยี นร้แู ละผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ การเรียนรู้ ค่มู อื ประกอบการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ องค์ประกอบของชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ แบบทดสอบ กอ่ น-หลังเรยี น บตั รคาส่ัง ใบความรู้ ใบกจิ กรรม และใบงาน ท่ผี ู้เรียนสามารถศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ตามความสนใจ เปน็ อิสระและมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นการสอน โดยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จะชว่ ยใหใ้ ช้เวลานอ้ ยลง ในการนาเสนอขอ้ มูลต่างๆ จากคาแนะนาท่ีปรากฏอยู่ในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปตามลาดับ ขอขอบคุณผู้มสี ว่ นเก่ียวข้องทุกท่าน ทไี่ ดใ้ ห้ข้อมลู อันเปน็ ประโยชนใ์ นการจัดทาชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เล่มน้ี ผู้จัดทาหวงั วา่ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่จี ดั ทาข้นึ นี้ จะเป็นแนวทางในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ใหเ้ ปน็ ไปตามเจตนารมณ์ของหลกั สูตร และเปน็ ประโยชน์ต่อการจัดกระบวนการเรียนรูข้ องครูไดเ้ ปน็ อย่างดี จันจิรา หมนั่ บอ่ แก ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถา่ ยทอดทางพันธกุ รรม โดยใชว้ ัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน สาหรบั นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ชุดที่ 1

ก เรือ่ ง หน้า คานา………………………………………………………………………………………………………………… ก สารบญั ……………………………………………………………………………………………………………… ข มาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรยี นรู้…………..………………………………………………………… 1 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้…………………………………………..………….…………………………………... 2 คูม่ ือประกอบการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นร…ู้ …………………………………….................................... 3 องคป์ ระกอบของชุดกิจกรรมการเรยี นร…ู้ ………………………………………………………………… 5 แบบทดสอบกอ่ น–หลงั เรียนชุดท่ี 1…………………………………………………………………........... 6 บัตรคาส่งั …………………………………………………………………………………………………………… 8 ใบความรู้ท่ี 1……………………………………………………………………………………………………… 9 ใบกจิ กรรมที่ 1……………………………………………………………………………………………………. 22 ใบงานที่ 1………………………………………………………………………………………………………….. 23 เฉลยใบกจิ กรรมที่ 1……………………………………………………………………………………………… 25 เฉลยใบงานที่ 1…………………………………………………………………………………………………… 27 เฉลยแบบทดสอบกอ่ น–หลงั เรยี นชดุ ที่ 1………………………………………………………………… 29 บรรณานุกรม……………………………………………………………………………………………………….. 30 ประวัตผิ จู้ ดั ทา…………………………………………………………………………………………………..... 31 ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง การถา่ ยทอดทางพนั ธกุ รรม โดยใชว้ ฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขั้น สาหรบั นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ชดุ ท่ี 1

1 มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม ววิ ัฒนาการ ของส่ิงมชี วี ิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยชี ีวภาพ ที่มีผลกระทบต่อมนุษยแ์ ละสิ่งแวดล้อม มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ ส่ือสารส่งิ ทเ่ี รียนรูแ้ ละนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 8.1 ใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละจติ วิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปญั หา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ เ่ี กิดขึ้นสว่ นใหญ่มรี ปู แบบท่ีแน่นอน สามารถอธบิ ายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูล และเคร่ืองมอื ทม่ี ีอยู่ในชว่ งเวลาน้นั ๆ เข้าใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมและสิ่งแวดล้อมมีความเก่ยี วข้อง สมั พนั ธ์กัน สืบค้นข้อมลู วเิ คราะห์ อภปิ ราย อธบิ ายและสรปุ การค้นพบกฎการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของเมนเดล ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถา่ ยทอดทางพนั ธกุ รรม โดยใช้วฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ สาหรับนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ชดุ ท่ี 1

ด้านความรู้ 2 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. วิเคราะห์ อภิปรายอธิบายและสรุปผลการทดลอง ของเมนเดลได้ 2. อธบิ ายความหมายและยกตัวอย่างของคาต่อไปน้ี ลกั ษณะเด่น ลักษณะด้อย ยนี เดน่ ยนี ดอ้ ย แอลลลี โลคสั ฮอรม์ อโลกัสโครโมโซม ฟโี นไทป์ จโี นไทป์ ฮอรม์ อไซกสั จีโนไทป์ เฮเทอโรไซกสั จโี นไทป์ ฮอรม์ อไซกสั โดมิแนนท์ และฮอรม์ อไซกัสรีเซสสีพ ไดถ้ กู ต้อง ด้านทักษะ/กระบวนการ นักเรียนมคี วามสามารถในการรว่ ม ปฏิบัตกิ จิ กรรมกลมุ่ ในการสืบคน้ ขอ้ มลู อภิปรายเกยี่ วกบั เรอื่ ง การศึกษา พันธศุ าสตร์ของเมนเดลได้ ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มคี วามซื่อสตั ย์ 4. มุง่ มัน่ ในการทางาน 5. มจี ิตสาธารณะ สมรรถนะสาคญั 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการสื่อสาร 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถา่ ยทอดทางพนั ธุกรรม โดยใช้วฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน สาหรบั นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ชดุ ท่ี 1

3 เพอื่ ใหก้ ารใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้นี้มปี ระสทิ ธิภาพ และบรรลตุ ามจดุ ประสงค์ทีต่ งั้ ไว้ ครผู ูส้ อน และนักเรยี นควรปฏิบัติตามคาแนะนาดังน้ี 1. บทบาทของครูผู้สอน มดี ังน้ี 1. ศกึ ษาแผนการจัดการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล และกระบวนการจดั การเรียนรใู้ ห้เข้าใจอยา่ งชัดเจน 2. เตรยี มชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้และวสั ดอุ ปุ กรณ์ประจาชดุ กิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้พร้อมและเพียงพอ กับจานวนนกั เรยี น 3. แนะนาขน้ั ตอนการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวปฏิบตั ใิ ห้นักเรียนรบั ทราบโดยละเอยี ด ตลอดจนกาหนดขอ้ ตกลงร่วมกัน 4. กอ่ นการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน จานวน 10 ขอ้ ใช้เวลา 10 นาที เพอ่ื วดั ความรูพ้ นื้ ฐานกอ่ นเรยี น 5. กระตนุ้ ให้นักเรยี นศึกษา ปฏิบัตกิ จิ กรรม เป็นท่ีปรึกษาและคอยให้กาลงั ใจ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ขณะนักเรยี นปฏบิ ัติกจิ กรรม 6. จดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยปฏบิ ตั ิตามบตั รคาสงั่ ในชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้อย่างเคร่งครดั ครูตอ้ งกากับดูแลนกั เรียนอย่างใกล้ชดิ ขณะจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน 7. การสรปุ บทเรยี น ควรเปดิ โอกาสให้นักเรียนมสี ่วนรว่ มในการสรุปเน้ือหาให้มากหรือช่วยกันสรปุ 8. เมอื่ นกั เรียนปฏบิ ตั จิ นครบทุกกิจกรรมแล้วให้นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน จานวน 10 ข้อใช้เวลา 10 นาที 9. หลังจากทากิจกรรมการเรียนการสอนเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ ใหน้ กั เรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ และองค์ประกอบของชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ให้เรยี บร้อย 10. เมอื่ เรียนจบท้งั 10 ชุด ครผู สู้ อนจะต้องสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นหลงั เรียน และให้นกั เรียนทาแบบสอบถามความพึงพอใจ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถ่ายทอดทางพนั ธกุ รรม โดยใช้วฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั สาหรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ชุดท่ี 1

4 2. สิง่ ทคี่ รูต้องเตรียม ครูตอ้ งเตรียมสื่อการเรยี นให้ครบตามข้ันตอนการจดั ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ ดงั น้ี 2.1 แบบทดสอบกอ่ น-หลังเรียน 2.2 บตั รคาสั่ง 2.3 ใบความรู้ 2.4 ใบกิจกรรม 2.5 ใบงาน 2.6 เฉลยใบกิจกรรม 2.7 เฉลยใบงาน 2.8 เฉลยแบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรียน 2.9 แบบประเมินการปฏิบัตงิ านกลุม่ 2.10 แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 2.11 แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญ 1. ศกึ ษาคาแนะนาในการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้ให้เขา้ ใจก่อนจะลงมือปฏบิ ัตกิ ิจกรรมและปฏบิ ตั ติ าม ข้ันตอนตามเวลาท่ีกาหนด 2. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน จานวน 10 ข้อ ใชเ้ วลา 10 นาที 3. ปรึกษาครูผูส้ อน เม่ือมีปัญหาหรอื ไมเ่ ข้าในการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรู้หรือในการปฏบิ ัติกิจกรรม 4. ศกึ ษาเน้ือหาและลงมือปฏิบตั กิ จิ กรรมตามลาดบั ขั้นตอนก่อน-หลงั 5. เลอื กตวั แทนนาเสนอผลงานกลุ่มหนา้ ชน้ั เรยี น 6. ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ขอ้ ใช้เวลา 10 นาที ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถา่ ยทอดทางพันธุกรรม โดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน สาหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ชดุ ท่ี 1

