เฉลยมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ20104-2008

20104-2008   มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ                                   1-6-3

(AC Motors)


จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

1.     เข้าใจ ชนิด โครงสร้าง ส่วนประกอบ หลักการทำงานและคุณลักษณะของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส

2.       มีทักษะในการตรวจซ่อมมอเตอร์ การถอดประกอบ พันขดลวด การต่อวงจรการทดสอบ และการบำรุงรักษา

3.      มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน มีความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย เป็นระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ


สมรรถนะรายวิชา

1.      แสดงความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส ชนิดต่าง ๆ

2.       ถอดและประกอบชิ้นส่วน การพันขดลวดและต่อวงจรของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส

3.       วัดและทดสอบคุณลักษณะสมบัติของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส

4.     ใช้งานและบำรุงรักษาการตรวจซ่อมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส


คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับชนิด โครงสร้างและส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟสและ 3 เฟสและมอเตอร์ไฟฟ้าหลายความเร็ว หลักการทำงาน การกลับทิศทางการหมุน คุณลักษณะการนำไปใข้งานและ บำรุงรักษามอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส งานถอดประกอบมัดขดลวด มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส งานทำฟอร์มคอยล์ พันขดลวดมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส งานลงขดลวด มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส งานการต่อวงจรมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส งานการทดสอบวงจรมอเตอร์กระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส

เวอรแ์ ซล มอเตอร์ 3 เฟส แบ่งตามโครงสร้างโรเตอร์ได้ 2 ชนดิ คอื มอเตอรท์ ่ีมีโรเตอรเ์ ป็นชนิดกรงกระรอก
และมอเตอร์ที่มีโรเตอร์เป็นชนดิ พันขดลวดหรือวาวด์โรเตอร์ มอเตอร์ 3 เฟสมีขดลวดพันท่ีสเตเตอร์จำนวน

3 ชดุ วางหา่ งกนั 120 องศาไฟฟ้า โครงสร้างของมอเตอร์ 3 เฟส มสี ว่ นประกอบหลัก คอื สเตเตอร์ โรเตอร์
และ
ฝาครอบ

หลกั การทำงานของมอเตอร์ 3 เฟส ซึ่งอาศัยหลักการเหนี่ยวนำทางแม่เหล็กไฟฟา้ จากสเตเตอรไ์ ป
ยงั โรเตอร์ โดยใช้หลักการต่างเฟสของกระแสไฟฟา้ ในขดลวดท้ัง 3 ชุด ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กหมุนในสเต

เตอร์ไปเหนี่ยวนำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหลในโรเตอร์ ซึ่งกระแสไฟฟา้ ที่ไหลในโรเตอร์จะสร้างสนามแม่เหล็ก
มาต้านกบั สนามแม่เหล็กทสี่ เตเตอร์ จงึ ทำให้โรเตอร์หมนุ ในทิศทางเดียวกับสนามแมเ่ หล็กหมนุ

การต่อวงจรขดลวดมอเตอร์ 3 เฟส มีวธิ ีการต่อวงจรเพื่อนำไปใช้งาน 2 แบบ คือ แบบสตาร์และ

แบบเดลตา
การกลบั ทิศทางการหมุนของมอเตอร์ 3 เฟส สามารถทำได้โดยการสลับปลายสายของแหล่งจ่าย

ไฟฟ้าท่ีจา่ ยให้มอเตอรค์ ่ใู ดคู่หนง่ึ หรอื การสลบั ข้ัวสายของมอเตอร์คใู่ ดคู่หนงึ่ กไ็ ด้
การบูรณาการกิจกรรมการเรยี นการสอนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

พอประมาณ คอื การรว่ มมอื รว่ มใจในการประหยดั พลังงานเพอ่ื ลดโลกร้อนถอื เป็นส่วนทม่ี กี าร

รณรงค์มากที่สดุ ในปจั จุบนั สามารถทำไดโ้ ดยหลายวธิ ี เชน่ การทำแบบของฉนวนรองรอ่ งสลอ๊ ตให้พอดีกบั
รอ่ งสล๊อต ทำแบบในการพนั ขดลวดให้พอดี

มเี หตุผล คอื การรจู้ ักนึกถงึ ผลกระทบท่ีจะเกดิ ขึน้ จากการกระทำตา่ งๆของเรา เชน่ การทำแบบของ
ฉนวนรองรอ่ งสลอ๊ ตใหพ้ อดีกับรอ่ งสล๊อตจะทำให้ลดปริมาณการใช้ฉนวน ทำแบบในการพนั ขดลวดให้พอดี
กบั การพันขดลวดเพอื่ ลดปรมิ าณการใช้ลวดทองแดง

มภี มู คิ มุ้ กนั ในตัวเอง คือการเตรยี มตวั ให้พร้อมรบั ผลกระทบหรอื การเปลย่ี นแปลงด้านตา่ งๆท่จี ะ
เกดิ ขึ้น เชน่ การทำแบบของฉนวนรองร่องสล๊อตใหพ้ อดีกบั ร่องสลอ๊ ตจะทำใหป้ ระหยดั การใช้ฉนวนและจะ

มฉี นวนไว้ใช้ในการเรยี นการสอนในหน่วยต่อไป ทำแบบในการพันขดลวดใหพ้ อดกี บั การพนั ขดลวดเพอื่ ลด
ปรมิ าณการใช้ลวดทองแดงจะมีลวดไว้ใช้ในการเรยี นการสอนในหน่วยตอ่ ไป
เง่อื นไข

เงอื่ นไขความรู้ หมายถงึ ความรอบรเู้ กี่ยวกบั วิชาการต่างๆท่ีเกย่ี วขอ้ งอย่างรอบดา้ นและรอบคอบ
เช่นการวางแผนงานที่จะทำกอ่ นแลว้ คอ่ ยลงมือทำอยา่ งระมดั ระวงั

เง่ือนไขคุณธรรม ทจ่ี ะตอ้ งเสริมสร้างประกอบดว้ ย มคี วามตระหนกั ในคุณธรรม ซอ่ื สัตย์สุจริต และ
อดทนใช้สตปิ ัญญาในการดำเนินชวี ติ เชน่

แผนการเรยี นรู้

รหัสวชิ า 20104-2008 ชอื่ วชิ า มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวชิ า ช่างไฟฟา้ กำลัง
จำนวนชว่ั โมงท่สี อน 14
เรือ่ ง มอเตอร์ 3 เฟส

-การใช้สติปญั ญา คือการท่ีเราใช้ความคิดในการเรียนใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ให้มากทสี่ ุด
-ความอดทน ขยนั หมน่ั เพยี ร คอื ใช้ความอดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยนั ที่จะทำงานให้ออกมาได้
ดีที่สดุ

การบรู ณาการกิจกรรมการเรยี นการสอนคณุ ธรรม 8 ประการ/คา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ
1. ขยัน ความหมายของคำว่า ขยัน คือ ความตงั้ ใจเพียรพยายามทำหนา้ ท่กี ารงานอยา่ ง
ต่อเนื่อง สมำ่ เสมอ อดทนไมท่ อ้ ถอยเมอื่ พบอุปสรรค ความขยันตอ้ งปฏบิ ัติควบค่กู บั การใช้สติปัญญา

แกป้ ัญหาจนเกดิ ผลสำเรจ็ ตามความมงุ่ หมาย
คุณลักษณะเชงิ พฤติกรรม ผทู้ มี่ ีความขยัน คอื ผู้ทต่ี ง้ั ใจทำอยา่ งจรงิ จังต่อเนอ่ื งในเร่ืองท่ีถูกทค่ี วรผทู้ ่เี ป็นคน

สงู้ าน มคี วามพยายาม ไม่ทอ้ ถอย กลา้ เผชญิ อุปสรรค รักงานทีท่ ำต้ังใจทำหนา้ ทอ่ี ยา่ งจริงจัง
2. ประหยดั ความหมายของคำวา่ ประหยดั คอื การรจู้ กั เกบ็ ออมถนอมใชท้ รพั ยส์ นิ สิง่ ของแต่พอควร
พอประมาณ ให้เกดิ ประโยชน์คมุ้ คา่ ไม่ฟมุ่ เฟอื ยฟงุ้ เฟ้อ

คุณลกั ษณะเชิงพฤติกรรม ผ้ทู มี่ ีความประหยดั คือ ผู้ที่ดำเนนิ ชวี ติ ความเป็นอยูท่ ่ีเรียบง่าย รจู้ กั ฐานะ
การเงนิ ของตนคิดกอ่ นใชค้ ดิ กอ่ นซอ้ื เก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สินส่ิงของอย่างคุม้ คา่ รู้จักทำบัญชีรายรับ-

รายจา่ ยของตนเองอยเู่ สมอ
3. ความซื่อสตั ย์ ความหมายของคำว่า ความซื่อสตั ย์ คอื ประพฤติตรงไมเ่ อนเอยี งไมม่ เี ล่ห์เหลีย่ มมีความ
จรงิ ใจปลอดจากความรู้สึกลำเอียงหรอื อคติ

คณุ ลักษณะเชงิ พฤติกรรม ผู้ทมี่ ีความซ่อื สัตย์ คือ ผู้ทมี่ ีความประพฤติตรงทง้ั ตอ่ หนา้ ท่ี ต่อวิชาชพี ตรงตอ่
เวลา ไมใ่ ช้เลห่ ์กลคดโกงทัง้ ทางตรงและทางอ้อม รบั รู้หน้าทขี่ องตนเองและปฏบิ ัติอยา่ งเตม็ ที่ถูกตอ้ ง

4. มวี ินัย ความหมายของคำวา่ มีวินัย คอื การยดึ มัน่ ในระเบียบแบบแผนข้อบังคับและข้อปฏบิ ัติ ซ่ึงมีทัง้
วินัยในตนเองและวนิ ยั ต่อสังคม
คณุ ลักษณะเชงิ พฤตกิ รรม ผ้ทู ่ีมวี ินัย คือ ผู้ทป่ี ฏิบตั ิตนในขอบเขต กฎระเบยี บของสถานศึกษา สถาบัน/

องคก์ ร/สังคมและประเทศโดยทีต่ นเองยนิ ดปี ฏบิ ัติตามอยา่ งเตม็ ใจและต้ังใจ
5. สุภาพ ความหมายของคำวา่ สุภาพ คอื เรยี บร้อย ออ่ นโยน ละมนุ ละมอ่ มมีกิริยามารยาทที่ดงี าม มี

สัมมาคารวะ
คุณลักษณะเชงิ พฤติกรรม ผทู้ มี่ ีความสภุ าพ คอื ผู้ทอ่ี อ่ นนอ้ มถอ่ มตนตามสถานภาพและกาลเทศะ ไม่
กา้ วรา้ ว รุนแรงวางอำนาจข่มผู้อื่นทง้ั โดยวาจาและท่าทาง แต่ในเวลาเดียวกนั ยังคงมีความม่ันใจในตนเอง

เปน็ ผู้ท่มี ีมารยาท วางตนเหมาะสมตามวฒั นธรรมไทย
6. สะอาด ความหมายของคำวา่ สะอาด คือ ปราศจากความมวั หมองทง้ั กาย ใจและสภาพแวดล้อม ความ

ผอ่ งใสเป็นที่เจรญิ ตาทำให้เกดิ ความสบายใจแก่ผู้พบเหน็

แผนการเรยี นรู้

รหสั วชิ า 20104-2008 ช่ือวชิ า มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลักสูตร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ ประเภทวิชา อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ชา่ งไฟฟา้ กำลัง
จำนวนชั่วโมงทสี่ อน 14
เร่ือง มอเตอร์ 3 เฟส

คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผูท้ ี่ความสะอาด คอื ผรู้ ักษารา่ งกายท่ีอยอู่ าศัยสง่ิ แวดลอ้ มถูกตอ้ งตาม
สุขลักษณะ ฝึกฝนจติ ใจมิใหข้ ุ่นมัวจึงมคี วามแจม่ ใสอยู่เสมอ

7. สามัคคี ความหมายของคำว่า สามัคคี คือ ความพร้อมเพยี งกันความกลมเกลียวกนั ความปรองดองกัน
ร่วมใจกนั ปฏิบตั งิ านใหบ้ รรลผุ ลตามทีต่ ้องการ เกิดงานการอยา่ งสรา้ งสรรคป์ ราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่

เอารดั เอาเปรยี บกัน เป็นการยอมรบั ความมเี หตุผล ยอมรับความแตกตา่ งหลากหลายทางความคดิ ความ
หลากหลายในเรื่องเชื้อชาติ ความกลมเกลยี วกนั ในลกั ษณะเช่นน้ี เรยี กอีกอยา่ งวา่ ความสมานฉนั ท์
คณุ ลกั ษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ทม่ี ีความสามคั คี คือ ผู้ทีเ่ ปิดใจกวา้ งรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื รบู้ ทบาท

ของตนทง้ั ในฐานะผ้นู ำและผู้ตามที่ดี มีความมงุ่ ม่ันตอ่ การรวมพลงั ช่วยเหลอื เกอ้ื กลู กันเพอ่ื ใหก้ ารงาน
สำเรจ็ ลุลว่ ง แกป้ ัญหาและขจัดความขัดแยง้ ได้ เป็นผมู้ ีเหตผุ ล ยอมรบั ความแตกต่างหลากหลายทาง

วฒั นธรรม ความคิด ความเชอ่ื พร้อมท่จี ะปรับตวั เพ่ืออยู่รว่ มกันอย่างสนั ติ
8. มนี ำ้ ใจ ความหมายของคำวา่ มีนำ้ ใจ คือ ความจรงิ ใจทไี่ มเ่ หน็ แกเ่ พียงตัวเองหรอื เร่อื งของตัวเอง แต่
เหน็ อกเห็นใจเห็นคณุ คา่ ในเพอื่ น มนุษย์ มคี วามเอ้ืออาทรเอาใจใส่ ให้ความสนใจในความต้องการ ความ