5 ชดุ ที่ 1 เรื่อง การศึกษาพันธศุ าสตรข์ องเมนเดล ประกอบดว้ ย 1. ใบความรทู้ ่ี 1 เป็นส่วนที่สรุปเนอื้ หาสาระ เร่ือง การศกึ ษาพนั ธุศาสตร์ของเมนเดล โดยใหน้ กั เรยี นศกึ ษาด้วยกันภายในกลุ่ม ครูผูส้ อนเป็นท่ีปรึกษาเม่ือนักเรียนมีปัญหา 2. ใบกจิ กรรมท่ี 1 เปน็ สว่ นกาหนดกจิ กรรมให้นักเรียนไดป้ ฏบิ ตั ิภายในกลมุ่ เพื่อนาไปสู่จดุ ประสงคท์ ่ีต้ังไว้ 3. ใบงานท่ี 1 เปน็ ส่วนกาหนดกจิ กรรมให้นกั เรียนได้ปฏิบัติภายในกลุ่ม เพอ่ื นาไปสู่จดุ ประสงคท์ ่ีตั้งไว้ 4. แบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรียน ชดุ ท่ี 1 เปน็ ส่วนท่ีนักเรยี นได้ประเมนิ ความรคู้ วามสามารถ ของตนเองหลังจากใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรแู้ ตล่ ะชุด 5. เฉลยใบกิจกรรมท่ี 1 เปน็ สว่ นทใ่ี ช้เฉลยกจิ กรรมท่ใี หน้ กั เรียนปฏบิ ัติ 6. เฉลยใบงานที่ 1 เปน็ ส่วนทีใ่ ช้เฉลยกจิ กรรมท่ีให้นกั เรยี นปฏบิ ตั ิ 7. เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลงั เรียน ชดุ ที่ 1 เป็นส่วนท่ใี ชเ้ ฉลยหลังจากท่นี ักเรียนได้ ประเมนิ ความรคู้ วามสามารถของตนเอง ภายหลงั การใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้แตล่ ะชดุ พร้อมยังครบั เพ่ือนๆ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถา่ ยทอดทางพันธกุ รรม โดยใช้วฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั สาหรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ชุดท่ี 1

6 แบบทดสอบก่อน–หลังเรียน ชุดที่ 1 เร่ือง การศกึ ษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 วชิ า ชวี วทิ ยา จานวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที คาสง่ั : 1. แบบทดสอบนเ้ี ปน็ แบบปรนยั เลือกตอบมีท้ังหมด 10 ขอ้ 2. ใหน้ กั เรียนเลอื กคาตอบท่ถี ูกตอ้ งท่ีสุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. นักวิทยาศาสตรท์ ่านใดทีไ่ ด้รบั ยกยอ่ งใหเ้ ป็นบดิ าแห่งวิชาพันธุศาสตร์ ก. เฟรดรชิ มเิ ชอร์ ข. คอลิน แมคลอยด์ ค. แมคลนิ แมคคารท์ ี ง. เกรเกอร์ โยฮนั เมนเดล 2. ลกั ษณะของถวั่ ลันเตาในข้อใดต่อไปนี้ท่เี มนเดลนามาศึกษา 1. สขี องเมลด็ 2. รูปรา่ งของใบ 3. ความสูงของลาตน้ 4. รปู ร่างของเมลด็ 5. ตาแหนง่ ของดอก ก. 1, 2, 3 ข. 2, 3, 4 ค. 1, 3, 4, 5 ง. 1, 2, 3, 4, 5 3. ขอ้ ใดไม่ใช่เหตผุ ลท่เี มนเดลเลือกศึกษาลักษณะของถัว่ ลันเตาในการทดลอง ก. ปลูกงา่ ยวงจรชวี ติ ยาวและให้เมล็ดมาก ข. มลี ักษณะทางพันธุกรรมที่แตกตา่ งกนั ชดั เจน ค. อายุส้ันเจริญเตบิ โตไดเ้ ร็วมีหลากหลายพันธุ์ ง. เปน็ พืชทปี่ ลูกไดง้ ่ายไม่ตอ้ งบารุงรักษามากและให้เมลด็ มาก 4. ในการทดลองผสมพนั ธุถ์ ่ัวลันเตาพันธ์ุแท้ฝักสเี ขยี วลักษณะเด่น และฝักสเี หลอื งลักษณะด้อยจะไดล้ กู ในรุ่น F1 มีฟโี นไทป์อย่างไร ก. ฝกั สเี หลืองทง้ั หมด ข. ฝกั สเี ขียวท้งั หมด ค. ฝักสเี ขยี วอมเหลืองท้งั หมด ง. ฝักสเี ขยี ว : ฝกั สเี หลอื ง = 1 : 1 5. ขอ้ ใดกล่าวถูกต้องเก่ยี วกับลกั ษณะเดน่ ลกั ษณะดอ้ ย 1. ลกั ษณะเดน่ แสดงออกเมอื่ อยใู่ นสภาพเฮเทอโรไซกัสเท่านน้ั 2. ลักษณะด้อยแสดงออกเมื่ออยู่ในสภาพฮอมอไซกัสเทา่ นัน้ 3. ลกั ษณะเดน่ แสดงออกทั้งในสภาพฮอมอไซกสั และเฮเทอโรไซกสั 4. ลกั ษณะเดน่ และลกั ษณะดอ้ ยสามารถแสดงออกได้ในสภาพเฮเทอโรไซกัส ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3 ค. 3 และ 4 ง. 2, 3 และ 4 ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง การถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม โดยใชว้ ัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขัน้ สาหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ชุดท่ี 1

7 6. อัตราสว่ นระหวา่ งลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อยในรุ่น F2 จากการทดลองของเมนเดลคือข้อใด ก. 3 : 1 ข. 1 : 3 ค. 4 : 0 ง. 1 : 2 : 1 7. ถ้า T แทนแอลลีลท่ีมีลกั ษณะเดน่ และ t แทนแอลลีลทีม่ ลี กั ษณะด้อยพ่อแมท่ ีม่ ีจโี นไทป์ Tt และ tt ลูกที่เกิดมาจะมีโอกาสแสดงลกั ษณะอย่างไร ก. เด่นท้งั หมด ข. ด้อยท้งั หมด ค. ดอ้ ย 50% เด่น 50% ง. เด่น 25% ดอ้ ย 25% 8. การผสมพนั ธ์ุพืชเพื่อศึกษาลักษณะเด่นและลกั ษณะด้อย เราจะพบลักษณะด้อยในกรณีใด ก. พ่อเป็นลกั ษณะเดน่ พันธ์ุแท้แมเ่ ปน็ พนั ธุท์ าง ข. พอ่ เป็นพันธ์ุทางแมเ่ ป็นลักษณะเด่นพนั ธุ์แท้ ค. พ่อเป็นลกั ษณะด้อยพันธ์ุแท้แม่เป็นพนั ธุท์ าง ง. พ่อเป็นลักษณะด้อยพันธแุ์ ทแ้ มเ่ ป็นลักษณะเดน่ พนั ธแ์ุ ท้ 9. ขอ้ ใดอธิบายความหมายของ “ฟโี นไทป์” ไดถ้ ูกต้องที่สุด ก. ลกั ษณะทีถ่ า่ ยทอดจากพ่อแม่มาสูล่ ูก ข. ยีนที่ควบคุมลกั ษณะพันธุกรรมของสง่ิ มีชีวิต ค. หนว่ ยท่คี วบคุมลกั ษณะพันธกุ รรมของส่งิ มีชวี ิต ง. ลกั ษณะทางพันธุกรรมทปี่ รากฏออกมาภายนอกของสิ่งมชี วี ติ 10. homozygous และ heterozygous มคี วามหมายเหมอื นหรอื แตกต่างกันอย่างไร ก. เหมือนกนั หมายถงึ คขู่ องแอลลีลที่ต่างกัน เชน่ Aa ข. เหมือนกนั หมายถึง คู่ของแอลลลี ทเี่ หมือนกัน เช่น AA, aa ส้ๆู นะครับ ค. ต่างกนั เพราะ homozygous หมายถงึ คู่ของแอลลลี ที่เหมือนกัน เชน่ AA, aa แต่ heterozygous หมายถงึ คู่ของแอลลีลทตี่ ่างกนั เช่น Aa ง. ตา่ งกันเพราะ homozygous หมายถึง คขู่ องแอลลลี ท่ีตา่ งกัน เช่น Aa แต่ heterozygous หมายถึง คูข่ องแอลลีลที่เหมอื นกนั เชน่ AA, aa ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง การถา่ ยทอดทางพนั ธุกรรม โดยใชว้ ฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ สาหรบั นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ชดุ ท่ี 1

8 คาชแี้ จง ให้นกั เรียนศึกษาและปฏบิ ตั ติ ามหวั ขอ้ ตอ่ ไปนี้ 1. ให้นักเรียนแบ่งกล่มุ โดยกลุ่มละประมาณ 5 - 6 คน แลว้ ใหส้ มาชกิ ภายในกลุ่ม เลือกประธาน รองประธาน และเลขานุการ เพอ่ื ทาหนา้ ทีภ่ ายในกลุ่ม 2. ตวั แทนแต่ละกลุ่มรับชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตรข์ องเมนเดล จากครผู สู้ อน 3. ศึกษาใบความรู้ท่ี 1 เรือ่ ง การศึกษาพันธศุ าสตรข์ องเมนเดล ใช้เวลา 30 นาที 4. ศึกษาใบกิจกรรมท่ี 1 เรื่อง การศกึ ษาพนั ธุศาสตรข์ องเมนเดล ใชเ้ วลา 10 นาที 5. ศกึ ษาใบงานท่ี 1 เร่ือง การศกึ ษาพนั ธุศาสตร์ของเมนเดล ใช้เวลา 10 นาที 6. ตอบคาถามลงในใบกิจกรรมและใบงานโดยให้สมาชิกทกุ คนช่วยกนั ค้นหาคาตอบ 7. ตวั แทนกลุ่มรวบรวมคาตอบของสมาชิก แล้วนาไปแลกเปล่ียนกับกลุ่มอ่ืนเพ่ือเปลี่ยนกันตรวจ 8. ตวั แทนกลมุ่ รบั ใบเฉลยกจิ กรรมและใบเฉลยใบงานเพื่อให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตรวจคาตอบ 9. ตัวแทนแต่ละกลุ่มเก็บรวบรวมใบกิจกรรม ใบงานที่ตรวจเสรจ็ แล้วนาส่งครผู ู้สอน 10. เมื่อศึกษาชดุ กิจกรรมการเรียนรู้เสร็จแล้ว ใหน้ กั เรียนนาชุดกิจกรรมการเรียนรสู้ ่งครผู ู้สอน อ่านบตั รคาสง่ั ใหเ้ ข้าใจก่อนนะครบั ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง การถ่ายทอดทางพันธกุ รรม โดยใชว้ ัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น สาหรับนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6 ชดุ ท่ี 1

9 G;]k ส่ิงมชี วี ติ แตล่ ะชนิดมีลักษณะเฉพาะเป็นเอกลักษณ์ของตน ท้ังในดา้ นรูปรา่ ง ขนาด ความสูง สีผิว และลกั ษณะอื่นๆ ซงึ่ ลักษณะดังกล่าวน้ีสามารถถา่ ยทอดไปยังรุ่นลกู หลาน โดยผ่านกระบวนการสบื พันธ์ุ เปน็ สาเหตุ ใหส้ ่ิงมชี ีวติ สามารถดารงลักษณะเฉพาะและเผ่าพันธุ์ของตนไว้ได้ ลกั ษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิตน้ีเรียกว่า ลักษณะทางพนั ธกุ รรม (Genetic Character) สาหรับกระบวนการถา่ ยทอดลกั ษณะของสิ่งมชี วี ติ จากบรรพบุรุษไป ยังรนุ่ ลกู หลานนน้ั เรียกวา่ การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม พนั ธุศาสตร์ (genetics) เปน็ วิชาทว่ี า่ ด้วยการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ จากพ่อแม่ไปยังลูกหลาน ซึ่งผทู้ ่ีวางรากฐานวชิ าพนั ธุศาสตร์ และถือว่าเป็นบิดาแห่งวิชาพนั ธศุ าสตรค์ ือ เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล (Gregor Johann Mendel) เกรเกอร์ โยฮนั เมนเดล (Gregor Johann Mendel) เกิดเม่ือ ปีค.ศ.1822 (พ.ศ.2365) เป็นชาวออสเตรีย บดิ า มารดา เปน็ ชาวสวน ในวัยเด็กเมนเดลเรียนหนังสือท่โี รงเรียนของหม่บู า้ น เขาเป็นเด็กที่ฉลาด มีความสนใจ ในการทาไร่ ทาสวน ปลูกผลไม้และมีความสนใจเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชวี ิตมาต้ังแตเ่ ด็กๆ เมื่อเติบโตข้นึ ได้มีโอกาส เขา้ เรยี นท่โี บสถ์แห่งหนง่ึ ในกรุงบรนุ น์ (brunn) ปจั จบุ นั คือเมืองเบรอโน (brno) ในสาธารณรฐั เชค ต่อมาในปี ค.ศ.1874 ได้บวช และในเวลาต่อมาได้ไปศกึ ษาต่อท่ีมหาวทิ ยาลยั เวียนนาทางด้านฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ เคมี และพฤกษศาสตร์ เมื่อสาเร็จการศึกษาแลว้ กลบั มาเปน็ ครสู อนวิทยาศาสตร์ ด้วยความรกั ในธรรมชาติและสนใจ ศึกษาหาความรู้อยูเ่ สมอ เมนเดลจึงไดด้ ัดแปลงท่ีดินด้านหลังโบสถ์ให้เป็นแปลงทดลองดา้ นพฤกษศาสตร์ควบคู่ ไปกบั งานสอนศาสนาของเขาด้วย เมนเดลเริ่มตน้ ศึกษาพนั ธศุ าสตร์โดยการทดลองผสมพันธถ์ุ ่ัวลันเตาและสงั เกตลักษณะของถ่วั พบว่า บางลกั ษณะในรนุ่ พ่อแม่จะปรากฏออกมาในรุ่นลกู เสมอ จากการทดลองหลายๆรุ่น ทาให้เมนเดลสามารถค้นพบ กฎเกณฑท์ ส่ี าคญั อย่างยิ่งทางพนั ธุศาสตรแ์ ละสามารถอธบิ ายพนื้ ฐานของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม ของสง่ิ มชี วี ิต จงึ ได้รบั การยกย่องให้เปน็ บิดาแห่งวิชาพนั ธุศาสตร์ ภาพท่ี 1-1 เกรเกอร์ โยฮนั เมนเดล บดิ าแห่งวิชาพันธศุ าสตร์ ทม่ี า : พจน์ แสงมณี และขวญั สุดา ประวะ ภูโต (2552 : 1) ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การถ่ายทอดทางพนั ธกุ รรม โดยใชว้ ฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้นั สาหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ชดุ ท่ี 1

10 เมนเดลได้ตัดสินใจเลือกถั่วลันเตา (Pisum sativum L.) เป็นพืชทดลอง เน่ืองจากมีลักษณะท่ีเหมาะสม หลายประการ เช่น อายสุ ั้น ปลูกงา่ ย ให้ลูกหลานจานวนมาก เจริญเติบโตเร็วและมหี ลายพันธ์ุ มลี กั ษณะ ท่ีแตกตา่ งกนั อย่างชดั เจน จึงสามารถเลือกลกั ษณะทางพนั ธุกรรมมาศึกษาได้งา่ ย นอกจากนี้ดอกถ่วั ลนั เตา ยงั เป็นดอกสมบูรณ์เพศ และมีกลีบดอกปิดกลุ่มเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมยี ป้องกันไม่ให้เรณูจากดอกอ่ืนเข้าผสมกับ เซลล์ไข่ ดังน้ันในธรรมชาติจึงมีการผสมภายในดอกเดียวกัน (self – pollination) ได้ลูกที่เป็นพันธุ์แท้ (pure line) ลักษณะเช่นนี้จึงเหมาะต่อการควบคุมการทดลองที่สามารถควบคุมให้เกิดการผสมข้าม (cross – pollination) ได้ง่าย ดงั ภาพท่ี 1-2 ภาพท่ี 1-2 ดอกถ่ัวลันเตา ทม่ี า : https://sites.google.com/site/piyaphongnate/kar-khn-phb-thang-phanthu-sastr ภาพท่ี 1-3 การผสมพันธ์ุถั่วลันเตาโดยการนาละอองเรณจู ากดอกหนง่ึ ไปยงั อีกดอกหนงึ่ เพ่อื ใหเ้ กิดการผสมพันธข์ุ ้ามดอก ท่มี า : http://www.kas-kasanapharayat.blogspot.com ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การถา่ ยทอดทางพันธุกรรม โดยใช้วัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน สาหรบั นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ชุดท่ี 1

11 ในการทดลองเมนเดลเลือกศึกษาลักษณะตา่ งๆ ของถ่ัวลนั เตาที่มคี วามแตกต่างกนั อยา่ งเห็นไดช้ ดั เจน ทั้งหมด 7 ลกั ษณะ ดงั น้ี 1. รปู รา่ งของเมล็ด ( มีเมล็ดกลมและเมล็ดขรุขระ) 2. สีของเมลด็ ( มีเมลด็ สีเหลืองและเมล็ดสเี ขียว ) 3. รปู ของร่างของฝัก ( มีฝักอวบและฝักแฟบ ) 4. สขี องฝกั ( มฝี ักสเี ขียวและฝักสเี หลือง ) 5. ตาแหน่งของดอก ( มีดอกเกิดท่ีก่ิงและดอกเกิดที่ยอด ) 6. สีของดอก ( มีดอกสีมว่ งและดอกสีขาว ) 7. ความสงู ของลาตน้ ( มตี ้นสงู และต้นเตีย้ ) ภาพท่ี 1-4 ลักษณะของถ่วั ลันเตา 7 ลกั ษณะ ท่ีมา : http://119.46.166.126/self_all/selfaccess12/m6/550/lesson1/content6_1.php ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การถา่ ยทอดทางพันธุกรรม โดยใช้วัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ สาหรับนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 ชุดท่ี 1

12 1. เมนเดลคดั เลอื กลักษณะของถ่วั ลนั เตาท่ีแตกต่างกนั อยา่ งชัดเจน 7 ลักษณะ 2. แต่ละลักษณะผสมภายในดอกเดยี วกันหลายๆ รุ่นจนไดล้ กั ษณะทเี่ ป็นพันธ์ุแท้ 3. คดั เลือกต้นพอ่ แมท่ ม่ี ลี ักษณะแตกตา่ งกนั เชน่ รูปร่างเมลด็ กลมกบั เมลด็ ขรุขระ 4. รุ่นพ่อแม่เปน็ พันธุ์แท้ เช่น ฝักอวบพนั ธแ์ุ ท้ผสมกับฝกั แฟบพันธุแ์ ท้ 5. พจิ ารณาการผสมกันทีละลักษณะ 6. การผสมในทุกลักษณะเมนเดลไดน้ าเอาเกสรตัวผู้ไปผสมกับเกสรตวั เมียของต้นทต่ี ้องการ 7. สังเกตลกั ษณะและนับจานวนลกู รุน่ ที่ 1 8. นาลกู รนุ่ ท่ี 1 ผสมกนั เองสังเกตลักษณะและนบั จานวนลูกรุ่นท่ี 2 ตัวอยา่ ง เมนเดลคัดเลือกตน้ พอ่ และต้นแม่แลว้ นามาผสมกันทลี ะลกั ษณะ เชน่ ลักษณะสีของฝัก เมนเดลได้ถ่ายเรณขู องถั่วลันเตาตน้ ทีอ่ อกฝักสีเขยี ว ไปผสมกับตน้ ที่ออกฝกั สเี หลอื ง ตน้ ถว่ั ลันเตาท่ีนามาผสมกันน้ี เรียกวา่ ร่นุ พ่อแม่ (parental generation) หรือรุ่น P จากการผสมพันธุ์จะได้ตน้ ใหม่จานวนมากเปน็ รุ่นลกู (first filial generation) หรือรุน่ F1 ซึ่งออกฝกั สีเขยี วทง้ั หมด แมว้ า่ ในการผสมจะสลบั ต้นพ่อและต้นแม่กต็ าม กจ็ ะได้รนุ่ F1 ออกมามีลักษณะเช่นเดยี วกัน ดงั ภาพท่ี 1-5 ภาพที่ 1-5 การผสมพันธ์ถุ ัว่ ลนั เตาได้รุ่น F1 ออกฝักสีเขียว ก. ตน้ พอ่ ฝักสีเขียวกับตอ้ แม่ฝักสเี หลอื ง ข. ตน้ พ่อฝักสเี หลืองกับต้นแมฝ่ ักสเี ขยี ว ทม่ี า : สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (2558 : 4) ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง การถา่ ยทอดทางพันธุกรรม โดยใชว้ ัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้นั สาหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ชดุ ที่ 1