จำเปน็ วามทุกข์สุขของผู้อน่ื และพรอ้ มทจ่ี ะใหค้ วามช่วยเหลือเกอ้ื กลู กนั และกนั
คณุ ลกั ษณะเชงิ พฤติกรรม ผทู้ ม่ี นี ำ้ ใจ คอื ผู้ให้และผ้อู าสาช่วยเหลือสังคม ร้จู กั แบ่งปนั เสยี สละความสุข

ส่วนตนเพ่อื ทำประโยชน์แก่ผอู้ ืน่ เขา้ ใจ เห็นใจ ผู้ท่ีมคี วามเดอื ดร้อน อาสาช่วยเหลอื สังคมด้วยแรงกาย
สตปิ ญั ญา ลงมือปฏิบัตกิ ารเพือ่ บรรเทาปญั หาหรือรว่ มสรา้ งสรรคส์ ิง่ ดงี ามใหเ้ กดิ ข้นึ ในชุมชน

การบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอนสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรยี น
นำความรู้ด้านไฟฟา้ มาใชใ้ นการดำเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรยี น เชน่ การนำเครื่องสบู น้ำ

พลังงานแสงอาทติ มาใช้ในการดำเนนิ งานตามโครงการชวี วเี พ่ือการพัฒนาอย่างยัง่ ยนื

2.จดุ ประสงค์การเรียนรู้(มาตรฐานการเรียนรู้)

ดา้ นความรู้
1. บอกสว่ นประกอบของมอเตอร์ 3 เฟสได้

2. อธบิ ายหลกั การทำงานของมอเตอร์ 3 เฟสได้
3. อธบิ ายการต่อมอเตอร์ 3 เฟสไปใช้งานได้
4. อธบิ ายการกลบั ทิศทางการหมนุ ของมอเตอร์ 3 เฟสได้

ด้านทักษะ
1. ทำแบบฟอรม์ ขดลวดแบบชน้ั เดยี วได้

2. พันขดลวดดว้ ยแบบฟอรม์ ขดลวดแบบช้นั เดยี วได้
3. ทำฉนวนรองรอ่ งสลอตแบบชัน้ เดียวได้

แผนการเรยี นรู้

รหสั วิชา 20104-2008 ชื่อวชิ า มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลักสตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ประเภทวิชา อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ชา่ งไฟฟ้ากำลัง
จำนวนช่ัวโมงทส่ี อน 14
เรอื่ ง มอเตอร์ 3 เฟส

4. ลงขดลวดในรอ่ งสลอตแบบชน้ั เดยี วตามแบบได้
5. ปิดปากรอ่ งสลอตตามวิธีการได้

6. ต่อวงจรขดลวดตามแบบได้
7. มัดขดลวดแบบชั้นเดยี วตามขน้ั ตอนปฏบิ ัติได้
8. อาบวาร์นชิ โครงมอเตอร์และประกอบมอเตอร์แบบช้นั เดียวได้
9. ประกอบมอเตอร์แบบช้นั เดยี วตามแบบได้
10. ทดสอบมอเตอรแ์ ละการกลับทิศทางการหมุนมอเตอร์ได้
ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการคา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ
แสดงออกด้านความมีวินัย ความมีมนุษยสัมพันธ์ กิจนิสัยที่ดีในการทำงาน การตรงต่อเวลาและ

ความสนใจใฝ่รู้

3.สาระการเรียนรู้
1. แสดงความรูเ้ กย่ี วกับมอเตอร์ 3 เฟส
2. เตรยี มโครงมอเตอร์ 3 เฟส พันแบบชัน้ เดยี ว
3. ทำแบบฟอร์มขดลวดและพันขดลวดดว้ ยแบบฟอร์มขดลวดแบบช้ันเดียว
4. ลงขดลวดในรอ่ งสลอตแบบชัน้ เดยี ว
5. ตอ่ วงจรและการมัดขดลวดแบบช้ันเดียว
6. ประกอบมอเตอรแ์ ละการทดสอบมอเตอรแ์ บบช้ันเดียว

4.สอ่ื การเรียนรู้
1. หนังสอื เรยี นมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั ของสำนักพิมพ์ศนู ยห์ นงั สอื เมืองไทย
2. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น และหลังเรียน

3. อินเตอร์เน็ต

5.กระบวนการจดั การเรยี นรู้
กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยท่ี 6

2. ครตู ั้งคำถามนำเข้าสบู่ ทเรียนโดยให้นักเรยี นชว่ ยกันคดิ และหาคำตอบเก่ียวกบั อปุ กรณ์ที่ใช้
3. ครูสอนเนอื้ หาสาระหัวข้อท่ี 6.1 – 6.3 (บรรยาย ถามตอบ สาธิต ฝึกปฏบิ ัต)ิ

4. แบ่งกล่มุ นกั เรยี นเพือ่ เตรียมปฏิบัติงานตามใบงานที่ 2.1 – 2.3
5. นกั เรียนลงมือปฏิบัตงิ านตามข้ันตอนในใบงานที่ 2.1 – 2.3

แผนการเรียนรู้

รหสั วิชา 20104-2008 ชอ่ื วชิ า มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั 1-6-3

หลักสูตร ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม
สาขาวชิ า ช่างไฟฟ้ากำลงั
จำนวนชว่ั โมงทส่ี อน 14
เรอ่ื ง มอเตอร์ 3 เฟส

6. ครตู รวจผลงานภาคปฏิบัติของนักเรียน
7. ใหน้ กั เรยี นทำความสะอาดเครื่องมอื อุปกรณ์ และบริเวณพื้นท่ีปฏิบตั งิ านใหเ้ รียบร้อย

8. นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรปุ บทเรียน และผลการปฏบิ ตั งิ าน
กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครตู ั้งคำถามนำเขา้ สูบ่ ทเรียนโดยใหน้ ักเรียนช่วยกนั คิดและหาคำตอบเกย่ี วกบั อุปกรณ์ท่ีใช้
2. ครูสอนเนื้อหาสาระหวั ขอ้ ท่ี 6.4 – 6.5 (บรรยาย ถามตอบ สาธติ ฝึกปฏิบตั )ิ
3. แบ่งกลุม่ นักเรียนเพ่ือเตรียมปฏบิ ตั งิ านตามใบงานท่ี 2.4 – 2.5

4. นกั เรียนลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนในใบงานที่ 2.4 – 2.5
5. ครตู รวจผลงานภาคปฏิบตั ิของนักเรยี น

6. ให้นกั เรียนทำความสะอาดเครือ่ งมอื อปุ กรณ์ และบริเวณพืน้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ านให้เรียบร้อย
7. นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสรปุ บทเรียน และผลการปฏิบัติงาน
8. นกั เรียนทำแบบฝึกหัดทา้ ยหนว่ ยท่ี 6

8. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 6

6.กระบวนการวัดผลและประเมินผล การประเมินผล
1. สังเกตพุ ฤตกิ รรมในการทำงาน (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลังเรียน)
2. คุณภาพของงานท่ีสง่
3. ตรวจแบบฝกึ หัด / แบบทดสอบ เกณฑ์ผ่าน 60%
4. ถาม – ตอบในชัน้ เรยี น เกณฑ์ผ่าน 60%
การวัดผล เกณฑ์ผา่ น 60%
เกณฑ์ผา่ น 60%
1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre–test) หนว่ ยท่ี 6 เกณฑ์ผา่ น 60%
2. แบบสงั เกตการทำงานกลุม่ และนำเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ า่ น 60%
เกณฑ์ผา่ น 50%
3. ใบงานที่ 2.1 และแบบประเมนิ เกณฑ์ผ่าน 60%
4. ใบงานท่ี 2.2 และแบบประเมิน
5. ใบงานที่ 2.3 และแบบประเมนิ
6. ใบงานท่ี 2.4 และแบบประเมิน
7. ใบงานท่ี 2.5 และแบบประเมิน
8. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หน่วยที่ 6

9. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง

แผนการเรียนรู้

รหสั วชิ า 20104-2008 ช่ือวชิ า มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวชิ า ชา่ งไฟฟา้ กำลัง
จำนวนชัว่ โมงทส่ี อน 14
เร่อื ง มอเตอร์ 3 เฟส

7.แหล่งการเรียนรู้
1 หอ้ งสมดุ วิทยาลยั ศูนย์วิทยบริการ

2 ครอบครัวของผ้เู รียน ผปู้ ระกอบการ
3 สงิ่ พมิ พป์ ระเภทตา่ ง ๆ เชน่ นติ ยสาร/วารสารดา้ นอตุ สาหกรรมไฟฟ้า สารานุกรม

4 ครูผสู้ อน Internet
8.บันทกึ หลังการเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบความร(ู้ Information Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ชือ่ วชิ า มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 1-6-3

หลักสตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชพี ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวชิ า ช่างไฟฟ้ากำลงั
จำนวนช่ัวโมงทสี่ อน 14
เร่อื ง มอเตอร์ 3 เฟส

จดุ ประสงค์การเรียนการสอน รายการเรยี นรู้

จุดประสงค์การเรยี นรู้(สมรรถนะการเรยี นรู)้ 1. แสดงความรู้เก่ียวกบั มอเตอร์ 3 เฟส

ด้านความรู้ 2. เตรียมโครงมอเตอร์ 3 เฟส พันแบบชนั้ เดียว

1. บอกส่วนประกอบของมอเตอร์ 3 เฟส 3. ทำแบบฟอร์มขดลวดและพนั ขดลวดด้วย

ได้ แบบฟอรม์ ขดลวดแบบชนั้ เดียว

2. อธิบายหลักการทำงานของมอเตอร์ 3 4. ลงขดลวดในรอ่ งสลอตแบบชั้นเดียว

เฟสได้ 5. ต่อวงจรและการมดั ขดลวดแบบช้ันเดียว

3. อธบิ ายการตอ่ มอเตอร์ 3 เฟสไปใชง้ าน 6. ประกอบมอเตอร์และการทดสอบมอเตอร์แบบ

ได้ ชน้ั เดยี ว

4. อธิบายการกลับทิศทางการหมุนของ

มอเตอร์ 3 เฟสได้

ดา้ นทกั ษะ

1. ทำแบบฟอรม์ ขดลวดแบบชน้ั เดียวได้

2. พันขดลวดด้วยแบบฟอร์มขดลวดแบบ

ชน้ั เดียวได้

3. ทำฉนวนรองร่องสลอตแบบชนั้ เดียวได้

4. ลงขดลวดในร่องสลอตแบบช้ันเดียว

ตามแบบได้

5. ปิดปากรอ่ งสลอตตามวิธีการได้

6. ต่อวงจรขดลวดตามแบบได้

7. มัดขดลวดแบบช้ันเดียวตามขั้นตอน

ปฏบิ ตั ไิ ด้

8. อาบวาร์นิชโครงมอเตอร์และประกอบ

มอเตอร์แบบชั้นเดยี วได้

9. ประกอบมอเตอร์แบบชั้นเดียวตาม

แบบได้

10. ทดสอบมอเตอร์และการกลับทิศ

ทางการหมนุ มอเตอรไ์ ด้

ด้านคุณ ธรรม จริยธรรม/บูรณ าการ

คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ

แสดงออกด้านความมีวินัย ความมีมนุษย

ใบความร(ู้ Information Sheets)

รหัสวิชา 20104-2008 ช่ือวิชา มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1-6-3

หลักสูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม
สาขาวชิ า ชา่ งไฟฟา้ กำลงั
จำนวนชั่วโมงที่สอน 14
เรื่อง มอเตอร์ 3 เฟส

สัมพันธ์ กิจนิสัยที่ดีในการทำงาน การตรงต่อเวลา
และ ความสนใจใฝร่ ู้

เนือ้ หาสาระ
มอเตอร์ยูนิเวอร์แซล เป็นมอเตอร์ที่ใช้กับไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ ซ่ึงมอเตอร์ยูนิ

เวอรแ์ ซล มอเตอร์ 3 เฟส แบ่งตามโครงสรา้ งโรเตอรไ์ ด้ 2 ชนิด คอื มอเตอร์ท่ีมีโรเตอร์เปน็ ชนดิ กรงกระรอก

และมอเตอร์ท่มี ีโรเตอรเ์ ป็นชนิดพันขดลวดหรือวาวด์โรเตอร์ มอเตอร์ 3 เฟสมีขดลวดพันที่สเตเตอร์จำนวน
3 ชดุ วางหา่ งกัน 120 องศาไฟฟ้า โครงสร้างของมอเตอร์ 3 เฟส มสี ่วนประกอบหลัก คอื สเตเตอร์ โรเตอร์

และ
ฝาครอบ

หลกั การทำงานของมอเตอร์ 3 เฟส ซ่งึ อาศัยหลกั การเหนย่ี วนำทางแม่เหลก็ ไฟฟา้ จากสเตเตอรไ์ ป

ยังโรเตอร์ โดยใช้หลกั การต่างเฟสของกระแสไฟฟา้ ในขดลวดท้ัง 3 ชุด ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กหมุนในสเต
เตอร์ไปเหน่ียวนำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหลในโรเตอร์ ซึ่งกระแสไฟฟา้ ที่ไหลในโรเตอร์จะสร้างสนามแม่เหล็ก

มาตา้ นกับสนามแม่เหลก็ ท่สี เตเตอร์ จงึ ทำให้โรเตอรห์ มนุ ในทิศทางเดียวกบั สนามแม่เหลก็ หมุน
การต่อวงจรขดลวดมอเตอร์ 3 เฟส มีวิธีการต่อวงจรเพ่อื นำไปใช้งาน 2 แบบ คือ แบบสตารแ์ ละ