13 สงิ่ ทน่ี ่าสงสัยคือ เพราะเหตใุ ดถัว่ ลนั เตาฝกั สเี หลืองจึงไม่ปรากฏในร่นุ F1 ตอ่ มาเมนเดลได้นาเมลด็ ที่เกิดข้ึนไปผสมพนั ธุ์ภายในดอกเดียวกันของรนุ่ F1 ไปปลูก ไดร้ ุ่นหลาน (second filial generation) หรอื รนุ่ F2 เม่อื เจรญิ เติบโตเตม็ ท่ีจึงบนั ทึกลักษณะตา่ งๆ ของรุ่น F2 แลว้ นามาหา อัตราสว่ นของลักษณะในแต่ละคู่ พบวา่ ร่นุ F2 ท่ไี ดท้ ้ังหมด 580 ต้น มีตน้ ทอ่ี อกฝกั สีเขยี ว 428 ตน้ และออกฝกั สีเหลอื ง 152 ต้น คิดเป็นอัตราสว่ นระหว่างต้นท่ีออกฝักสเี ขยี วกบั ตน้ ท่ีออกฝักสีเหลืองของรุ่น F2 เป็น 2.82 : 1 จากน้ันจึงศึกษาในทานองเดยี วกันน้กี ับถว่ั ลันเตาอกี 6 ลกั ษณะ บนั ทกึ ผลที่ไดท้ ้ัง 7 ลักษณะ แลว้ นาผลการผสม พันธม์ุ าเปรียบเทยี บกนั พบว่าเม่อื ได้ทดลองสลบั ลักษณะของพ่อและแม่ ลักษณะของรนุ่ F1 และอัตราส่วน ของลักษณะในแต่ละคู่ในรุ่น F2 ยังคงเปน็ เช่นเดิม ดังตารางที่ 1.1 เชน่ เดียวกบั ทาการทดลองเกี่ยวกับลักษณะ สฝี กั ทีก่ ลา่ วมาข้างต้น ตารางที่ 1.1 แสดงผลการผสมถ่ัวลนั เตาพนั ธุแ์ ท้ท่รี ุน่ พอ่ แมม่ ีลักษณะแตกตา่ งกัน ลกั ษณะทศี่ ึกษา พอ่ x แม่ ร่นุ 1 (F1 ) รุ่น 2 (F2 ) สดั ส่วนของ รุ่นที่ 2 (F2 ) ลกั ษณะเด่น ลกั ษณะด้อย 2.96 : 1 1 รปู ร่างของเมลด็ กลม x ขรขุ ระ กลมท้งั หมด กลม 5,474 ขรขุ ระ 1,850 3.01 : 1 3.15 : 1 2 สขี องเมลด็ สีเหลือง x สเี ขียว สเี หลอื งทงั้ หมด สีเหลอื ง 6,022 สีเขยี ว 2,001 2.95 : 1 2.82 : 1 3 สีของดอก สีมว่ ง x สีขาว สมี ว่ งท้งั หมด สมี ว่ ง 705 สีขาว 224 3.14 : 1 2.84 : 1 4 รูปร่างของฝัก อวบ x แฟบ อวบทัง้ หมด อวบ 882 แฟบ 299 5 สขี องฝกั สีเขียว x สเี หลือง สเี ขียวท้งั หมด สีเขยี ว 428 สเี หลือง 152 6 ตาแหน่งของดอก ทลี่ าต้น x ทด่ี อก ทลี่ าต้นทงั้ หมด ทลี่ าต้น 651 ที่ยอด 207 7 ความยาวของลาต้น สูง x เตี้ย สูงทัง้ หมด สงู 787 เตี้ย 277 ท่ีมา : ปรชี า สุวรรณพินิจ และนงลักษณ์ สวุ รรณพนิ ิจ (2556 : 4) จากตาราง จะเหน็ ไดว้ า่ อตั ราสว่ นของร่นุ F2 มอี ตั ราใกลเ้ คียง 3 : 1 อตั ราการถา่ ยทอดนี้ปรากฏ ในทุกลักษณะที่ทาการผสมพันธุ์เขา้ ด้วยกนั ขอ้ สรุป - เมนเดลสรปุ วา่ ในการถ่ายทอดลกั ษณะของถัว่ ลันเตานัน้ จะต้องมีหน่วยควบคมุ ซงึ่ เมนเดลเรียกว่า แฟกเตอร์ (Factor) - แฟกเตอร์ท่คี วบคุมลกั ษณะของถวั่ ลันเตาจะอยู่เป็นคู่ๆ เช่น ลักษณะตน้ สงู ของถัว่ ลันเตาถกู ควบคมุ ด้วยแฟกเตอร์ตน้ สูง 2 แฟกเตอร์ หรอื อาจเป็นต้นสูงท่ถี ูกควบคุมด้วยแฟกเตอร์ต้นสูงกับต้นเตีย้ - ลกั ษณะของถว่ั ลันเตาทปี่ รากฏในทกุ รุ่นเรียกว่า ลกั ษณะเด่น (Dominant trait) ส่วนลักษณะ ที่ปรากฏให้เห็นในบางรุ่น เรยี กว่า ลักษณะด้อย (Recessive trait) - นักวิทยาศาสตร์ได้เปลยี่ นคาว่าแฟกเตอร์มาใชค้ าว่า ยนี (Gene) แทน - ยนี ทีค่ วบคุมลกั ษณะเด่นว่า ยนี เด่น (Dominant gene) สว่ นยนี ที่ควบคุมลักษณะด้อยว่า ยนี ด้อย (Recessive gene) และยีนด้อยจะไม่แสดงออกเมือ่ เข้าคู่กับยีนเด่น ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถ่ายทอดทางพนั ธกุ รรม โดยใช้วฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั สาหรบั นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ชดุ ท่ี 1

14 หมายเหตุ การระบุว่าลกั ษณะใดเป็นลักษณะเด่นหรือลกั ษณะด้อยไม่สามารถระบุได้จากความถ่ี ของการพบในประชากร แตส่ ามารถระบุได้จากการศกึ ษาการถ่ายทอดลักษณะนนั้ จากรุ่นหน่งึ ไปสู่รุ่นหน่งึ โดยลกั ษณะเด่นจะเปน็ ลักษณะทมี่ โี อกาสปรากฏในรุ่นต่อๆ ไปเสมอ เช่น ลกั ษณะต้นสงู ของถ่ัวลันเตา ในขณะท่ีลักษณะด้อยอาจไม่ปรากฏออกมาในบางรุ่น และแมจ้ ะปรากฏออกมาในบางรุ่นกจ็ ะมีจานวนที่น้อยกว่า ลักษณะเด่น ยนี คอื หน่วยทีค่ วบคุมลกั ษณะตา่ งๆ อยู่เป็นค่ๆู และจะถ่ายทอดลกั ษณะจากพอ่ แมไ่ ปสูล่ กู ยีนเดน่ คอื ยีนทีค่ วบคุมลักษณะแสดงออกในรุ่น F1 ยีนดอ้ ย คอื ยนี ที่ควบคุมลักษณะที่ไม่แสดงออกในรนุ่ F1 แตจ่ ะไปแสดงออกในรนุ่ F2 การเขยี นสญั ลักษณ์แทนยนี นยิ มใชต้ ัวอกั ษรภาษาอังกฤษพมิ พ์ใหญ่และเอน แทน ยีนเด่น เช่น G แทนยีนทค่ี วบคุม ลักษณะฝกั สีเขยี ว หรือ R แทนยีนทีค่ วบคุมลักษณะเมลด็ กลม เปน็ ตน้ นิยมใชต้ ัวอกั ษรภาษาอังกฤษพิมพเ์ ลก็ และเอน แทน ยีนด้อย เช่น g แทนยนี ที่ควบคุม ลกั ษณะฝักสเี หลอื ง หรือและ r แทนยนี ที่ควบคมุ ลกั ษณะเมลด็ ขรขุ ระ เปน็ ต้น สัญลกั ษณ์ทางพนั ธศุ าสตรไ์ ม่ได้กาหนดตายตวั อาจใชต้ ัวอกั ษรใดแทนลักษณะใดก็ไดแ้ ต่ลกั ษณะ เดยี วกนั ต้องใช้ตวั อกั ษรเดียวกนั ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถา่ ยทอดทางพนั ธกุ รรม โดยใช้วัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น สาหรับนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ชุดท่ี 1

15 จะเหน็ ไดว้ า่ ในต้นถัว่ ลนั เตาการควบคุมลกั ษณะใดลักษณะหนง่ึ มักมยี ีนควบคุมอยูเ่ ป็นคู่ ซึ่งมีรปู แบบต่างๆ กันเช่น GG, Gg, gg ยนี ทเ่ี ข้าคู่กนั จะอยู่บนฮอมอโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome) ตาแหนง่ เดียวกันเรยี กว่ายีนนั้นเปน็ แอลลลี (allele) กนั เช่น ยีน G เปน็ ยนี ทเ่ี ข้าค่กู ับ G หรือ g และยนี g เปน็ ยนี ที่เขา้ คู่ กับ g หรอื G ดงั นั้นยีน G และ g จะเป็นแอลลีลต่อกัน ปจั จุบนั พบว่าส่งิ มีชวี ิตทม่ี ียีนควบคมุ ลักษณะตา่ งๆ เป็นจานวนมาก ในสงิ่ มชี วี ติ ทมี่ ีโครโมโซม 2 ชดุ ( 2n ) โครโมโซมแต่ละแท่งจะมคี ู่ของตนเอง โครโมโซมทเ่ี ปน็ คกู่ ันจะมีลกั ษณะเหมอื นกันและมีตาแหนง่ ยนี ทเ่ี ป็น ค่กู นั อยู่ตรงกนั เรยี กโครโมโซมนี้วา่ ฮอมอโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome ) ตาแหนง่ ของยีนท่ีอย่บู นโครโมโซม เรียกว่า โลคัส (locus) ยีนทเ่ี ป็นแอลลีลกันจะอยทู่ ่โี ลคัสเดียวกนั ท่โี ลคัสหนง่ึ ๆ นัน้ อาจมยี ีนที่เป็นแอลลลี กนั มากกว่า 2 แบบก็ได้ ยีนทเ่ี ปน็ คูก่ ันเช่น GG, gg เรียกวา่ ยนี นนั้ เป็นแอลลีลเดียวกนั ยนี ทีเ่ ป็นแอลลีลกันจะอยู่บนโลคสั เดียวกันบนฮอมอโลกัสโครโมโซม จากการศึกษาลักษณะสขี องฝักถ่วั ลนั เตาในตารางที่ 1.1 ถ้า G เปน็ ยนี ควบคุมลกั ษณะฝักสีเขยี ว และ g เป็นยีนควบคมุ ลกั ษณะฝักสเี หลอื ง ถวั่ ลนั เตาในรนุ่ F1 ที่แสดงลกั ษณะฝักสเี ขียวทั้งหมดจะมจี ีโนไทป์ Gg นนั่ คือ G จะเป็นแอลลีลกับยีน g ดงั ภาพท่ี 1-6 แตจ่ ะไมเ่ ป็นแอลลลี กบั ยนี ในตาแหน่งอนื่ ๆ บนโครโมโซม P GG X gg gamete GG gg F1 Gg ลักษณะฝกั สีเขียวทั้งหมด บนฮอมอโลกสั โครโมโซมจะมตี าแหนง่ ของยนี ที่เป็นคอู่ ยู่ตรงกนั เรยี กตาแหน่งของยนี บนฮอมอโลกสั โครโมโซมวา่ โลคัส (locus) ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง การถา่ ยทอดทางพนั ธุกรรม โดยใช้วฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั สาหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ชดุ ที่ 1

16 ภาพท่ี 1-6 โลคัสของยีน G กับยีน g ท่เี ป็นแอลลีลกนั บนฮอโมโลกัสโครโมโซม ทีม่ า : สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2558 : 7) การผสมพนั ธ์ถุ ่วั ลันเตาที่พิจารณาสีของฝัก ถา้ ให้ G แทนยีนทีค่ วบคมุ ลกั ษณะฝักสีเขียวซ่งึ เป็นยนี เด่น สว่ น g แทนยนี ท่คี วบคมุ ลักษณะฝกั สเี หลอื ง ซง่ึ เป็นยีนด้อย ยีนท่อี ยู่เปน็ คู่จะมีโอกาสเปน็ ได้ 3 แบบ คือ GG Gg และ gg ดังนนั้ ต้นถวั่ ลนั เตาทม่ี ียีนเปน็ GG และ Gg จะแสดงลักษณะฝักสเี ขียว สว่ นตน้ ถ่ัวลันเตาที่มยี ีนเปน็ gg จะแสดงลักษณะฝักสเี หลอื ง ยนี ทอี่ ย่ดู ว้ ยกันเปน็ คู่จะนยิ มเขียนสญั ลกั ษณ์แทนดว้ ยตวั อักษร เรยี ก จีโนไทป์ (genotype) และลกั ษณะ ทีป่ รากฏซ่ึงเป็นการแสดงออกของยีน เรยี กวา่ ฟโี นไทป์ (phenotype) เช่น GG แทนยนี ทค่ี วบคมุ จีโนไทป์ คอื คู่ของแอลลีล เช่น GG, Gg และ gg ลักษณะฝกั สเี ขยี ว ท่ีเป็นพนั ธุแ์ ท้ ฟโี นไทป์ คอื ผลท่เี กดิ จากการแสดงออก ของยีน เชน่ ลกั ษณะของฝักฯลฯ ยีนมีรปู แบบตา่ งๆ กนั เช่น GG, Gg, gg - คขู่ องยีนทเี่ หมอื นกนั เชน่ GG, gg เรียกกว่า ฮอมอไซกสั ยนี (homozygous gene) หรือฮอมอไซกสั จโี นไทป์ (homozygous genotype) หรอื พนั ธแ์ุ ท้ - คขู่ องยีนที่ตา่ งกันเช่น Gg เรยี กว่า เฮเทอโรไซกัสยีน (heterozygous gene) หรือ เฮเทอโรไซกัสจีโนไทป์ (heterozygous genotype) ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง การถา่ ยทอดทางพนั ธุกรรม โดยใช้วฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ สาหรับนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ชดุ ท่ี 1

17 ฮอมอไซกสั จโี นไทป (homozygous genotype) มี 2 แบบคอื 1. ฮอมอไซกสั จโี นไทป์ชนดิ เด่นแท้ เรียกฮอมอไซกัสโดมิแนนท์ (homozygous dominant) เชน่ GG 2. ฮอมอไซกัสจีโนไทปช์ นดิ ดอ้ ยแท้ เรียกฮอมอไซกัสรเี ซสซพี (homozygous recessive) เช่น gg ข้อสรปุ จากการวเิ คราะหข์ องเมนเดล 1. การถา่ ยทอดลักษณะหน่ึงลกั ษณะใดของสิ่งมีชีวติ ถกู ควบคมุ โดยปจั จัย (factor) เปน็ คๆู่ ตอ่ มาปัจจัย เหลา่ นั้นถกู เรียกว่า ยีน (gene) 2. ยนี ทีค่ วบคุมลักษณะต่างๆ จะอย่กู ันเปน็ คๆู่ และสามารถถา่ ยทอดไปยงั รนุ่ ต่อไปได้ 3. ลกั ษณะแตล่ ะลักษณะจะมยี นี ควบคุม 1 คู่ โดยมยี ีนหนง่ึ มาจากพอ่ และอีกยนี มาจากแม่ 4. เม่ือมีการสร้างเซลลส์ ืบพันธ์ุ (gamete) ยนี ที่อย่เู ปน็ คู่ๆ จะแยกออกจากกนั ไปอย่ใู นเซลล์สบื พันธุ์ ของแต่ละเซลลแ์ ละยีนเหลา่ นั้นจะเขา้ คกู่ นั ได้ใหมอ่ ีกในไซโกต 5. ลกั ษณะทไ่ี ม่ปรากฏในรุน่ F1 ไม่ได้สญู หายไปไหนเพียงแต่ไมส่ ามารถแสดงออกมาได้ 6. ลักษณะทีป่ รากฏออกมาในรนุ่ F1 มีเพยี งลกั ษณะเดียวเรยี กวา่ ลักษณะเด่น (dominant) สว่ นลกั ษณะที่ ปรากฏในรุน่ F2 และมโี อกาสปรากฏในรุ่นตอ่ ไปได้นอ้ ยกว่า เรียกวา่ ลักษณะด้อย (recessive) 7. ในรุ่น F2 จะได้ลกั ษณะเด่นและลักษณะดอ้ ยปรากฏออกมาเป็นอัตราสว่ น เดน่ : ด้อย = 3 : 1 เหตุผลท่ที าให้เมนเดลประสบผลสาเร็จในการทดลอง 1. เมนเดลรจู้ ักเลอื กชนดิ ของพืชมาทาการทดลอง 1.1 เป็นพชื ท่ีปลกู งา่ ย อายสุ ั้น ไมต่ ้องทานุบารงุ รักษามากนัก ใช้เวลาตั้งแต่ปลูก จนถึงเกบ็ เกีย่ วภายในหนึ่งฤดูปลกู (Growing season) หรอื ประมาณ 3 เดอื น เทา่ นัน้ ทาให้ทราบผลการทดลอง ไดเ้ ร็วกว่าพืชชนิดอืน่ และยงั ให้เมลด็ ในปริมาณทม่ี ากด้วย 1.2 เป็นพชื ทีม่ ีลกั ษณะทางพันธุกรรมทแี่ ตกต่างกันชดั เจนหลายลกั ษณะ มหี ลายพันธุ์ทาให้มีโอกาส เลอื กพันธ์ุมาศึกษาได้มาก เชน่ ต้นสงู ตน้ เต้ียเมลด็ เรยี บ เป็นต้น 1.3 สามารถผสมพันธ์ุได้ภายในดอกเดยี วกัน เพราะเป็นดอกสมบูรณ์เพศ 1.4 ดอกถ่วั ลนั เตามโี ครงสร้างป้องกันมิใหล้ มและแมลงพาละอองเรณูมาผสมกบั เกสรตวั เมียได้งา่ ยๆ เพราะมกี ลีบดอกคลมุ ยอดเกสรตัวเมยี และเกสรตัวผู้ไว้ปอ้ งกนั ไม่ให้เรณจู ากดอกอ่ืนเข้ามาผสมกบั ไข่ในธรรมชาติ จึงเกิดการผสมภายในดอกเดียว( Self- fertilized) ทาให้ได้ลกู เป็นพนั ธุ์แท้ ทาให้สามารถควบคุมการผสมพนั ธุ์ กับละอองเรณูตามต้องการได้ เมือ่ ต้องทาการผสมข้ามพนั ธุ์ (Cross-fertilized) เพื่อสร้างลกู ผสมก็ทาได้งา่ ย โดยวิธผี สมโดยใช้มือช่วย (Hand pollination) ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถา่ ยทอดทางพันธกุ รรม โดยใชว้ ฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ สาหรบั นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ชดุ ท่ี 1