แบบเดลตา

การกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์ 3 เฟส สามารถทำไดโ้ ดยการสลับปลายสายของแหล่งจ่าย
ไฟฟา้ ทีจ่ า่ ยให้มอเตอรค์ ู่ใดคหู่ น่ึงหรอื การสลับขั้วสายของมอเตอร์คูใ่ ดคู่หนึง่ ก็ได้

ใบความรู้(Information Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ช่อื วิชา มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1-6-3

หลกั สูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม
สาขาวิชา ชา่ งไฟฟา้ กำลงั
จำนวนช่วั โมงท่สี อน 14
เรือ่ ง มอเตอร์ 3 เฟส

คำถาม

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 6

มอเตอร์ 3 เฟส

คำสัง่ จงทำเครื่องหมายกากบาท () คำตอบทถี่ ูกทสี่ ดุ เพียงขอ้ เดยี ว

1. โรเตอร์ของมอเตอร์ 3 เฟส มกี ีช่ นดิ

ก. 1 ชนดิ ข. 2 ชนิด

ค. 3 ชนิด ง. 4 ชนดิ

2. สว่ นประกอบที่สำคญั ของมอเตอร์เหน่ยี วนำ 3 เฟส มอี ะไรบ้าง

ก. คอมมิวเตเตอร์ โรเตอร์ ฝาครอบ ข. สเตเตอร์ โรเตอร์ แกนเหลก็
ค. อาร์เมเจอร์ สเตเตอร์ ฝาครอบ ง. สเตเตอร์ โรเตอร์ ฝาครอบ
3. ขอ้ ใดเป็นโรเตอรช์ นิดวาวดโ์ รเตอร์

ก. ท่ตี วั โรเตอร์จะไม่มีขดลวดพนั อยู่
ข. ทต่ี วั โรเตอรจ์ ะมีวงแหวนอยู่ 3 วง และมีขดลวดพนั อย่บู นโรเตอร์

ค. ที่ตวั โรเตอร์จะมีวงแหวนอยู่ 3 วง
ง. ทต่ี ัวโรเตอร์จะมีขดลวดเป็นแบบ 3 เฟส
4. มอเตอร์ 3 เฟส ต่อใช้งานได้กี่แบบ

ก. 1 แบบ ข. 2 แบบ
ค. 3 แบบ ง. 4 แบบ

5. ขดลวดของมอเตอร์ 3 เฟส จะวางหา่ งกันก่ีองศาไฟฟา้

ก. 90 องศาไฟฟา้ ข. 100 องศาไฟฟ้า

ค. 120 องศาไฟฟ้า ง. 150 องศาไฟฟา้

6. มอเตอร์ 3 เฟส 380/660 โวลต์ 50 เฮิรตซ์ 6/3 แอมป์ ต้องการต่อใช้งานกับระบบไฟ 3 เฟส 220/380
โวลต์ ควรตอ่ มอเตอร์ตวั นแี้ บบใด

ก. แบบอนกุ รม ข. แบบสตาร์

ค. แบบเดลตา ง. แบบขนาน

7. การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ทำไดอ้ ย่างไร

ก. กลับปลายสายเฟสใดเฟสหน่ึงของมอเตอร์ ข. กลบั ปลายสายของขดลวดทั้ง 3 เฟส
ค. กลบั ปลายสายของขดลวดชดุ ใดชุดหนงึ่ ง. กลับปลายสายของแหล่งจ่ายคู่ใดคู่หนงึ่

ใบความร(ู้ Information Sheets)

รหสั วิชา 20104-2008 ช่ือวิชา มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1-6-3

หลักสูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวชิ า ชา่ งไฟฟ้ากำลงั
จำนวนช่วั โมงทส่ี อน 14
เร่ือง มอเตอร์ 3 เฟส

8. มอเตอร์ 3 เฟส ตัวหนึ่ง ต่อแบบสตาร์ทนแรงดันได้ 380 โวลต์ ถ้านำมาต่อแบบเดลตาจะทนแรงดันได้

เท่าไร

ก. 220 โวลต์ ข. 380 โวลต์

ค. 440 โวลต์ ง. 660 โวลต์

9. มอเตอร์ 3 เฟส ต่อแบบเดลตาทนแรงดันได้ 220 โวลต์ ถ้านำมาต่อแบบสตาร์จะทนแรงดันได้เท่าไร

ก. 220 โวลต์ ข. 380 โวลต์

ค. 440 โวลต์ ง. 660 โวลต์

10. ขอ้ ใดมีทิศทางการหมุนแตกต่างจากข้ออื่น

L3 L2 L1 L2 L1 L3

ก. U V W ข. U V W

L1 L2 L3 L1 L3 L2

ค. U V W ง. U V W

ใบความรู้(Information Sheets)

รหัสวิชา 20104-2008 ชอื่ วชิ า มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวชิ า ชา่ งไฟฟ้ากำลงั
จำนวนชั่วโมงท่ีสอน 14
เรอื่ ง มอเตอร์ 3 เฟส

เฉลยแบบฝึ กหดั หน่วยที่ 6

ใบความร(ู้ Information Sheets)

รหสั วชิ า 20104-2008 ชื่อวชิ า มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 1-6-3

หลกั สูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ชา่ งไฟฟ้ากำลัง
จำนวนชั่วโมงท่สี อน 14
เร่อื ง มอเตอร์ 3 เฟส

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 6

คำส่งั จงทำเครือ่ งหมายกากบาท () คำตอบท่ีถูกทส่ี ุดเพยี งข้อเดียว
1. สว่ นประกอบที่สำคัญของมอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส มีอะไรบ้าง
ก. สเตเตอร์ โรเตอร์ ฝาครอบ

ข. สเตเตอร์ โรเตอร์ แกนเหลก็
ค. อารเ์ มเจอร์ สเตเตอร์ ฝาครอบ

ง. คอมมิวเตเตอร์ โรเตอร์ ฝาครอบ

2. โรเตอรข์ องมอเตอร์ 3 เฟส มกี ช่ี นิด

ก. 1 ชนิด ข. 2 ชนดิ
ค. 3 ชนดิ ง. 4 ชนิด

3. ขอ้ ใดเปน็ โรเตอร์ชนิดวาวดโ์ รเตอร์
ก. ทต่ี ัวโรเตอร์จะมวี งแหวนอยู่ 3 วง

ข. ท่ีตัวโรเตอร์จะมขี ดลวดเปน็ แบบ 3 เฟส
ค. ท่ตี ัวโรเตอร์จะมีวงแหวนอยู่ 3 วง และมขี ดลวดพันอยบู่ นโรเตอรด์ ้วย

ง. ทตี่ ัวโรเตอรจ์ ะไมม่ ีขดลวดพันอยู่
4. ขดลวดของมอเตอร์ 3 เฟส พนั วางห่างกันเป็นมมุ กี่องศาไฟฟา้

ก. 90 องศาไฟฟ้า ข. 100 องศาไฟฟ้า
ค. 120 องศาไฟฟา้ ง. 150 องศาไฟฟา้

5. มอเตอร์ 3 เฟส ตอ่ ใช้งานได้กแี่ บบ ข. 3 แบบ
ก. 2 แบบ

ค. 4 แบบ ง. 1 แบบ
6. การกลบั ทางหมนุ มอเตอร์ 3 เฟส ทำได้อย่างไร

ก. สลับปลายสายของขดลวดชดุ ใดชุดหนึง่

ข. สลบั ปลายสายของขดลวดท้ัง 3 เฟส
ค. สลบั ปลายสายเฟสใดเฟสหน่งึ ของมอเตอร์

ง. สลบั ปลายสายของแหล่งจ่ายคูใ่ ดคหู่ นง่ึ

7. มอเตอร์ 3 เฟส 380/660 โวลต์ 50 เฮิรตซ์ 6/3 แอมป์ ตอ้ งการต่อใช้งานกับระบบไฟ 3 เฟส 220/380

โวลต์ ควรต่อมอเตอร์ตวั นแี้ บบใด

ก. แบบอนุกรม ข. แบบขนาน

ค. แบบสตาร์ ง. แบบเดลตา

ใบความร้(ู Information Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ชือ่ วิชา มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 1-6-3

หลกั สูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ช่างไฟฟ้ากำลงั
จำนวนชัว่ โมงทส่ี อน 14
เร่ือง มอเตอร์ 3 เฟส

8. มอเตอร์ 3 เฟส ตอ่ แบบเดลตาทนแรงดนั ได้ 220 โวลต์ ถา้ นำมาต่อแบบสตาร์จะทนแรงดันได้เท่าไร

ก. 220 โวลต์ ข. 380 โวลต์

ค. 440 โวลต์ ง. 660 โวลต์

9. ข้อใดมีทิศทางการหมนุ แตกต่างจากขอ้ อืน่

L3 L2 L1 L2 L1 L3

ก. U V W ข. U V W

L1 L2 L3 L1 L3 L2

ค. U V W ง. U V W

10. มอเตอร์ 3 เฟส ต่อแบบสตาร์ทนแรงดนั ได้ 380 โวลต์ ถ้านำมาตอ่ แบบเดลตาจะทนแรงดนั ได้เท่าไร

ก. 220 โวลต์ ข. 380 โวลต์

ค. 440 โวลต์ ง. 660 โวลต์

เอกสารอ้างองิ
คารม สินธูระหฐั (2562). มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั (20104–2008). นนทบุรี : ศูนยห์ นังสอื

เมอื งไทย

ใบงาน(Job Sheets)

รหสั วชิ า 20104-2008 ชอื่ วิชา มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชพี ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวชิ า ช่างไฟฟา้ กำลัง
จำนวนชัว่ โมงทส่ี อน 14
เรื่อง มอเตอร์ 3 เฟส

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ รายการเรียนรู้

จดุ ประสงค์การเรียนรู้(มาตรฐานการเรียนรู้) เครอ่ื งมือ/วัสดุ-อปุ กรณ์

ดา้ นความรู้ 1. การเตรียมโครงมอเตอร์ 3 เฟส พันแบบชั้น

1. บอกส่วนประกอบของมอเตอร์ 3 เฟส เดียว (Single Layer)

ได้ 2. การทำแบบฟอร์มขดลวดและพันขดลวดด้วย
2. อธิบายหลักการทำงานของมอเตอร์ 3 แบบฟอร์มขดลวดแบบชั้นเดียว ( Single
Layer)
เฟสได้
3. การลงขดลวดในร่องสลอตแบบช้ันเดียว
3. อธบิ ายการตอ่ มอเตอร์ 3 เฟสไปใชง้ าน (Single Layer)
ได้

4. อธิบายการกลับทิศทางการหมุนของ

มอเตอร์ 3 เฟสได้

ดา้ นทกั ษะ

1. ทำแบบฟอร์มขดลวดแบบช้ันเดียวได้

2. พันขดลวดด้วยแบบฟอร์มขดลวดแบบ

ช้นั เดยี วได้

3. ทำฉนวนรองร่องสลอตแบบช้นั เดียวได้

4. ลงขดลวดในร่องสลอตแบบชั้นเดียว

ตามแบบได้

5. ปดิ ปากร่องสลอตตามวธิ กี ารได้

6. ต่อวงจรขดลวดตามแบบได้

7. มัดขดลวดแบบช้ันเดียวตามขั้นตอน

ปฏิบัตไิ ด้

8. อาบวาร์นิชโครงมอเตอร์และประกอบ

มอเตอรแ์ บบช้นั เดียวได้

9. ประกอบมอเตอร์แบบชั้นเดียวตาม

แบบได้

10. ทดสอบมอเตอร์และการกลับทิศ

ทางการหมุนมอเตอรไ์ ด้

ด้านคุณ ธรรม จริยธรรม/บูรณ าการ

ค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ

แสดงออกด้านความมีวินัย ความมีมนุษย

ใบงาน(Job Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ช่ือวิชา มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1-6-3

หลกั สูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม
สาขาวิชา ช่างไฟฟา้ กำลงั
จำนวนชว่ั โมงทสี่ อน 14
เรื่อง มอเตอร์ 3 เฟส

สัมพันธ์ กิจนิสัยท่ีดีในการทำงาน การตรงต่อเวลา

และ ความสนใจใฝร่ ู้

ลำดับขนั้ การทำงาน ขอ้ ควรระวัง

1. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 6 1. ระวังคมของโครงมอเตอร์

2. ครตู ้งั คำถามนำเขา้ สบู่ ทเรียนโดยให้ 2. ระวงั อย่าใหข้ ดลวดทองแดงสัมผัสโดน

นักเรียนช่วยกนั คดิ และหาคำตอบเกยี่ วกับอปุ กรณ์ท่ี โลหะ

ใช้

3. ครูสอนเน้ือหาสาระหัวข้อที่ 6.1 – 6.3 มอบงาน
(บรรยาย ถามตอบ สาธติ ฝกึ ปฏิบตั )ิ
งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ศึกษา
4. แบ่งกลมุ่ นักเรียนเพื่อเตรยี มปฏิบตั งิ าน มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลและมอเตอร์ 3 เฟสจากตำรา
ตามใบงานที่ 2.1 – 2.3
ภาษาอังกฤษเพม่ิ เตมิ
5. นกั เรยี นลงมือปฏบิ ัติงานตามขั้นตอนในใบ

งานที่ 2.1 – 2.3

6. ครูตรวจผลงานภาคปฏบิ ัติของนกั เรยี น
7. ใหน้ กั เรียนทำความสะอาดเคร่อื งมือ

อุปกรณ์ และบรเิ วณพืน้ ทปี่ ฏบิ ัติงานใหเ้ รยี บร้อย
8. นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปบทเรยี น และ