18 2. เมนเดลรู้จกั วางแผนการทดลอง 2.1 ลกั ษณะที่เมนเดลศึกษาถูกควบคมุ ด้วยยนี เพียงคู่ เดยี วเท่าน้ันและสามารถแยกลักษณะต่างๆ ไดอ้ ย่างสมบูรณ์ โดยเมนเดลพยายามหลีกเล่ียงลกั ษณะที่ถูกควบคุมโดยยีนหลายคู่ ทาให้วิเคราะห์ผลได้งา่ ยขึน้ 2.2 เลอื กศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของถ่วั ลันเตาทลี ะลักษณะก่อนเมื่อเข้าใจหลกั การถ่ายทอดลักษณะ นนั้ ๆ แล้ว เขาจงึ ไดศ้ ึกษาการถ่ายทอดสองลกั ษณะไปพร้อมๆ กัน 2.3 ในการผสมพนั ธุ์จะใช้พ่อแมพ่ นั ธ์ุแท้ (Pure line) ในลกั ษณะทตี่ รงกนั ข้ามกนั มาทาการผสมข้ามพันธุ์ เพอ่ื สร้างลูกผสมโดยใช้มือช่วย (Hand pollination) ทาให้ไดล้ ักษณะต่างๆ ทอี่ อกมาเป็นแบบเดยี วกนั 2.4 เป็นนกั คณิตศาสตร์ใช้หลักสถติ ิเปรยี บเทียบ ประกอบกับมคี วามรู้พื้นฐานวธิ ผี สมพันธ์ุพืช และการปรับปรุงพนั ธุ์พชื โดยมกี ารวางแผนทด่ี ี ฉลาดในการเลอื กใช้พชื ในการศึกษาทดลอง โดยเกบ็ ข้อมูล หลายรุ่น หลายลกั ษณะเป็นข้อมูลทม่ี ากพอ และมีการควบคมุ อย่างดี 2.5 ลักษณะท่ีเมนเดลศกึ ษาเป็นลักษณะเด่นสมบรู ณ์ (Complete dominance) และลักษณะท้ัง 7 ลักษณะของถัว่ ลันเตาทีศ่ ึกษากระจายอยู่ในโครโมโซมต่างแท่งกนั หรือเป็นอิสระต่อกัน (Independent gene) ตารางที่ 1.2 แสดงคาศพั ท์ท่ีควรรูใ้ นการศกึ ษาพันธุศาสตร์ คาศัพท์ ความหมาย 1. จีโนไทป์ (genotype) แบบของยนี ท่ีควบคุมลกั ษณะจาแนกเป็น 3 ประเภทคือ 1.1 ฮอมอไซกสั จีโนไทป์ (homozygous genotype) เปน็ จีโนไทปท์ ่มี ยี ีน เหมอื นกันมักเรียกวา่ พนั ธแุ์ ท้ซ่งึ มี 2 ประเภทคือ - ฮอมอไซกัสโดมแิ นนท์ (homozygous dominant) เป็นจโี นไทป์ที่ประกอบดว้ ย ยนี เด่น เชน่ TT, SS, GG, RR มักเรยี กว่า พันธุแ์ ทข้ องลักษณะเด่น - ฮอมอไซกัสรีเซสสีพ (homozygous recessive) เป็นจโี นไทป์ที่ประกอบดว้ ยยีน ดอ้ ย เชน่ tt, ss, gg, rr มักเรียกวา่ พันธ์ุแท้ของลักษณะด้อย 1.2 เฮเทอโรไซกสั จีโนไทป์ (heterozygous genotype) เป็นจีโนไทปท์ ี่ ประกอบด้วยยีนต่างกนั มกั เรียกวา่ พันธุ์ทางหรือพันธไุ์ มแ่ ท้ เช่น Tt, Ss, Gg, Rr 1.3 เฮมไิ ซกัสจโี นไทป์ (hemizygous genotype) แสดงรูปแบบของยนี ทีม่ เี พียง ยนี เดียวในการควบคุมพนั ธุกรรมหนง่ึ เชน่ XCY, XcY 2. เซลล์สืบพันธุ์ ไขห่ รือสเปิร์มซ่ึงเปน็ โครงสร้างท่ีบรรจสุ ารพนั ธกุ รรมท่ีจะถ่ายทอดไปยงั รุ่นลกู (gamete หรอื sex cell) เมอื่ มีการปฏิสนธิเกดิ ขน้ึ ในเซลลส์ ืบพนั ธุจ์ ะไม่มียีนทเี่ ปน็ แอลลลี (allele) กนั 3. ฟโี นไทป์ (phenotype) ลักษณะของสิง่ มชี วี ติ ทป่ี รากฏออกมาเน่ืองจากการแสดงออกของยนี และอิทธพิ ลของสงิ่ แวดล้อม (ฟีโนไทป์ = จโี นไทป์ + ส่งิ แวดลอ้ ม) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถ่ายทอดทางพนั ธกุ รรม โดยใช้วฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน สาหรบั นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ชุดท่ี 1

4. มัลตเิ ปิลแอลลีล 19 (multipleallene) เปน็ ความแปรผันของลักษณะทางพนั ธุกรรม 5. ยนี (gene) กลมุ่ แอลลลี ท่ีมียีนมากกวา่ 2 แบบข้ึนไป เช่น ลกั ษณะพันธุกรรมของ หมู่เลอื ดในระบบ ABO ซงึ่ เป็นลกั ษณะทคี่ วบคุมดว้ ยยีน 3 แอลลีล คือ I A แทนแอลลีลท่คี วบคมุ การสังเคราะหแ์ อนติเจน A , IB แทนแอลลลี ท่ีควบคุมการสังเคราะห์แอนติเจน B และ i แทนแอลลีลที่ไม่ควบคมุ การสงั เคราะห์แอนตเิ จน A และแอนตเิ จน B หนว่ ยควบคุมลักษณะพนั ธุกรรมของส่ิงมีชีวิตซงึ่ เปน็ สารเคมจี าพวกกรดนวิ คลีอิก โดยเฉพาะชนิด DNA จะพบมากท่ีสดุ หรือชนดิ RNA ในไวรัสบางชนดิ และไวรอยด์ คาศพั ท์ ความหมาย 6. ลกั ษณะเดน่ ลกั ษณะทป่ี รากฏออกมาในรุ่นลูกหรอื รนุ่ ตอ่ ๆ ไปเสมอ (dominant trait) 7. ลกั ษณะด้อย ลกั ษณะท่ีไม่แสดงออกในทุกรุ่นและแสดงออกได้น้อยกว่า เป็นยีนที่แฝงอยจู่ ะถูกขม่ (recessive trait) โดยยีนเด่น 8. โลคัส (locus) ตาแหนง่ ของยีนบนโครโมโซม ยีนทคี่ วบคมุ ลักษณะพนั ธกุ รรมเดียวกนั จะมีตาแหนง่ ตรงกันบนฮอมอโลกัสโครโมโซม 9. แอลลลี (allele) ยนี ต่างชนดิ กันทเ่ี ขา้ คู่กันได้ หรอื หนว่ ยพนั ธุกรรมท่ีต่างชนดิ กนั แต่อยู่ในตาแหนง่ เดียวกนั ของโครโมโซมที่เปน็ คู่กนั ซึ่งเรียกโครโมโซมน้ีว่า ฮอมอโลกสั โครโมโซม 10. เฮเทอโรไซกัสยีน ยีนที่ต่างกันอยู่ดว้ ยกนั เช่น Tt, Aa, Bb (heterozygous gene) 11. ฮอโมไซกสั ยนี ยนี ทีเ่ หมอื นกันอยู่ด้วยกัน เชน่ TT, tt, AA (homozygous gene) 12. ฮอมอโลกสั โครโมโซม โครโมโซมทีเ่ ป็นคู่กนั มีรูปแบบเหมือนกนั โดยทอ่ นหนง่ึ มาจากพ่อ (homologous ทอ่ นหนงึ่ มาจากแม่ chromosome) 13. เฮเทอโรไซกสั โครโมโซมท่ีเปน็ คูก่ ันมีรูปแบบต่างกนั โดยท่อนหน่งึ มาจากพ่อ โครโมโซม ทอ่ นหนงึ่ มาจากแม่ (heterozygous chromosome) ทีม่ า : https://www.gotoknow.org/posts/139233 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถ่ายทอดทางพนั ธกุ รรม โดยใช้วัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน สาหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ชุดท่ี 1

20 คาสัง่ ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ....................................................................................................................................................... 1. ใครคือบิดาแห่งวิชาพนั ธุศาสตร์ (1 คะแนน) ............................................................ ......................................................................................................... ............... 2. นกั เรียนคดิ ว่ามีเหตผุ ลอะไรบ้างที่ทาใหเ้ มนเดลเลือกถ่วั ลนั เตาเปน็ พชื ทดลอง (1 คะแนน) ............................................................................................................................. ....................................................... 3. นักเรยี นคิดวา่ เพราะเหตุใดการทดลองของเมนเดลจงึ ประสบความสาเร็จ (1 คะแนน) ............................................................................................................................. ....................................................... 4. จงบอกลกั ษณะของถ่วั ลนั เตาทง้ั 7 ลกั ษณะท่ีเมนเดลเลือกมาศึกษา (2 คะแนน) ............................................................................................................................... ..................................................... 5. จงบอกขน้ั ตอนการทดลองของเมนเดล (2 คะแนน) ............................................................................................................................. ....................................................... 6. จงศกึ ษาผลการทดลองของเมนเดลแลว้ ตอบคาถาม (3 คะแนน) เม่อื ผสมถ่ัวลนั เตาต้นสูงกับต้นเตยี้ ลูกรุ่น F1 เป็นต้นสงู ทงั้ หมด และเม่ือผสมลกู รุ่น F2 มีต้นสูง 787 ต้น และตน้ เตยี้ 277 ต้น 6.1 ลกั ษณะเดน่ ของถั่วลนั เตาคอื ....................................................................................................................... 6.2 ลักษณะด้อยของถว่ั ลนั เตาคอื ....................................................................................................................... 6.3 เหตุทตี่ ้นเต้ียไม่ปรากฏในรุ่น F1 เพราะ....................................................................................................... 6.4 ลูกรนุ่ F2 มีลักษณะ..................................................................................................................... ................ 6.5 อตั ราสว่ นของลูกรนุ่ F2 คอื ......................................................................................................................... 6.6 ลกู รุ่น F1 ตา่ งจากรนุ่ F2 ............................................................................................................................. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การถ่ายทอดทางพนั ธกุ รรม โดยใช้วัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ สาหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ชุดท่ี 1

21 คาสั่ง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงเตมิ เซลล์สืบพนั ธแ์ุ ละจโี นไทป์ลงในช่องวา่ ง (3 คะแนน) 1.1 P X AA AA gamet A A AA e et F1 ..... ….. ….. ….. 1.2 ………………………………………………………………………………………………………………………………….. P AA aa gamet …. A a ….. e et ..... ….. ….. ….. F1 1.3 ………………………………………………………………………………………………………………………………….. P Aa Aa gamet …. … ….. ….. e et ….. ….. ….. ใ..... F1 .…..... ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การถา่ ยทอดทางพนั ธุกรรม โดยใช้วฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ สาหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ชดุ ท่ี 1

22 2. ศึกษาภาพแลว้ ตอบคาถาม (3 คะแนน) P ฝกั สเี ขียว X ฝกั สีเหลอื ง กาหนด B แทนยนี ทีค่ วบคุมลักษณะฝักสเี ขียว b แทนยนี ทค่ี วบคุมลกั ษณะฝกั สีเหลือง 2.1 Genotype และ Phenotype ของรนุ่ พ่อแม่………………………………………………………………………. 2.2 Genotype และ Phenotype ของร่นุ F1………………………………………………………………………….. 2.3 Homozygous Genotype …………………………………………………………………………………………. 2.4 Homozygous Dominant …………………………………………………………………………………………. 2.5 Homozygous Recessive …………………………………………………………………………………………. 2.6 Heterozygous Genotype…………………………………………………………………………………………. 3. ให้นกั เรยี นจับคู่ข้อความต่อไปนี้ โดยนาตวั อักษรที่อยู่ทางขวามือใส่ลงหนา้ ขอ้ ความใหม้ คี วามสัมพันธก์ นั มากท่สี ดุ (4 คะแนน) 3.1……….จีโนไทป์ ก. แบบของยนี ที่ควบคุมลกั ษณะ 3.2……….ฟีโนไทป์ 3.3……….แอลลีล ข. ไข่หรอื สเปริ ม์ ซ่ึงเป็นโครงสร้างทบ่ี รรจุสารพนั ธุกรรม 3.4……….โลคัส ค. ลกั ษณะของส่ิงมชี วี ติ ท่ีปรากฏออกมาเน่ืองจากการแสดงออก 3.5……….เฮเทอโรไซกสั ยนี ของยนี และอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม 3.6……….ฮอมอไซกสั ยีน ง. กลมุ่ แอลลีลท่ีมียีนมากกว่า 2 แบบขนึ้ ไป 3.7……….เฮเทอโรไซกสั โครโมโซม จ. ตาแหน่งของยีนบนโครโมโซม 3.8……….ฮอมอไซกสั โครโมโซม ฉ. ลกั ษณะท่ีปรากฏออกมาในร่นุ ลกู หรอื รุ่นตอ่ ๆ ไปเสมอ 3.9……….ลักษณะเด่น ช. ลกั ษณะท่ไี มแ่ สดงออกในทกุ รุ่นและแสดงออกไดน้ ้อยกวา่ 3.10………ลกั ษณะดอ้ ย เปน็ ยีนทีแ่ ฝงอยู่จะถูกข่มโดยยนี เด่น 3.11………มลั ติเปลิ อัลลีล ซ. ยีนตา่ งชนดิ กนั ที่เขา้ คูก่ ันไดห้ รือหนว่ ยพันธุกรรมทต่ี ่างชนิดกัน 3.12………เซลล์สืบพันธ์ุ แตอ่ ยูใ่ นตาแหน่งเดียวกันของโครโมโซมทเ่ี ป็นคกู่ นั ฌ. ยนี ทตี่ า่ งกันอยดู่ ้วยกนั เชน่ Tt, Aa, Bb ญ. ยนี ทเี่ หมือนกนั อยูด่ ว้ ยกนั เช่น TT, tt, AA ฎ. โครโมโซมท่เี ปน็ คกู่ ันมีรปู แบบตา่ งกันโดยท่อนหน่งึ มาจากพ่อ ท่อนหนึ่งมาจากแม่ ฐ. โครโมโซมที่เปน็ คกู่ ันมีรูปแบบเหมือนกันโดยทอ่ นหนึ่งมาจากพอ่ ทอ่ นหนึง่ มาจากแม่ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การถ่ายทอดทางพันธกุ รรม โดยใช้วัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั สาหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 ชุดท่ี 1

23 คาสง่ั ใหน้ ักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ใครคือบดิ าแหง่ วชิ าพันธุศาสตร์ (1 คะแนน) ตอบ เกรเกอร์ โยฮนั เมนเดล 2. นักเรยี นคดิ วา่ มีเหตผุ ลอะไรบ้างท่ีทาใหเ้ มนเดลเลอื กถั่วลันเตาเปน็ พชื ทดลอง (1 คะแนน) ตอบ เหตผุ ลที่ทาให้เมนเดลเลอื กถว่ั ลันเตาเปน็ พชื ทดลองเพราะ ถว่ั ลันเตามีลกั ษณะทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะเปน็ พืชทดลอง ดังนี้ - เปน็ พชื ฤดูเดียว อายุสัน้ ปรากฏผลการทดลองได้ในระยะเวลาไม่นาน - ปลกู ง่าย เจรญิ เติบโตเร็ว ให้ลูกหลานจานวนมากในแต่ละครัง้ ทาใหข้ ้อมูลจากการทดลองน่าเช่ือถือมาก ขึ้น - มหี ลายลกั ษณะในพนั ธุ์เดยี ว แตล่ ะลักษณะแตกตา่ งกนั อยา่ งชดั เจน - เปน็ ดอกสมบูรณเ์ พศ ผสมในดอกเดียวกนั มกี ลีบดอกปิดกลุม่ เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมยี ป้องกันไมใ่ ห้ เรณจู ากดอกอ่นื เข้าผสมกับเซลลไ์ ข่ จึงควบคุมการผสมข้าม (crossfertilization) ได้งา่ ย 3. นักเรยี นคิดวา่ เพราะเหตใุ ดการทดลองของเมนเดลจงึ ประสบความสาเรจ็ (1 คะแนน) ตอบ การทดลองของเมนเดลประสบความสาเรจ็ เนอ่ื งจาก 1. ลกั ษณะท่ีเมนเดลศกึ ษาถูกควบคมุ ด้วยยนี เพยี งค่เู ดยี วเท่านนั้ และสามารถแยกลกั ษณะตา่ งๆ ได้อย่างชัดเจน เชน่ ตน้ สูง ต้นเต้ีย เมล็ดเรยี บ เมลด็ ขรขุ ระ เปน็ ตน้ 2. ตน้ ถัว่ ลันเตาเปน็ ตน้ ถวั่ ทห่ี างา่ ย ปลกู งา่ ย อายุสนั้ และให้เมล็ดได้จานวนมาก นอกจากนสี้ ามารถ ควบคุมการผสมพันธไ์ุ ด้ 3. เมนเดลใช้รุน่ พอ่ แมท่ เี่ ป็นพนั ธแ์ุ ทม้ าผสม ทาให้ลกั ษณะตา่ งๆ ที่ออกมาเป็นแบบแผนเดียวกัน 4. จงบอกลกั ษณะของถวั่ ลันเตาทงั้ 7 ลักษณะทีเ่ มนเดลเลือกมาศึกษา (2 คะแนน) ตอบ ลักษณะของถั่วลันเตาท้ัง 7 ลักษณะ ได้แก่ 1. รปู ร่างของเมล็ด (มีเมลด็ กลมและเมล็ดขรุขระ) 2. สีของเมลด็ (มีเมล็ดสีเหลืองและเมล็ดสีเขียว) 3. รูปของร่างของฝกั (มีฝักอวบและฝักแฟบ) 4. สขี องฝกั (มีฝักสเี ขียวและฝักสีเหลือง) 5. ตาแหนง่ ของดอก (มีดอกเกิดที่ก่ิงและดอกเกิดท่ียอด) 6. สีของดอก (มีดอกสีม่วงและดอกสขี าว) 7. ความสูงของลาต้น (มีต้นสงู และต้นเตี้ย) 5. จงบอกขน้ั ตอนการทดลองของเมนเดล (2 คะแนน) ตอบ ขั้นตอนการทดลองของเมนเดล ประกอบด้วย 1. เมนเดลคดั เลอื กลกั ษณะของถั่วลันเตาที่แตกต่างกันอย่างชดั เจน 7 ลกั ษณะ 2. แตล่ ะลกั ษณะผสมภายในดอกเดยี วกันหลายๆ รนุ่ จนได้ลักษณะท่ีเปน็ พนั ธแุ์ ท้ 3. คัดเลือกต้นพ่อแมท่ ี่มีลกั ษณะแตกต่างกัน เชน่ รูปร่างเมล็ดกลมกับเมล็ดขรุขระ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม โดยใชว้ ฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน สาหรบั นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ชุดท่ี 1