ผลการปฏิบัติงาน

กิจกรรมการเรยี นรู้ วดั ผล/ประเมนิ ผล

1. ครูตั้งคำถามนำเข้าสบู่ ทเรยี นโดยให้ 1. สังเกตุพฤติกรรมในการทำงาน

นักเรยี นชว่ ยกันคิดและหาคำตอบเก่ยี วกับอปุ กรณ์ที่ 2. คุณภาพของงานที่ส่ง

3. ตรวจแบบฝึกหัด / แบบทดสอบ
ใช้ 4. ถาม – ตอบในช้ันเรยี น
2. ครูสอนเนื้อหาสาระหัวข้อท่ี 6.4 – 6.5

(บรรยาย ถามตอบ สาธิต ฝกึ ปฏบิ ตั )ิ

3. แบง่ กลมุ่ นักเรียนเพอ่ื เตรียมปฏิบัติงาน

ตามใบงานท่ี 2.4 – 2.5

4. นักเรียนลงมอื ปฏบิ ัติงานตามข้ันตอนในใบ

งานท่ี 2.4 – 2.5

5. ครูตรวจผลงานภาคปฏิบัติของนกั เรียน

6. ใหน้ ักเรียนทำความสะอาดเครอื่ งมือ

ใบงาน(Job Sheets)

รหสั วิชา 20104-2008 ชื่อวิชา มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม
สาขาวิชา ช่างไฟฟา้ กำลัง
จำนวนชวั่ โมงทีส่ อน 14
เรอ่ื ง มอเตอร์ 3 เฟส

อุปกรณ์ และบรเิ วณพ้ืนทป่ี ฏิบัติงานให้เรียบร้อย

7. นักเรยี นและครูรว่ มกันสรปุ บทเรียน และ
ผลการปฏิบัติงาน

8. นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายหน่วยที่ 6
8. นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยที่
6

ใบปฏบิ ตั ิงาน(Operation Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ชอื่ วชิ า มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 1-6-3

หลกั สูตร ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม
สาขาวิชา ชา่ งไฟฟา้ กำลัง
จำนวนช่ัวโมงท่สี อน 14
เรอ่ื ง มอเตอร์ 3 เฟส

จดุ ประสงค์การเรียนร(ู้ มาตรฐานการเรียนรู)้

ดา้ นความรู้
1. บอกสว่ นประกอบของมอเตอร์ 3 เฟสได้
2. อธิบายหลักการทำงานของมอเตอร์ 3 เฟสได้

3. อธิบายการต่อมอเตอร์ 3 เฟสไปใชง้ านได้
4. อธบิ ายการกลับทศิ ทางการหมุนของมอเตอร์ 3 เฟสได้

ดา้ นทกั ษะ
1. ทำแบบฟอร์มขดลวดแบบชั้นเดยี วได้
2. พันขดลวดดว้ ยแบบฟอรม์ ขดลวดแบบชัน้ เดียวได้

3. ทำฉนวนรองร่องสลอตแบบชน้ั เดยี วได้
4. ลงขดลวดในรอ่ งสลอตแบบช้ันเดยี วตามแบบได้

5. ปดิ ปากร่องสลอตตามวธิ ีการได้
6. ต่อวงจรขดลวดตามแบบได้
7. มัดขดลวดแบบช้ันเดยี วตามข้นั ตอนปฏิบัตไิ ด้

8. อาบวารน์ ิชโครงมอเตอรแ์ ละประกอบมอเตอร์แบบช้ันเดยี วได้
9. ประกอบมอเตอรแ์ บบชั้นเดยี วตามแบบได้

10. ทดสอบมอเตอรแ์ ละการกลับทศิ ทางการหมุนมอเตอรไ์ ด้
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการคา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ
แสดงออกด้านความมีวินัย ความมีมนุษยสัมพันธ์ กิจนิสัยที่ดีในการทำงาน การตรงต่อเวลาและ

ความสนใจใฝร่ ู้

เคร่ืองมอื /วสั ดุ-อปุ กรณ์ (Single Layer)
1. การเตรียมโครงมอเตอร์ 3 เฟส พนั แบบชัน้ เดียว (Single Layer)
2. การทำแบบฟอร์มขดลวดและพันขดลวดด้วยแบบฟอร์มขดลวดแบบชั้นเดยี ว

3. การลงขดลวดในร่องสลอตแบบช้นั เดยี ว(Single Layer)

ลำดบั ขั้นการทำงาน
1. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยที่ 6
2. ครูตั้งคำถามนำเขา้ ส่บู ทเรียนโดยใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั คดิ และหาคำตอบเก่ียวกบั อุปกรณ์ทใ่ี ช้

3. ครูสอนเนอื้ หาสาระหัวขอ้ ที่ 6.1 – 6.3 (บรรยาย ถามตอบ สาธติ ฝกึ ปฏิบัติ)
4. แบง่ กลุ่มนักเรียนเพือ่ เตรียมปฏิบัติงานตามใบงานท่ี 2.1 – 2.3

ใบปฏิบัติงาน(Operation Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ช่อื วิชา มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลักสูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ประเภทวิชา อุตสาหกรรม
สาขาวชิ า ช่างไฟฟา้ กำลงั
จำนวนชัว่ โมงทีส่ อน 14
เรือ่ ง มอเตอร์ 3 เฟส

5. นักเรียนลงมือปฏิบตั งิ านตามข้นั ตอนในใบงานท่ี 2.1 – 2.3
6. ครตู รวจผลงานภาคปฏบิ ัติของนักเรยี น
7. ให้นกั เรยี นทำความสะอาดเคร่ืองมอื อปุ กรณ์ และบรเิ วณพืน้ ทปี่ ฏิบตั งิ านใหเ้ รยี บร้อย
8. นักเรียนและครูร่วมกนั สรุปบทเรียน และผลการปฏิบัตงิ าน

กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ครตู ้ังคำถามนำเขา้ ส่บู ทเรยี นโดยให้นักเรยี นช่วยกันคิดและหาคำตอบเก่ยี วกบั อปุ กรณ์ทีใ่ ช้
2. ครูสอนเน้อื หาสาระหัวขอ้ ที่ 6.4 – 6.5 (บรรยาย ถามตอบ สาธติ ฝกึ ปฏิบัต)ิ
3. แบง่ กล่มุ นักเรียนเพ่ือเตรยี มปฏบิ ัตงิ านตามใบงานท่ี 2.4 – 2.5
4. นักเรียนลงมือปฏบิ ัตงิ านตามขนั้ ตอนในใบงานที่ 2.4 – 2.5
5. ครูตรวจผลงานภาคปฏิบัติของนักเรยี น
6. ให้นักเรยี นทำความสะอาดเคร่ืองมือ อปุ กรณ์ และบรเิ วณพ้นื ทปี่ ฏบิ ตั งิ านให้เรยี บรอ้ ย
7. นักเรียนและครูร่วมกนั สรปุ บทเรยี น และผลการปฏบิ ตั ิงาน
8. นกั เรยี นทำแบบฝกึ หัดท้ายหน่วยท่ี 6
8. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยที่ 6

ข้อควรระวัง
1. ระวังคมของโครงมอเตอร์
2. ระวงั อยา่ ให้ขดลวดทองแดงสมั ผัสโดนโลหะ

ขอ้ เสนอแนะ
1. ถา้ ทำความสะอาดโครงไม่ดอี าจทำให้ฉนวนรองรอ่ งสลด็ ตชำรดุ
2. การพันขดลวดต้องใหข้ ดลวดเรยี งกนั เปน็ เส้นเพอ่ื ทจ่ี ะลงในร่องสล็อตไดง้ ่าย
3. อุปกรณ์ช่วยในการลงขดลวดในรอ่ งสลอ็ ตควรเป็นไม้แหง้

การประเมนิ ผล
1. สงั เกตุพฤติกรรมในการทำงาน
2. คุณภาพของงานท่สี ง่
3. ตรวจแบบฝึกหัด / แบบทดสอบ
4. ถาม – ตอบในช้ันเรียน

ใบปฏิบัติงาน(Operation Sheets)

รหัสวิชา 20104-2008 ช่ือวชิ า มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1-6-3

หลักสตู ร ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ช่างไฟฟา้ กำลัง
จำนวนชวั่ โมงทสี่ อน 14
เร่ือง มอเตอร์ 3 เฟส

เอกสารอ้างอิง
คารม สินธูระหัฐ(2562). มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั (20104–2008). นนทบุรี : ศนู ย์หนังสือ

เมืองไทย.

ใบมอบหมายงาน(Assignment Sheets)

รหสั วชิ า 20104-2008 ชอ่ื วิชา มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวชิ า ชา่ งไฟฟ้ากำลงั
จำนวนชวั่ โมงท่สี อน 14
เรอ่ื ง มอเตอร์ 3 เฟส

จุดประสงค์การมอบงาน
1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับมอเตอร์ 3 เฟส
2. เตรยี มโครงมอเตอร์ 3 เฟส พนั แบบชัน้ เดียว
3. ทำแบบฟอรม์ ขดลวดและพันขดลวดด้วยแบบฟอร์มขดลวดแบบชั้นเดยี ว
4. ลงขดลวดในร่องสลอตแบบชัน้ เดียว
5. ตอ่ วงจรและการมัดขดลวดแบบชัน้ เดียว
6. ประกอบมอเตอรแ์ ละการทดสอบมอเตอร์แบบช้ันเดียว

แนวทางการปฏบิ ัติงาน
1. ปฏิบัตงิ านดว้ ยความระมัดระวงั
2. ระวงั คมของโครงมอเตอร์
3. ระวงั อย่าให้ขดลวดทองแดงสมั ผัสโดนโลหะ

แหลง่ ค้นควา้
1. หอ้ งสมดุ วิทยาลัย ศูนย์วิทยบริการ
2. ครอบครวั ของผูเ้ รียน ผปู้ ระกอบการ
3. สิ่งพมิ พ์ประเภทตา่ ง ๆ เช่น นิตยสาร/วารสารด้านอุตสาหกรรมไฟฟา้ สารานุกรม
4. ครูผู้สอน Internet

คำถาม/ปัญหา
1. ทำไมขดลวดทองแดงจงึ สัมผสั กับโลหะไม่ได้
2. ขดลวดของมอเตอร์ 3 เฟส มกี ี่ชุด
3. สลอ็ ตของมอเตอร์ 3 เฟส มกี ่ีช่อง

กำหนดเวลางาน
10 ชัว่ โมง

แผนการเรยี นรู้

รหสั วิชา 20104-2008 ชื่อวชิ า มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ประเภทวิชา อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ช่างไฟฟา้ กำลงั
จำนวนชว่ั โมงทีส่ อน 14
เรือ่ ง การตรวจสอบมอเตอร์

1.สาระสำคัญ
การตรวจสอบมอเตอร์ก่อนนำมอเตอร์ไปใช้งาน จำเป็นอย่างย่ิงที่ต้องตรวจสอบมอเตอร์

ทั้งน้ีเพื่อให้ทราบความพร้อมหรือความสมบูรณ์ของตัวมอเตอร์เพ่ือจะไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการท่ีจะ
นำไปใช้งาน เพราะถ้าเกิดข้อบกพร่องในขณะท่ีใช้งานแล้วย่อมจะทำให้เกิดความเสียหายอย่างมากในทุก

ดา้ น ดงั น้ันจงึ ตอ้ งมขี น้ั ตอนการตรวจสอบดงั น้ี
1. การตรวจสอบกราวด์ หมายถึง การตรวจสอบเพื่อหาว่ามอเตอร์มีขดลวดสัมผัสกับโครงหรือไม่

ซง่ึ จะทำให้เกดิ ความไมป่ ลอดภัยตอ่ ผ้ใู ช้ โดยการใช้เครอื่ งมือวัดค่าฉนวนของมอเตอร์

2. การตรวจสอบกระแสไฟฟ้า หมายถึง การตรวจสอบคา่ กระแสไฟฟ้าของมอเตอรท์ ง้ั ในขณะที่ไมม่ ี
โหลดและขณะทีม่ ีโหลด ว่ากระแสไฟฟ้าเกินพิกดั หรือน้อยกวา่ พิกัดตามทร่ี ะบุไว้ที่แผ่นปา้ ยหรอื ไม่ โดยการ

ใชแ้ อมมเิ ตอร์หรือแคลมปม์ เิ ตอร์
3. การตรวจสอบแรงดันไฟฟ้า หมายถึง การตรวจสอบระบบแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายกับมอเตอร์ว่ามี

ขนาดเดียวกันกับมอเตอร์หรือไม่ โดยการใช้เคร่ืองมือวัดแรงดันไฟฟ้าหรือโวลต์มิเตอร์ เพรา ะถ้า

แรงดนั ไฟฟ้าไมเ่ ทา่ กนั แลว้ จะทำให้มอเตอรเ์ สียหายได้ ไม่วา่ แรงดนั ไฟฟา้ จะสงู กวา่ หรอื ต่ำกวา่
4. การตรวจสอบความเร็ว หมายถึง การตรวจสอบความเร็วรอบการหมุนของมอเตอร์ว่าเป็นไป

ตามที่ระบไุ ว้ในแผ่นป้ายหรอื ไม่ โดยการใชเ้ ครอ่ื งมือวัดรอบ ซ่ึงมที งั้ แบบเข็มและแบบตัวเลข
การออกแบบการพันขดลวดของมอเตอร์ จะต้องเลือกฉนวนของขดลวดให้เหมาะสมกับอุณหภูมิ

การทำงานของมอเตอร์ ขดลวดทองแดงเคลือบน้ำยาทีใ่ ช้สำหรับงานเครอื่ งกลไฟฟ้ามีหลายชนิดด้วยกนั ท่ี

ใช้แพรห่ ลายได้แก่ PVF, VEW, PEW และ EIW
การบรู ณาการกจิ กรรมการเรียนการสอนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พอประมาณ คอื การร่วมมอื รว่ มใจในการประหยดั พลังงานเพือ่ ลดโลกร้อนถือเปน็ ส่วนที่มกี าร
รณรงคม์ ากที่สดุ ในปจั จบุ นั สามารถทำได้โดยหลายวิธี เช่น การทำแบบของฉนวนรองรอ่ งสลอ๊ ตใหพ้ อดีกับ
รอ่ งสล๊อต ทำแบบในการพันขดลวดให้พอดี

มเี หตุผล คอื การรจู้ กั นกึ ถึงผลกระทบที่จะเกดิ ขึน้ จากการกระทำต่างๆของเรา เชน่ การทำแบบของ
ฉนวนรองรอ่ งสล๊อตให้พอดีกบั ร่องสล๊อตจะทำให้ลดปรมิ าณการใชฉ้ นวน ทำแบบในการพนั ขดลวดให้พอดี

กับการพนั ขดลวดเพ่ือลดปรมิ าณการใชล้ วดทองแดง
มีภมู คิ ้มุ กันในตัวเอง คือการเตรียมตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบหรอื การเปลยี่ นแปลงด้านตา่ งๆท่ีจะ

เกดิ ขน้ึ เช่น การทำแบบของฉนวนรองรอ่ งสลอ๊ ตให้พอดกี ับร่องสลอ๊ ตจะทำใหป้ ระหยดั การใช้ฉนวนและจะ

มฉี นวนไว้ใชใ้ นการเรียนการสอนในหน่วยต่อไป ทำแบบในการพันขดลวดใหพ้ อดีกับการพันขดลวดเพอ่ื ลด
ปรมิ าณการใช้ลวดทองแดงจะมีลวดไวใ้ ช้ในการเรยี นการสอนในหน่วยตอ่ ไป

เงื่อนไข

แผนการเรยี นรู้

รหสั วิชา 20104-2008 ชอ่ื วชิ า มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลักสตู ร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม
สาขาวชิ า ชา่ งไฟฟ้ากำลงั
จำนวนชวั่ โมงทส่ี อน 14
เรื่อง การตรวจสอบมอเตอร์

เง่อื นไขความรู้ หมายถงึ ความรอบรเู้ กี่ยวกบั วชิ าการตา่ งๆท่ีเกย่ี วข้องอย่างรอบดา้ นและรอบคอบ
เช่นการวางแผนงานทีจ่ ะทำก่อนแลว้ คอ่ ยลงมอื ทำอยา่ งระมดั ระวงั

เง่ือนไขคุณธรรม ทจ่ี ะตอ้ งเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนกั ในคุณธรรม ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต และ
อดทนใชส้ ตปิ ัญญาในการดำเนินชีวิตเช่น

-การใชส้ ตปิ ญั ญา คอื การท่ีเราใช้ความคิดในการเรียนใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ให้มากท่ีสดุ
-ความอดทน ขยนั หมน่ั เพียร คือใช้ความอดทนท่ีจะทำงาน และมีความขยนั ที่จะทำงานใหอ้ อกมาได้
ดีทสี่ ุด

การบรู ณาการกิจกรรมการเรียนการสอนคณุ ธรรม 8 ประการ/คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ

1. ขยนั ความหมายของคำวา่ ขยัน คือ ความตงั้ ใจเพยี รพยายามทำหนา้ ทกี่ ารงานอย่าง
ต่อเนือ่ ง สมำ่ เสมอ อดทนไม่ทอ้ ถอยเมอ่ื พบอปุ สรรค ความขยนั ต้องปฏิบัติควบคู่กบั การใช้สตปิ ัญญา
แกป้ ญั หาจนเกดิ ผลสำเร็จตามความมุ่งหมาย

คณุ ลกั ษณะเชงิ พฤติกรรม ผู้ทม่ี ีความขยัน คอื ผู้ทีต่ ง้ั ใจทำอยา่ งจริงจังตอ่ เนื่องในเรื่องท่ีถูกทคี่ วรผู้ท่เี ปน็ คน
สงู้ าน มีความพยายาม ไม่ท้อถอย กลา้ เผชิญอปุ สรรค รักงานทีท่ ำต้งั ใจทำหน้าท่ีอยา่ งจริงจัง

2. ประหยัด ความหมายของคำวา่ ประหยดั คอื การรจู้ ักเกบ็ ออมถนอมใชท้ รพั ย์สนิ สิง่ ของแตพ่ อควร
พอประมาณ ให้เกดิ ประโยชน์คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟอื ยฟงุ้ เฟอ้
คณุ ลักษณะเชงิ พฤตกิ รรม ผูท้ มี่ ีความประหยดั คือ ผู้ท่ีดำเนินชีวติ ความเปน็ อยู่ที่เรียบง่าย รูจ้ กั ฐานะ

การเงนิ ของตนคดิ ก่อนใชค้ ดิ กอ่ นซอ้ื เก็บออม ถนอมใชท้ รัพย์สนิ ส่งิ ของอยา่ งคมุ้ ค่ารจู้ ักทำบัญชรี ายรบั -
รายจา่ ยของตนเองอยู่เสมอ

3. ความซื่อสตั ย์ ความหมายของคำว่า ความซ่อื สตั ย์ คือ ประพฤตติ รงไมเ่ อนเอียงไมม่ เี ล่หเ์ หลย่ี มมคี วาม
จริงใจปลอดจากความรู้สกึ ลำเอียงหรืออคติ
คณุ ลกั ษณะเชิงพฤติกรรม ผทู้ ่ีมีความซือ่ สัตย์ คือ ผู้ท่ีมีความประพฤตติ รงท้ังต่อหนา้ ที่ ต่อวชิ าชพี ตรงตอ่

เวลา ไม่ใช้เลห่ ก์ ลคดโกงท้งั ทางตรงและทางอ้อม รบั รหู้ นา้ ท่ขี องตนเองและปฏิบตั อิ ย่างเต็มทถ่ี กู ต้อง
4. มวี ินยั ความหมายของคำวา่ มวี นิ ัย คือ การยึดม่นั ในระเบียบแบบแผนขอ้ บงั คบั และข้อปฏิบัติ ซ่ึงมที ง้ั

วนิ ยั ในตนเองและวนิ ัยตอ่ สงั คม
คุณลกั ษณะเชงิ พฤติกรรม ผู้ทมี่ ีวนิ ยั คือ ผู้ท่ปี ฏิบัตติ นในขอบเขต กฎระเบยี บของสถานศึกษา สถาบัน/
องคก์ ร/สังคมและประเทศโดยทต่ี นเองยินดีปฏิบตั ิตามอยา่ งเต็มใจและตั้งใจ

5. สุภาพ ความหมายของคำว่า สภุ าพ คือ เรยี บร้อย อ่อนโยน ละมนุ ละม่อมมกี ิริยามารยาททดี่ งี าม มี
สมั มาคารวะ

แผนการเรียนรู้

รหสั วชิ า 20104-2008 ชอ่ื วิชา มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ชา่ งไฟฟา้ กำลงั
จำนวนช่วั โมงทสี่ อน 14
เรื่อง การตรวจสอบมอเตอร์

คณุ ลกั ษณะเชงิ พฤติกรรม ผทู้ ีม่ คี วามสภุ าพ คือ ผู้ทอี่ ่อนนอ้ มถอ่ มตนตามสถานภาพและกาลเทศะ ไม่
ก้าวร้าว รนุ แรงวางอำนาจข่มผอู้ น่ื ท้งั โดยวาจาและทา่ ทาง แต่ในเวลาเดียวกันยังคงมีความมัน่ ใจในตนเอง

เป็นผทู้ ่มี ีมารยาท วางตนเหมาะสมตามวฒั นธรรมไทย
6. สะอาด ความหมายของคำว่า สะอาด คอื ปราศจากความมัวหมองทั้งกาย ใจและสภาพแวดล้อม ความ

ผ่องใสเปน็ ท่ีเจริญตาทำใหเ้ กดิ ความสบายใจแกผ่ ู้พบเหน็
คุณลักษณะเชิงพฤตกิ รรม ผ้ทู ี่ความสะอาด คอื ผูร้ ักษารา่ งกายทอี่ ยู่อาศยั สิ่งแวดลอ้ มถกู ต้องตาม
สขุ ลกั ษณะ ฝึกฝนจิตใจมิให้ขนุ่ มัวจงึ มีความแจ่มใสอยู่เสมอ

7. สามัคคี ความหมายของคำว่า สามัคคี คือ ความพรอ้ มเพียงกันความกลมเกลยี วกนั ความปรองดองกนั
ร่วมใจกันปฏิบัตงิ านให้บรรลผุ ลตามทีต่ ้องการ เกิดงานการอยา่ งสร้างสรรคป์ ราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่

เอารดั เอาเปรยี บกนั เป็นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรบั ความแตกตา่ งหลากหลายทางความคิด ความ
หลากหลายในเร่อื งเชอ้ื ชาติ ความกลมเกลยี วกันในลักษณะเชน่ น้ี เรียกอกี อยา่ งวา่ ความสมานฉนั ท์
คณุ ลักษณะเชงิ พฤติกรรม ผู้ท่มี คี วามสามคั คี คือ ผู้ทเ่ี ปิดใจกวา้ งรับฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื รบู้ ทบาท

ของตนท้งั ในฐานะผ้นู ำและผ้ตู ามท่ีดี มีความมุง่ ม่ันต่อการรวมพลงั ชว่ ยเหลือเกือ้ กลู กันเพอ่ื ใหก้ ารงาน
สำเร็จลลุ ว่ ง แกป้ ัญหาและขจดั ความขัดแยง้ ได้ เปน็ ผูม้ ีเหตผุ ล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทาง

วัฒนธรรม ความคิด ความเชอื่ พร้อมที่จะปรบั ตวั เพื่ออยู่รว่ มกันอยา่ งสนั ติ
8. มีน้ำใจ ความหมายของคำวา่ มนี ้ำใจ คือ ความจรงิ ใจทไ่ี ม่เหน็ แก่เพยี งตวั เองหรือเรอื่ งของตัวเอง แต่
เหน็ อกเห็นใจเห็นคุณคา่ ในเพอื่ น มนุษย์ มีความเอ้ืออาทรเอาใจใส่ ให้ความสนใจในความตอ้ งการ ความ

จำเป็น วามทกุ ข์สุขของผู้อ่นื และพร้อมท่จี ะให้ความช่วยเหลือเก้ือกลู กนั และกัน
คุณลกั ษณะเชงิ พฤติกรรม ผู้ที่มีนำ้ ใจ คือ ผู้ใหแ้ ละผู้อาสาช่วยเหลอื สงั คม ร้จู ักแบ่งปัน เสียสละความสุข

ส่วนตนเพอ่ื ทำประโยชน์แก่ผู้อน่ื เข้าใจ เห็นใจ ผู้ที่มีความเดือดรอ้ น อาสาชว่ ยเหลอื สงั คมด้วยแรงกาย
สติปัญญา ลงมอื ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ บรรเทาปญั หาหรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งดงี ามใหเ้ กิดข้ึนในชมุ ชน

การบูรณาการกิจกรรมการเรยี นการสอนสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน
นำความรู้ด้านไฟฟ้ามาใช้ในการดำเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรใ์ นโรงเรยี น เช่น การนำเคร่ืองสูบน้ำ

พลังงานแสงอาทิตมาใช้ในการดำเนนิ งานตามโครงการชีววีเพ่ือการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื

2.จุดประสงค์การเรยี นรู้(มาตรฐานการเรยี นรู้)
ดา้ นความรู้
1. บอกวิธีการตรวจสอบกราวดไ์ ด้
2. บอกวธิ ีการตรวจสอบกระแสไฟฟ้าได้
3. บอกวธิ กี ารตรวจสอบแรงดนั ไฟฟา้ ได้

แผนการเรยี นรู้

รหัสวิชา 20104-2008 ชอ่ื วิชา มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลักสูตร ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม
สาขาวชิ า ชา่ งไฟฟ้ากำลงั
จำนวนชั่วโมงท่สี อน 14
เร่อื ง การตรวจสอบมอเตอร์

4. บอกวธิ ีการตรวจสอบความเร็วรอบได้
5. บอกสาเหตุขดั ขอ้ งของมอเตอรไ์ ด้

6. อธิบายวธิ ีการเลือกใชฉ้ นวนสำหรบั พันมอเตอร์ได้
7. อธิบายวธิ กี ารเลือกชนิดลวดทองแดงเคลือบน้ำยาใช้กบั มอเตอรไ์ ด้

ดา้ นทกั ษะ
1. ถอดสว่ นประกอบมอเตอร์ 3 เฟสแบบสองช้นั ได้
2. รือ้ ขดลวดสเตเตอรไ์ ด้

3. ทำฉนวนรองรอ่ งสลอตได้
4. ทำแบบฟอรม์ ขดลวดแบบสองชัน้ ได้

5. พันขดลวดด้วยแบบฟอร์มขดลวดแบบสองชน้ั ได้
6. ทำฉนวนรองรอ่ งสลอตแบบสองช้ันได้
7. ลงขดลวดในรอ่ งสลอตแบบสองช้นั ตามแบบได้

8. ปดิ ปากรอ่ งสลอตตามวธิ กี ารได้
9. ต่อวงจรขดลวดมอเตอร์แบบสองชั้นตามแบบได้

10. มดั ขดลวดมอเตอร์แบบสองช้นั ตามขั้นตอนปฏิบัตไิ ด้
11. อาบวาร์นิชโครงมอเตอร์และประกอบมอเตอร์แบบสองช้ันได้
12. ประกอบมอเตอร์แบบสองชน้ั ตามแบบได้

13. ทดสอบมอเตอร์และการกลบั ทศิ ทางการหมุนมอเตอร์ได้
ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการคา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ

แสดงออกด้านความมีระเบียบวินัย การเคารพกฎกติกา ความร่วมมือ และการยอมรับความ
คดิ เห็นสว่ นใหญ่