24 4. ร่นุ พ่อแม่เปน็ พันธ์ุแท้ เช่น ฝกั อวบพันธแ์ุ ท้ผสมกบั ฝกั แฟบพันธ์ุแท้ 5. พจิ ารณาการผสมกนั ทลี ะลกั ษณะ 6. การผสมในทกุ ลักษณะ เมนเดลไดน้ าเอาเกสรตัวผู้ไปผสมกบั เกสรตัวเมียของต้นที่ต้องการ 7. สังเกตลกั ษณะและนบั จานวนลูกรุน่ ท่ี 1 8. นาลกู รุน่ ที่ 1 ผสมกนั เองสงั เกตลกั ษณะและนบั จานวนลูกรุ่นท่ี 2 6. จงศกึ ษาผลการทดลองของเมนเดลแล้วตอบคาถาม (3 คะแนน) เมื่อผสมถั่วลันเตาตน้ สูงกับต้นเตี้ย ลกู รนุ่ F1 เป็นต้นสูงทัง้ หมด และเมื่อผสมลกู รนุ่ F2 มตี น้ สูง 787 ต้น และตน้ เต้ยี 277 ต้น 6.1 ลักษณะเดน่ ของถวั่ ลนั เตาคือ.... ตอบ ต้นสูง 6.2 ลักษณะด้อยของถ่ัวลันเตาคือ..... ตอบ ตน้ เต้ีย 6.3 เหตุท่ีต้นเต้ยี ไม่ปรากฏในรุน่ F1 เพราะ..... ตอบ เพราะเป็นลักษณะดอ้ ย โดนลักษณะเด่น คือต้นสูงขม่ ไว้ 6.4 ลูกรุ่น F2 มลี ักษณะ..... ตอบ มที ้ังสองลกั ษณะ คือต้นสูงและตน้ เต้ยี 6.5 อัตราสว่ นของลูกรนุ่ F2 คอื ..... ตอบ อัตราสว่ น ตน้ สงู : ต้นเต้ยี คอื 3 : 1 6.6 ลกู รุ่น F1 ตา่ งจากรุน่ F2 คือ..... ตอบ ลกู รุ่น F1 จะมีเพียงลักษณะเดียว แต่ลูกรนุ่ F2 มที ้ังสองลักษณะ เกง่ ทสี่ ุดเลยๆ ..... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การถ่ายทอดทางพันธกุ รรม โดยใชว้ ฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ สาหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ชุดท่ี 1

25 คาสัง่ ใหน้ ักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. จงเติมเซลล์สบื พันธ์ุและจีโนไทป์ลงในชอ่ งว่าง (3 คะแนน) 1.1 P X AA AA gamet A A AA e et F1 AA AA AA AA 1.2 ………………………………………………………………………………………………………………………………….. P AA aa gamet A A aa e et Aa Aa Aa Aa F1 1.3 ………………………………………………………………………………………………………………………………….. P Aa Aa gamet A a Aa e et Aa Aa aa ใ..... F1 A…A. ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถ่ายทอดทางพนั ธกุ รรม โดยใช้วฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั สาหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ชุดที่ 1

26 2. ศกึ ษาภาพแล้วตอบคาถาม (3คะแนน) P X ฝักสีเขียว ฝักสีเหลือง กาหนด B แทนยนี ท่คี วบคมุ ลักษณะฝักสเี ขยี ว b แทนยนี ท่ีควบคมุ ลกั ษณะฝกั สีเหลอื ง 2.1 Genotype และ Phenotype ของรนุ่ พ่อแม่ (Genotype ของพ่อแม่คือ BB x bb Phenotype ของ P คอื ฝักสีเขียว x ฝกั สีเหลอื ง) 2.2 Genotype และ Phenotype ของรุ่น F1 (Genotype ของ F1 คอื Bb Phenotypeของ F1 คือ ฝกั สีเขียว) 2.3 Homozygous Genotype (BB, bb) 2.4 Homozygous Dominant (BB) 2.5 Homozygous Recessive (bb) 2.6 Heterozygous Genotype (Bb) 3. ใหน้ กั เรียนจบั คขู่ ้อความต่อไปนี้ โดยนาตัวอักษรท่ีอยูท่ างขวามอื ใส่ลงหน้าข้อความให้มีความสมั พนั ธก์ นั มากที่สุด (4 คะแนน) ก. แบบของยีนที่ควบคุมลักษณะ 3.1…ก…….จโี นไทป์ ข. ไข่หรอื สเปิร์มซึ่งเปน็ โครงสรา้ งที่บรรจสุ ารพันธุกรรม 3.2…ค…….ฟีโนไทป์ ค. ลกั ษณะของสิ่งมีชีวิตทปี่ รากฏออกมาเน่ืองจากการแสดงออก 3.3…ซ…….แอลลีล ของยีนและอิทธพิ ลของสงิ่ แวดลอ้ ม 3.4…จ…….โลคัส ง. กล่มุ แอลลลี ทม่ี ียนี มากกว่า 2 แบบข้นึ ไป 3.5…ฌ…….เฮเทอโรไซกสั ยนี จ. ตาแหน่งของยนี บนโครโมโซม 3.6…ญ…….ฮอมอไซกสั ยนี ฉ. ลักษณะท่ีปรากฏออกมาในรนุ่ ลูกหรือรุ่นตอ่ ๆ ไปเสมอ 3.7…ฐ…….เฮเทอโรไซกสั โครโมโซม ช. ลกั ษณะทไี่ ม่แสดงออกในทกุ ร่นุ และแสดงออกได้น้อยกวา่ 3.8…ฎ…….ฮอมอไซกสั โครโมโซม เปน็ ยีนท่แี ฝงอย่จู ะถูกข่มโดยยีนเดน่ 3.9…ฉ…….ลกั ษณะเด่น ซ. ยีนตา่ งชนิดกนั ท่ีเข้าคู่กนั ไดห้ รอื หนว่ ยพนั ธุกรรมทต่ี ่างชนิดกนั 3.10…ช……ลกั ษณะด้อย แตอ่ ยู่ในตาแหนง่ เดียวกันของโครโมโซมที่เปน็ คูก่ ัน 3.11…ง……มัลติเปลิ อลั ลีล ฌ. ยนี ท่ีตา่ งกนั อยดู่ ้วยกนั เช่น Tt, Aa, Bb 3.12…ข……เซลลส์ บื พันธุ์ ญ. ยนี ท่ีเหมือนกนั อยู่ด้วยกนั เช่น TT, tt, AA ฎ. โครโมโซมทเ่ี ป็นคกู่ นั มรี ูปแบบตา่ งกนั โดยท่อนหน่งึ มาจากพ่อ ทอ่ นหน่ึงมาจากแม่ ฐ. โครโมโซมทเ่ี ปน็ คูก่ ันมรี ปู แบบเหมือนกันโดยท่อนหนึ่งมาจากพ่อ ทอ่ นหนึง่ มาจากแม่ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม โดยใช้วัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ชดุ ท่ี 1

27 ข้อ ตัวเลอื ก 1ง 2ค 3ก 4ข 5ข 6ก 7ค 8ค 9ง 10 ค ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การถา่ ยทอดทางพันธกุ รรม โดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น สาหรบั นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ชดุ ท่ี 1

28 บรรณานุกรม กรมวชิ าการ. (2551ก). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นุม สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. . (2551ข). ตัวชี้วัดและสาระแกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย. กศนต์ ภารยาท. (2560). เรยี นชีววทิ ยากับครูกศนต์ ภารยาท. [Online]. Available : http://www.kas- kasanapharayat.blogspot.com. [ 2560, มีนาคม 25] นริ าภร ทองคาแท.้ (2559). การทดลองของเมนเดล. [Online]. Available : http://119.46.166.126/self_all/selfaccess12/m6/550/lesson1/content6_1.php. [ 2560, มีนาคม 25] ประสงค์ หลาสะอาด. (2555). ค่มู ือรายวิชาเพิ่มเติม ชวี วิทยา ม.4 – 6 เลม่ 4. กรุงเทพฯ : ธนธัชการพมิ พ์. ประสาท เนืองเฉลิม. (2552, ตลุ าคม – ธนั วาคม). “ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบ 7 ขั้น” วารสารวิชาการ. 10(4) : 25 – 30. ปรีชา สุวรรณพนิ ิจ และนงลักษณ์ สุวรรณพนิ ิจ. (2556). High School Biology ชวี วทิ ยา ม.4 - 6 เล่ม 4. กรงุ เทพฯ : ชยั ภัทร พริ้นตง้ิ . ปิยะพงษ์ ผวิ ขา. (2559). การคน้ พบทางพันธุศาสตร.์ [Online]. Available : https://sites.google.com/site/piyaphongnate/kar-khn-phb-thang-phanthu-sastr. [ 2560, มนี าคม 25] พจน์ แสงมณี และขวัญสดุ า ประวะภูโต. (2552). Compact ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5. กรงุ เทพฯ : กรีนแอปเป้ิลกราฟฟิค พรน้ิ ติง้ . มณีรตั น์ รูปประดิษฐ.์ (2550). การศึกษาพนั ธศุ าสตรข์ องเมนเดล. [Online]. Available : https://www.gotoknow.org/posts/139233. [ 2560, มีนาคม 26] เยาวดี วิบลู ยศ์ ร.ี (2545). การวัดผลและการสร้างแบบทดสอบผลวดั สัมฤทธิ์. พมิ พค์ รั้งที่ 3. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2556). คมู่ ือครู รายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. . (2558). หนังสือเรียนรายวิชาเพ่ิมเติม ชีววิทยา เล่ม 4. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ สุ ภาลาดพรา้ ว. สมาน แก้วไวยทุ ธ. (2556). ชวี วิทยา ม.4 – 6 เล่ม 4. กรุงเทพฯ : ฐานบณั ฑิต. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การถา่ ยทอดทางพนั ธกุ รรม โดยใชว้ ฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ สาหรับนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ชดุ ท่ี 1

29 ประวัตยิ อ่ ผสู้ รา้ งนวตั กรรม ชอ่ื –สกลุ นางจนั จิรา หมน่ั บอ่ แก วัน เดือน ปี เกดิ ทีอ่ ยู่ปัจจุบนั 6 ธันวาคม พ.ศ. 2519 ทีท่ างานปจั จุบัน บา้ นเลขที่ 201 หมู่ 3 ตาบลสงั ขะ อาเภอสงั ขะ จังหวัดสุรินทร์ ตาแหน่งหน้าท่ี ประวัติการศกึ ษา โรงเรียนสงั ขะ อาเภอสังขะ จังหวดั สุรนิ ทร์ 32150 โทรศัพท์มอื ถอื 09 –3316 –5669 ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ พ.ศ. 2542 ปรญิ ญาตรคี รุศาสตรบัณฑติ ค.บ. วชิ าเอก ชีววทิ ยา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า จังหวดั นครราชสมี า ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถา่ ยทอดทางพันธุกรรม โดยใช้วัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั สาหรบั นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ชดุ ท่ี 1

30 ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง การถา่ ยทอดทางพนั ธุกรรม โดยใช้วฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ สาหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ชุดที่ 1