3.สาระการเรียนรู้
1. แสดงความร้เู กี่ยวกบั การตรวจสอบมอเตอร์

2. เตรยี มโครงมอเตอร์ 3 เฟส พนั แบบสองชนั้
3. ทำแบบฟอรม์ ขดลวดและพนั ขดลวดดว้ ยแบบฟอร์มขดลวดแบบสองชัน้
4. ลงขดลวดในร่องสลอตแบบสองชัน้

5. ตอ่ วงจรและการมัดขดลวดแบบสองชนั้
6. ประกอบมอเตอรแ์ ละการทดสอบมอเตอร์แบบสองชั้น

แผนการเรียนรู้

รหัสวิชา 20104-2008 ชื่อวิชา มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม
สาขาวิชา ช่างไฟฟ้ากำลัง
จำนวนช่วั โมงท่สี อน 14
เรอื่ ง การตรวจสอบมอเตอร์

4.ส่อื การเรยี นรู้
1. หนังสอื เรยี นมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั ของสำนักพมิ พ์ศูนย์หนงั สอื เมืองไทย

2. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น และหลังเรยี น
3. อนิ เตอร์เน็ต

5.กระบวนการจัดการเรยี นรู้
กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยท่ี 7
2. ครูตง้ั คำถามนำเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ ักเรยี นช่วยกันคดิ และหาคำตอบเกีย่ วกบั อุปกรณ์ทใี่ ช้

3. ครสู อนเนอื้ หาสาระหัวข้อที่ 7.1 – 7.4 (บรรยาย ถามตอบ สาธิต ฝึกปฏิบตั ิ)
4. แบง่ กล่มุ นักเรยี นเพื่อเตรยี มปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 2.6 – 2.8
5. นกั เรียนลงมอื ปฏบิ ัติงานตามขั้นตอนในใบงานท่ี 2.6 – 2.8

6. ครตู รวจผลงานภาคปฏบิ ตั ิของนกั เรียน
7. ให้นักเรียนทำความสะอาดเครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ และบรเิ วณพ้นื ที่ปฏิบัติงานให้เรยี บร้อย

8. นักเรียนและครูรว่ มกนั สรปุ บทเรยี น และผลการปฏบิ ตั ิงาน
กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ครูต้ังคำถามนำเข้าสู่บทเรียนโดยใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั คิดและหาคำตอบเกีย่ วกบั อุปกรณ์ทใ่ี ช้

2. ครูสอนเนอ้ื หาสาระหวั ข้อท่ี 7.5 – 7.8 (บรรยาย ถามตอบ สาธิต ฝกึ ปฏบิ ัติ)
3. แบง่ กลุ่มนักเรียนเพอ่ื เตรียมปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 2.9 – 2.10

4. นกั เรยี นลงมอื ปฏบิ ัตงิ านตามข้ันตอนในใบงานท่ี 2.9 – 2.10
5. ครตู รวจผลงานภาคปฏบิ ตั ิของนกั เรียน
6. ให้นักเรยี นทำความสะอาดเครอ่ื งมือ อปุ กรณ์ และบริเวณพนื้ ทปี่ ฏิบัติงานใหเ้ รียบรอ้ ย

7. นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรุปบทเรียน และผลการปฏิบัตงิ าน
8. นักเรยี นทำแบบฝกึ หดั ท้ายหน่วยท่ี 7

8. นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 7

6.กระบวนการวดั ผลและประเมินผล
1. สังเกตพุ ฤติกรรมในการทำงาน
2. คุณภาพของงานทสี่ ่ง
3. ตรวจแบบฝกึ หัด / แบบทดสอบ
4. ถาม – ตอบในชน้ั เรยี น

แผนการเรยี นรู้

รหัสวชิ า 20104-2008 ช่อื วิชา มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ชา่ งไฟฟ้ากำลงั
จำนวนช่วั โมงทีส่ อน 14
เรอื่ ง การตรวจสอบมอเตอร์

การวดั ผล การประเมินผล

1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre–test) หนว่ ยท่ี 7 (ไวเ้ ปรยี บเทยี บกับคะแนนสอบหลังเรยี น)

2. แบบสังเกตการทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑ์ผ่าน 60%

3. ใบงานท่ี 2.6 และแบบประเมิน เกณฑผ์ า่ น 60%

4. ใบงานที่ 2.7 และแบบประเมนิ เกณฑ์ผ่าน 60%

5. ใบงานที่ 2.8 และแบบประเมิน เกณฑผ์ ่าน 60%

6. ใบงานท่ี 2.9 และแบบประเมิน เกณฑ์ผ่าน 60%

7. แบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 7 เกณฑ์ผ่าน 50%

8. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ ่าน 60%

7.แหลง่ การเรียนรู้

1 ห้องสมดุ วิทยาลัย ศนู ยว์ ทิ ยบริการ

2 ครอบครวั ของผูเ้ รียน ผปู้ ระกอบการ

3 สงิ่ พมิ พ์ประเภทตา่ ง ๆ เช่น นติ ยสาร/วารสารด้านอุตสาหกรรมไฟฟา้ สารานุกรม

4 ครูผ้สู อน Internet

8.บันทึกหลังการเรยี นรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบความร(ู้ Information Sheets)

รหสั วิชา 20104-2008 ชอื่ วชิ า มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1-6-3

หลักสูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม
สาขาวชิ า ช่างไฟฟ้ากำลงั
จำนวนชวั่ โมงทสี่ อน 14
เร่ือง การตรวจสอบมอเตอร์

จดุ ประสงค์การเรยี นการสอน รายการเรยี นรู้

จดุ ประสงค์การเรยี นร้(ู สมรรถนะการเรยี นร้)ู 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับการตรวจสอบมอเตอร์

ด้านความรู้ 2. เตรียมโครงมอเตอร์ 3 เฟส พันแบบสองชน้ั

1. บอกวิธกี ารตรวจสอบกราวด์ได้ 3. ทำแบบฟอรม์ ขดลวดและพนั ขดลวดด้วย

2. บอกวธิ กี ารตรวจสอบกระแสไฟฟ้าได้ แบบฟอรม์ ขดลวดแบบสองช้นั

3. บอกวิธีการตรวจสอบแรงดันไฟฟา้ ได้ 4. ลงขดลวดในรอ่ งสลอตแบบสองช้ัน

4. บอกวธิ ีการตรวจสอบความเร็วรอบได้ 5. ตอ่ วงจรและการมดั ขดลวดแบบสองช้ัน

5. บอกสาเหตขุ ัดขอ้ งของมอเตอร์ได้ 6. ประกอบมอเตอรแ์ ละการทดสอบมอเตอรแ์ บบ

6. อธิบายวิธกี ารเลือกใช้ฉนวนสำหรบั พัน สองช้ัน

มอเตอรไ์ ด้

7. อธิบายวิธีการเลือกชนิดลวดทองแดง

เคลอื บนำ้ ยาใชก้ บั มอเตอรไ์ ด้

ด้านทักษะ

1. ถอดสว่ นประกอบมอเตอร์ 3 เฟสแบบ

สองชัน้ ได้

2. รอ้ื ขดลวดสเตเตอรไ์ ด้

3. ทำฉนวนรองรอ่ งสลอตได้

4. ทำแบบฟอร์มขดลวดแบบสองชน้ั ได้

5. พนั ขดลวดดว้ ยแบบฟอรม์ ขดลวดแบบ

สองชั้นได้

6. ทำฉนวนรองรอ่ งสลอตแบบสองชน้ั ได้

7. ลงขดลวดในรอ่ งสลอตแบบสองชัน้ ตาม

แบบได้

8. ปิดปากรอ่ งสลอตตามวิธกี ารได้

9. ต่อวงจรขดลวดมอเตอร์แบบสองชนั้

ตามแบบได้

10. มดั ขดลวดมอเตอรแ์ บบสองชั้นตาม

ขน้ั ตอนปฏิบัตไิ ด้

11. อาบวาร์นิชโครงมอเตอร์และ

ประกอบมอเตอรแ์ บบสองชนั้ ได้

12. ประกอบมอเตอร์แบบสองชัน้ ตาม

ใบความรู้(Information Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ชือ่ วชิ า มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม
สาขาวิชา ช่างไฟฟา้ กำลงั
จำนวนชวั่ โมงท่สี อน 14
เร่ือง การตรวจสอบมอเตอร์

แบบได้
13. ทดสอบมอเตอร์และการกลบั ทศิ

ทางการหมุนมอเตอรไ์ ด้

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการ
ค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ

แสดงออกดา้ นความมี

ระเบียบวนิ ัย การเคารพกฎกตกิ า
ความร่วมมอื และการยอมรับความ
คดิ เหน็ ส่วนใหญ่

เน้ือหาสาระ
การตรวจสอบมอเตอรก์ ่อนนำมอเตอร์ไปใช้งาน จำเป็นอย่างยิ่งท่ีต้องตรวจสอบมอเตอร์

ท้ังนี้เพ่ือให้ทราบความพร้อมหรือความสมบูรณ์ของตัวมอเตอร์เพื่อจะไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการที่จะ
นำไปใช้งาน เพราะถ้าเกิดข้อบกพร่องในขณะท่ีใช้งานแล้วย่อมจะทำให้เกิดความเสียหายอย่างมากในทุก

ด้าน ดงั นัน้ จงึ ตอ้ งมีข้นั ตอนการตรวจสอบดงั นี้
1. การตรวจสอบกราวด์ หมายถึง การตรวจสอบเพื่อหาว่ามอเตอร์มีขดลวดสัมผัสกับโครงหรือไม่

ซ่งึ จะทำใหเ้ กดิ ความไมป่ ลอดภยั ตอ่ ผู้ใช้ โดยการใช้เคร่อื งมอื วดั ค่าฉนวนของมอเตอร์

2. การตรวจสอบกระแสไฟฟ้า หมายถึง การตรวจสอบค่ากระแสไฟฟา้ ของมอเตอร์ท้ังในขณะท่ไี ม่มี
โหลดและขณะท่มี ีโหลด ว่ากระแสไฟฟา้ เกินพิกัดหรือน้อยกว่าพิกัดตามทรี่ ะบุไว้ทแี่ ผน่ ป้ายหรอื ไม่ โดยการ

ใชแ้ อมมเิ ตอร์หรอื แคลมปม์ ิเตอร์
3. การตรวจสอบแรงดันไฟฟ้า หมายถึง การตรวจสอบระบบแรงดันไฟฟ้าท่ีจ่ายกับมอเตอร์ว่ามี

ขนาดเดียวกันกับมอเตอร์หรือไม่ โดยการใช้เครื่องมือวัดแรงดันไฟฟ้าหรือโวลต์มิเตอร์ เพราะถ้า

แรงดนั ไฟฟา้ ไม่เท่ากันแล้วจะทำใหม้ อเตอร์เสียหายได้ ไม่ว่าแรงดันไฟฟ้าจะสงู กว่าหรอื ต่ำกว่า
4. การตรวจสอบความเร็ว หมายถึง การตรวจสอบความเร็วรอบการหมุนของมอเตอร์ว่าเป็นไป

ตามทีร่ ะบุไว้ในแผ่นป้ายหรือไม่ โดยการใช้เครอ่ื งมือวัดรอบ ซึง่ มีทั้งแบบเข็มและแบบตวั เลข
การออกแบบการพันขดลวดของมอเตอร์ จะต้องเลือกฉนวนของขดลวดให้เหมาะสมกับอุณหภูมิ

การทำงานของมอเตอร์ ขดลวดทองแดงเคลือบนำ้ ยาทีใ่ ช้สำหรับงานเคร่อื งกลไฟฟ้ามีหลายชนิดด้วยกนั ท่ี

ใช้แพรห่ ลายไดแ้ ก่ PVF, VEW, PEW และ EIW

ใบความร้(ู Information Sheets)

รหสั วิชา 20104-2008 ชอื่ วชิ า มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ช่างไฟฟ้ากำลงั
จำนวนชัว่ โมงทสี่ อน 14
เรอ่ื ง การตรวจสอบมอเตอร์

คำถาม

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยที่ 7

การตรวจสอบมอเตอร์

คำส่ัง จงทำเครอ่ื งหมายกากบาท () คำตอบที่ถูกท่ีสุดเพยี งข้อเดยี ว

1. เมอ่ื มอเตอร์ไม่สามารถเร่ิมหมนุ ไดค้ วรตรวจสง่ิ ใดเปน็ อนั ดบั แรก

ก. ขัว้ ต่อสาย ข. สวิตช์แรงเหวีย่ งหนีศนู ยก์ ลาง

ค. คาปาซิเตอร์ ง. วงจรขดลวดสตารต์

2. ถ้ามอเตอรเ์ ริม่ หมนุ ได้แต่เกดิ ความรอ้ นอยา่ งรวดเร็วต้องตรวจสิง่ ใดก่อน

ก. ฟวิ ส์ ข. ตรวจวดั แรงดันไฟฟ้า

ค. ตรวจวัดกระแสไฟฟ้า ง. ตรวจสอบกราวด์

3. ถ้ามอเตอร์เริ่มหมุนไม่ได้และเกิดความร้อนอย่างมาก แต่สามารถหมุนเพลาของมอเตอร์ได้ด้วยมือต้อง

ตรวจส่งิ ใดก่อน

ก. การลัดวงจรระหว่างรอบ ข. ฟวิ ส์

ค. สายไฟ ง. ขดลวดสตาร์ต

4. การเรมิ่ หมนุ มอเตอร์ 3 เฟส ถ้าแรงดันไฟฟา้ หายไป 1 เฟส เมอ่ื เรม่ิ หมุนมอเตอร์จะเกดิ อะไรขึ้น

ก. โอเวอรโ์ หลดตัดวงจรทันที ข. เกดิ การลดั วงจร

ค. มอเตอรจ์ ะเกดิ เสยี งคราง ง. มอเตอรไ์ หมท้ นั ที

5. มอเตอร์สปลิตเฟส หากว่าสวิตช์แรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางไม่ต่อกับขดลวดสตาร์ต เม่ือเร่ิมหมุนมอเตอร์

จะเกดิ อะไรขน้ึ

ก. ฟวิ สข์ าดทันที ข. เกิดความรอ้ น

ค. มอเตอร์ไหม้ทันที ง. มเี สียงคราง

6. หากมอเตอรเ์ กิดอาการเสียงดังควรพิจารณาวา่ เกิดจากสาเหตอุ ะไรก่อน

ก. มอเตอร์เกดิ การลดั วงจรระหวา่ งรอบ ข. เกิดการกราวด์

ค. เกดิ จากโรเตอร์บารข์ าดหรอื รา้ ว ง. เกดิ จากบุช ลูกปนื หรอื พัดลม

7. อปุ กรณท์ ต่ี รวจหาการลดั วงจรระหวา่ งรอบในขดลวดของมอเตอร์เรียกวา่ อะไร

ก. แอมมเิ ตอร์ ข. แทคโคมิเตอร์

ค. โวลต์มเิ ตอร์ ง. โกรวเลอร์

8. เม่อื ทำการตดิ ต้ังมอเตอร์ สง่ิ แรกที่ตอ้ งพิจารณาถงึ คืออะไร

ก. สถานที่ติดตง้ั ข. รปู รา่ งลักษณะของมอเตอร์

ค. แหล่งจ่ายไฟ ง. ชนิดของมอเตอร์

ใบความร้(ู Information Sheets)

รหสั วิชา 20104-2008 ชือ่ วิชา มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลักสตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ชา่ งไฟฟา้ กำลงั
จำนวนช่ัวโมงท่สี อน 14
เรื่อง การตรวจสอบมอเตอร์

9. ถ้างานต้องการใชม้ อเตอร์ขนาด 5 kW แต่นำมอเตอร์ขนาด 4 kW ไปใช้งานแทนจะเกิดอะไรกบั มอเตอร์

ก. มอเตอรต์ ้องใช้แรงดนั ไฟฟ้าสูงกว่าปกติ ข. ทำให้ประสิทธิภาพของมอเตอรล์ ดลง

ค. มอเตอรจ์ ะไหม้ ง. มอเตอรจ์ ะใชก้ ระแสไฟฟา้ มากกว่าปกติ

10. หากขั้วตอ่ สายไม่แนน่ มอเตอรจ์ ะเกิดอาการอยา่ งไร

ก. เกิดประกายไฟ ข. มอเตอรเ์ ร่ิมหมุนไมไ่ ด้

ค. มอเตอร์จะใช้กระแสไฟฟา้ มาก ง. ถกู ทุกขอ้

11. หากตอ้ งการซอ้ื มอเตอรม์ าใช้งาน สิ่งแรกทต่ี อ้ งคำนึงถงึ คอื อะไร

ก. ลักษณะงานทตี่ อ้ งใช้ ข. แหล่งจา่ ยไฟ

ค. รปู ร่างของมอเตอร์ ง. ราคาของมอเตอร์

12. หากคิดว่ามอเตอร์ที่เกิดเสียงครางหรือดัง เกิดจากลูกปืนหรือบุชชำรุด จะมีการตรวจสอบขั้นต้น

อยา่ งไร

ก. รื้อมอเตอร์ออกมาดูทันที

ข. ทดลองขยบั เพลาของมอเตอร์ขนึ้ ลง

ค. ถอดฝาครอบมอเตอร์ออกมาดู

ง. ไมม่ ีข้อถูก

13. วสั ดทุ จี่ ะนำมาเปน็ แท่งกราวดต์ ้องมีคุณสมบตั ิพเิ ศษอะไร

ก. เปน็ ตัวนำทด่ี ีที่สุด ข. ทนต่อความกัดกรอ่ น

ค. เป็นทองแดงหรืออะลูมเิ นยี ม ง. ถูกทุกขอ้

14. การฝังแทง่ กราวด์ต้องฝังลกึ อย่างนอ้ ยกี่เมตร

ก. 1 เมตร ข. 1.5 เมตร

ค. 2 เมตร ง. 2.5 เมตร

15. เครือ่ งมอื ที่ใชว้ ดั ความเรว็ รอบเรียกว่าอะไร

ก. แอมมิเตอร์ ข. โวลตม์ เิ ตอร์

ค. แทคโคมิเตอร์ ง. โกรวเลอร์

เฉลยแบบฝึ กหัดหน่วยท่ี 7

คำส่งั จงนำอักษรทางด้านขวามือมาเตมิ ลงหน้าหมายเลขทางดา้ นซ้ายมอื ใหม้ ีความหมายสมั พนั ธก์ นั

ง 1. วดั กระแสไฟฟ้า ก. โวลตม์ ิเตอร์

ใบความรู้(Information Sheets)

รหัสวิชา 20104-2008 ชอ่ื วิชา มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1-6-3

หลักสตู ร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม
สาขาวชิ า ช่างไฟฟ้ากำลัง
จำนวนชวั่ โมงทีส่ อน 14
เร่ือง การตรวจสอบมอเตอร์

ก 2. วัดแรงดันไฟฟ้า ข. แทคโคมเิ ตอร์
ข 3. วดั ความเร็วรอบ ค. โกรวเลอร์

ฉ 4. วดั กราวด์ ง. แคลมป์มิเตอร์
ค 5. ตรวจการลดั วงจรระหว่างรอบ จ. วัตตม์ ิเตอร์

ฉ. โอหม์ มเิ ตอร์
ช. ฟรีเควนซีมเิ ตอร์
ซ. ออสซโิ ลสโคป

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยที่ 7
การตรวจสอบมอเตอร์

คำสง่ั จงทำเครอื่ งหมายกากบาท ( ) คำตอบท่ถี กู ที่สดุ เพยี งขอ้ เดียว

1. ถา้ มอเตอร์เร่มิ หมุนไดแ้ ต่เกดิ ความรอ้ นอยา่ งรวดเร็วต้องตรวจส่ิงใดก่อน

ก. ฟิวส์ ข. ตรวจวดั กระแสไฟฟ้า

ค. ตรวจวัดแรงดันไฟฟา้ ง. ตรวจสอบกราวด์

2. ถ้ามอเตอรเ์ ร่ิมหมุนไม่ได้และเกิดความร้อนอย่างมาก แต่สามารถหมุนเพลาของมอเตอร์ได้ด้วยมือต้อง

ตรวจสิ่งใดกอ่ น

ก. สายไฟ ข. การลดั วงจรระหว่างรอบ

ค. ขดลวดสตารต์ ง. ฟิวส์

3. เมอื่ มอเตอรไ์ ม่สามารถเร่มิ หมนุ ได้ควรตรวจส่ิงใดเป็นอนั ดับแรก

ก. สวติ ชแ์ รงเหว่ียงหนศี ูนย์กลาง ข. ขั้วต่อสาย

ค. คาปาซเิ ตอร์ ง. วงจรขดลวดสตารต์

4. มอเตอร์สปลิตเฟส หากสวิตช์แรงเหว่ียงหนีศูนย์กลางไม่ต่อกับขดลวดสตาร์ต เม่ือเริ่มหมุนมอเตอร์

จะเกดิ อะไรขนึ้

ก. ฟวิ สข์ าดทนั ที ข. เกดิ ความรอ้ น

ค. มอเตอรไ์ หมท้ นั ที ง. มีเสียงคราง

5. การเร่ิมหมนุ มอเตอร์ 3 เฟส ถ้าแรงดันไฟฟ้าหายไป 1 เฟส เม่ือเรมิ่ หมุนมอเตอร์จะเกิดอะไรข้ึน

ก. มอเตอร์จะเกดิ เสียงคราง ข. มอเตอร์ไหมท้ นั ที

ค. โอเวอรโ์ หลดตัดวงจรทันที ง. เกดิ การลัดวงจร

6. อปุ กรณท์ ี่ตรวจหาการเกิดลดั วงจรระหว่างรอบในขดลวดของมอเตอรเ์ รียกว่าอะไร

ก. โกรวเลอร์ ข. แทคโคมิเตอร์

ใบความร(ู้ Information Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ชื่อวชิ า มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 1-6-3

หลักสตู ร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ชา่ งไฟฟ้ากำลัง
จำนวนชั่วโมงท่สี อน 14
เร่อื ง การตรวจสอบมอเตอร์

ค. แอมมเิ ตอร์ ง. โวลตม์ เิ ตอร์

7. หากมอเตอร์เกดิ อาการเสียงดงั ควรพจิ ารณาว่าเกิดจากสาเหตุอะไรกอ่ น

ก. มอเตอร์เกดิ การลดั วงจรระหวา่ งรอบ ข. เกิดจากบุช ลูกปืน หรอื พดั ลม

ค. เกดิ การกราวด์ ง. เกิดจากโรเตอรบ์ ารข์ าดหรอื รา้ ว

8. ถ้างานตอ้ งการใช้มอเตอร์ขนาด 5 kW แต่นำมอเตอรข์ นาด 4 kW ไปใช้งานแทนจะเกดิ อะไรกับมอเตอร์

ก. มอเตอร์จะไหม้ ข. ทำใหป้ ระสิทธภิ าพของมอเตอร์ลดลง

ค. มอเตอรจ์ ะใชก้ ระแสไฟฟ้ามากกวา่ ปกติ ง. มอเตอรต์ ้องใช้แรงดนั ไฟฟ้าสูงกว่าปกติ

9. หากขว้ั ต่อสายไม่แนน่ มอเตอรจ์ ะเกดิ อาการอย่างไร

ก. เกิดประกายไฟ ข. มอเตอร์จะใช้กระแสไฟฟ้ามาก

ค. มอเตอรเ์ ร่มิ หมนุ ไม่ได้ ง. ถูกทุกขอ้

10. เม่อื ตดิ ตั้งมอเตอร์ สิ่งแรกทีต่ ้องพจิ ารณาถึงคอื อะไร

ก. แหลง่ จา่ ยไฟ ข. สถานทีต่ ิดต้งั

ค. ชนดิ ของมอเตอร์ ง. รปู ร่างลกั ษณะของมอเตอร์

11. วสั ดทุ ี่จะนำมาเป็นแทง่ กราวดต์ ้องมีคุณสมบตั พิ เิ ศษอะไร

ก. เปน็ ตัวนำทดี่ ที ่ีสดุ ข. ทนต่อความกัดกรอ่ น

ค. เปน็ ทองแดงหรอื อะลมู ิเนียม ง. ถกู ทกุ ข้อ

12. หากต้องการซอ้ื มอเตอรม์ าใช้งาน สงิ่ แรกท่ตี ้องคำนงึ ถึงคืออะไร

ก. ลักษณะงานทีต่ ้องใช้ ข. แหลง่ จา่ ยไฟ

ค. รูปรา่ งของมอเตอร์ ง. ราคาของมอเตอร์

13. การฝังแทง่ กราวดต์ อ้ งฝงั ลกึ อยา่ งนอ้ ยก่ีเมตร

ก. 1 เมตร ข. 1.5 เมตร

ค. 2 เมตร ง. 2.5 เมตร

14. เคร่ืองมอื ท่ีใชว้ ัดความเรว็ รอบเรยี กว่าอะไร

ก. แอมมิเตอร์ ข. โวลตม์ เิ ตอร์

ค. แทคโคมิเตอร์ ง. โกรวเลอร์

15. หากคดิ ว่ามอเตอร์ท่ีเกิดเสียงครางหรือดงั เกิดจากลกู ปนื หรือบชุ ชำรุด จะมกี ารตรวจสอบขั้นต้นอย่างไร

ก. ร้อื มอเตอรอ์ อกมาดทู นั ที ข. ทดลองขยับเพลาของมอเตอร์ขนึ้ ลง

ค. ถอดฝาครอบมอเตอรอ์ อกมาดู ง. ไมม่ ขี อ้ ถูก

เอกสารอา้ งอิง

ใบความรู้(Information Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ชอ่ื วชิ า มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 1-6-3

หลักสตู ร ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ประเภทวิชา อุตสาหกรรม
สาขาวชิ า ชา่ งไฟฟ้ากำลงั
จำนวนชั่วโมงทส่ี อน 14
เร่อื ง การตรวจสอบมอเตอร์

คารม สนิ ธูระหัฐ(2562). มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ (20104–2008). นนทบรุ ี : ศนู ย์หนังสือ
เมืองไทย

ใบงาน(Job Sheets)

รหสั วิชา 20104-2008 ชือ่ วิชา มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ช่างไฟฟา้ กำลัง
จำนวนช่ัวโมงทีส่ อน 14
เรื่อง การตรวจสอบมอเตอร์

จุดประสงค์การเรยี นรู้ รายการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรยี นร(ู้ มาตรฐานการเรียนรู)้ เคร่อื งมอื /วัสดุ-อปุ กรณ์

ด้านความรู้ 1. การเตรยี มโครงมอเตอร์ 3 เฟส พันแบบสอง

1. บอกวิธีการตรวจสอบกราวด์ได้ ช้นั (Double Layer)

2. บอกวธิ กี ารตรวจสอบกระแสไฟฟา้ ได้ 2. การทำแบบฟอรม์ ขดลวดและพันขดลวดดว้ ย

3. บอกวิธกี ารตรวจสอบแรงดนั ไฟฟา้ ได้ แบบฟอร์มขดลวดแบบสองช้นั (Double

4. บอกวธิ กี ารตรวจสอบความเร็วรอบได้ Layer)

5. บอกสาเหตขุ ัดข้องของมอเตอร์ได้ 3. การลงขดลวดในรอ่ งสลอตแบบสองชัน้
6. อธิบายวิธกี ารเลือกใช้ฉนวนสำหรบั พัน
(Double Layer)
มอเตอร์ได้
7. อธิบายวิธีการเลือกชนิดลวดทองแดง 4. การตอ่ วงจรและการมดั ขดลวดแบบ
สองชั้น (Double Layer)
เคลือบนำ้ ยาใชก้ ับมอเตอร์ได้
5. การประกอบมอเตอร์และการทดสอบแบบสอง
ดา้ นทกั ษะ ชนั้ (Double Layer)

1. ถอดสว่ นประกอบมอเตอร์ 3 เฟสแบบ

สองช้ันได้

2. รอ้ื ขดลวดสเตเตอรไ์ ด้

3. ทำฉนวนรองร่องสลอตได้

4. ทำแบบฟอร์มขดลวดแบบสองชัน้ ได้

5. พันขดลวดด้วยแบบฟอร์มขดลวดแบบ

สองชั้นได้

6. ทำฉนวนรองรอ่ งสลอตแบบสองชัน้ ได้

7. ลงขดลวดในรอ่ งสลอตแบบสองชนั้ ตาม

แบบได้

8. ปดิ ปากรอ่ งสลอตตามวิธกี ารได้

9. ตอ่ วงจรขดลวดมอเตอรแ์ บบสองช้นั

ตามแบบได้

10. มัดขดลวดมอเตอร์แบบสองชั้นตาม

ข้นั ตอนปฏิบตั ิได้

11. อาบวารน์ ชิ โครงมอเตอร์และ

ประกอบมอเตอรแ์ บบสองช้นั ได้

12. ประกอบมอเตอร์แบบสองช้นั ตาม

ใบงาน(Job Sheets)

รหสั วิชา 20104-2008 ช่อื วิชา มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1-6-3

หลกั สูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม
สาขาวิชา ชา่ งไฟฟ้ากำลัง
จำนวนช่วั โมงทสี่ อน 14
เร่ือง การตรวจสอบมอเตอร์

แบบได้

13. ทดสอบมอเตอร์และการกลับทศิ
ทางการหมุนมอเตอร์ได้

ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการ
คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ

แสดงออกด้านความมีระเบียบวินัย การ

เคารพกฎกตกิ า ความร่วมมือ และการยอมรับความ
คิดเหน็ สว่ นใหญ่

ลำดับขัน้ การทำงาน ข้อควรระวัง

1. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยท่ี 7 มอบงาน

2. ครตู ั้งคำถามนำเขา้ สูบ่ ทเรียนโดยให้
นักเรียนชว่ ยกนั คดิ และหาคำตอบเกยี่ วกับอปุ กรณ์ที่ งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ศึกษา
ใช้ การตรวจสอบมอเตอร์และการบำรุงรักษามอเตอร์จาก
3. ครูสอนเนื้อหาสาระหัวข้อท่ี 7.1 – 7.4 ตำราภาษาองั กฤษเพ่มิ เติม

(บรรยาย ถามตอบ สาธิต ฝกึ ปฏิบัติ)

4. แบ่งกลุ่มนักเรียนเพอื่ เตรยี มปฏบิ ัติงาน

ตามใบงานท่ี 2.6 – 2.8

5. นกั เรียนลงมือปฏิบตั ิงานตามข้ันตอนในใบ

งานที่ 2.6 – 2.8

6. ครูตรวจผลงานภาคปฏบิ ัติของนักเรยี น

ใบงาน(Job Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ชื่อวชิ า มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1-6-3

หลักสตู ร ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม
สาขาวชิ า ช่างไฟฟ้ากำลัง
จำนวนชวั่ โมงท่สี อน 14
เรื่อง การตรวจสอบมอเตอร์

7. ให้นกั เรยี นทำความสะอาดเคร่ืองมือ วัดผล/ประเมินผล

อุปกรณ์ และบรเิ วณพนื้ ทป่ี ฏบิ ัตงิ านใหเ้ รยี บร้อย 1. สังเกตุพฤตกิ รรมในการทำงาน

8. นักเรียนและครูร่วมกนั สรุปบทเรียน และ 2. คุณภาพของงานท่ีสง่

ผลการปฏิบัตงิ าน 3. ตรวจแบบฝึกหัด / แบบทดสอบ

กจิ กรรมการเรียนรู้ 4. ถาม – ตอบในชั้นเรยี น

1. ครตู ง้ั คำถามนำเขา้ สูบ่ ทเรยี นโดยให้

นกั เรียนชว่ ยกันคิดและหาคำตอบเกีย่ วกับอุปกรณ์ที่

ใช้

2. ครูสอนเนื้อหาสาระหัวข้อที่ 7.5 – 7.8

(บรรยาย ถามตอบ สาธติ ฝกึ ปฏบิ ัต)ิ

3. แบง่ กลุม่ นักเรยี นเพอ่ื เตรยี มปฏบิ ัติงาน

ตามใบงานที่ 2.9 – 2.10

4. นกั เรยี นลงมือปฏบิ ัตงิ านตามข้นั ตอนในใบ

งานท่ี 2.9 – 2.10

5. ครูตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิของนักเรียน

6. ใหน้ ักเรียนทำความสะอาดเครอ่ื งมอื

อุปกรณ์ และบรเิ วณพ้นื ทปี่ ฏบิ ัติงานให้เรียบรอ้ ย

7. นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปบทเรยี น และ

ผลการปฏิบัติงาน

8. นกั เรยี นทำแบบฝกึ หดั ทา้ ยหนว่ ยท่ี 7

8. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่

7

ใบปฏิบตั ิงาน(Operation Sheets)

รหสั วชิ า 20104-2008 ชอ่ื วิชา มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั 1-6-3

หลักสตู ร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ประเภทวิชา อุตสาหกรรม
สาขาวชิ า ช่างไฟฟา้ กำลงั
จำนวนชั่วโมงที่สอน 14
เร่ือง การตรวจสอบมอเตอร์

จดุ ประสงค์การเรียนรู(้ มาตรฐานการเรียนร)ู้
ดา้ นความรู้
1. บอกวธิ ีการตรวจสอบกราวดไ์ ด้
2. บอกวธิ กี ารตรวจสอบกระแสไฟฟ้าได้
3. บอกวิธีการตรวจสอบแรงดันไฟฟา้ ได้
4. บอกวิธีการตรวจสอบความเรว็ รอบได้
5. บอกสาเหตขุ ดั ขอ้ งของมอเตอร์ได้
6. อธบิ ายวธิ ีการเลอื กใชฉ้ นวนสำหรับพันมอเตอรไ์ ด้
7. อธิบายวธิ กี ารเลือกชนิดลวดทองแดงเคลอื บน้ำยาใช้กบั มอเตอร์ได้
ด้านทกั ษะ
1. ถอดสว่ นประกอบมอเตอร์ 3 เฟสแบบสองชั้นได้
2. รื้อขดลวดสเตเตอร์ได้
3. ทำฉนวนรองร่องสลอตได้
4. ทำแบบฟอร์มขดลวดแบบสองชั้นได้
5. พนั ขดลวดด้วยแบบฟอร์มขดลวดแบบสองชัน้ ได้
6. ทำฉนวนรองร่องสลอตแบบสองช้นั ได้
7. ลงขดลวดในรอ่ งสลอตแบบสองชนั้ ตามแบบได้
8. ปิดปากรอ่ งสลอตตามวธิ กี ารได้
9. ตอ่ วงจรขดลวดมอเตอร์แบบสองชั้นตามแบบได้
10. มัดขดลวดมอเตอร์แบบสองชนั้ ตามข้ันตอนปฏิบตั ไิ ด้
11. อาบวารน์ ิชโครงมอเตอรแ์ ละประกอบมอเตอรแ์ บบสองชนั้ ได้
12. ประกอบมอเตอรแ์ บบสองชนั้ ตามแบบได้
13. ทดสอบมอเตอรแ์ ละการกลบั ทิศทางการหมนุ มอเตอร์ได้
ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ
แสดงออกด้านความมีระเบียบวินัย การเคารพกฎกติกา ความร่วมมือ และการยอมรับความ

คดิ เห็นสว่ นใหญ่

เครอ่ื งมือ/วัสดุ-อุปกรณ์
1. การเตรยี มโครงมอเตอร์ 3 เฟส พนั แบบสองชน้ั (Double Layer)
2. การทำแบบฟอรม์ ขดลวดและพันขดลวดด้วยแบบฟอร์มขดลวดแบบสองชน้ั (Double Layer)
3. การลงขดลวดในรอ่ งสลอตแบบสองชนั้ (Double Layer)

ใบปฏิบัติงาน(Operation Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ช่อื วชิ า มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 1-6-3

หลักสตู ร ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ประเภทวิชา อุตสาหกรรม
สาขาวชิ า ช่างไฟฟ้ากำลัง
จำนวนช่วั โมงท่สี อน 14
เรือ่ ง การตรวจสอบมอเตอร์

4. การต่อวงจรและการมดั ขดลวดแบบสองช้นั (Double Layer)
5. การประกอบมอเตอรแ์ ละการทดสอบแบบสองชัน้ (Double Layer)

ลำดับขัน้ การทำงาน
1. ครูใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยที่ 7
2. ครตู ัง้ คำถามนำเขา้ สู่บทเรียนโดยใหน้ ักเรียนช่วยกันคดิ และหาคำตอบเก่ียวกับอปุ กรณ์ที่ใช้
3. ครสู อนเนอ้ื หาสาระหวั ขอ้ ที่ 7.1 – 7.4 (บรรยาย ถามตอบ สาธติ ฝึกปฏิบตั ิ)
4. แบ่งกลุ่มนกั เรยี นเพ่ือเตรียมปฏบิ ตั งิ านตามใบงานที่ 2.6 – 2.8
5. นกั เรยี นลงมือปฏบิ ตั ิงานตามขัน้ ตอนในใบงานที่ 2.6 – 2.8
6. ครูตรวจผลงานภาคปฏิบัติของนักเรยี น
7. ใหน้ ักเรยี นทำความสะอาดเครื่องมือ อปุ กรณ์ และบริเวณพืน้ ทป่ี ฏิบตั ิงานใหเ้ รยี บร้อย
8. นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปบทเรยี น และผลการปฏิบตั งิ าน
กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ครูต้ังคำถามนำเขา้ สู่บทเรียนโดยใหน้ กั เรียนชว่ ยกันคิดและหาคำตอบเก่ียวกบั อปุ กรณ์ทใ่ี ช้
2. ครูสอนเนือ้ หาสาระหวั ขอ้ ท่ี 7.5 – 7.8 (บรรยาย ถามตอบ สาธิต ฝกึ ปฏบิ ตั )ิ
3. แบง่ กลุ่มนกั เรยี นเพอ่ื เตรียมปฏบิ ัตงิ านตามใบงานที่ 2.9 – 2.10
4. นกั เรยี นลงมอื ปฏิบตั ิงานตามขั้นตอนในใบงานท่ี 2.9 – 2.10
5. ครูตรวจผลงานภาคปฏบิ ตั ิของนักเรียน
6. ใหน้ ักเรยี นทำความสะอาดเครื่องมอื อุปกรณ์ และบริเวณพื้นทป่ี ฏิบตั ิงานใหเ้ รยี บร้อย
7. นกั เรียนและครูรว่ มกันสรุปบทเรียน และผลการปฏิบตั งิ าน
8. นกั เรยี นทำแบบฝึกหัดทา้ ยหนว่ ยที่ 7
8. นักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 7

ข้อควรระวัง

ข้อเสนอแนะ

การประเมินผล
1. สงั เกตพุ ฤตกิ รรมในการทำงาน
2. คุณภาพของงานท่สี ่ง
3. ตรวจแบบฝึกหัด / แบบทดสอบ

ใบปฏบิ ัติงาน(Operation Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ช่อื วิชา มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลกั สูตร ประกาศนียบตั รวิชาชพี ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม
สาขาวชิ า ช่างไฟฟ้ากำลัง
จำนวนชวั่ โมงทส่ี อน 14
เรื่อง การตรวจสอบมอเตอร์

4. ถาม – ตอบในชนั้ เรียน

เอกสารอา้ งอิง
คารม สนิ ธูระหัฐ(2562). มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั (20104–2008). นนทบุรี : ศนู ย์หนังสือ

เมืองไทย.

ใบมอบหมายงาน(Assignment Sheets)

รหัสวชิ า 20104-2008 ชอื่ วชิ า มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 1-6-3

หลกั สตู ร ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม
สาขาวิชา ชา่ งไฟฟ้ากำลงั
จำนวนช่ัวโมงทสี่ อน 14
เร่อื ง การตรวจสอบมอเตอร์

จุดประสงค์การมอบงาน
1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั การตรวจสอบมอเตอร์
2. เตรยี มโครงมอเตอร์ 3 เฟส พนั แบบสองชน้ั
3. ทำแบบฟอรม์ ขดลวดและพันขดลวดดว้ ยแบบฟอร์มขดลวดแบบสองชนั้
4. ลงขดลวดในร่องสลอตแบบสองช้นั
5. ต่อวงจรและการมัดขดลวดแบบสองชน้ั
6. ประกอบมอเตอรแ์ ละการทดสอบมอเตอร์แบบสองชั้น

แนวทางการปฏิบัตงิ าน
1. ใหป้ ฏบิ ตั งิ านด้วยความระมัดระวงั
2. ให้ใช้วัสดุให้ประหยดั และคุม้ ค่า
3. กอ่ นการลงฉนวนของมอเตอรต์ อ้ งตรวจสอบโครงของมอเตอร์กอ่ น

แหล่งค้นควา้
1. ห้องสมุดวทิ ยาลยั ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ าร
2. ครอบครวั ของผเู้ รยี น ผปู้ ระกอบการ
3. ส่ิงพมิ พป์ ระเภทต่าง ๆ เช่น นติ ยสาร/วารสารด้านอุตสาหกรรมไฟฟา้ สารานกุ รม
4. ครผู สู้ อน Internet

คำถาม/ปัญหา
1. ก่อนการลงฉนวนของมอเตอรต์ อ้ งทำอะไรกอ่ น
2. ถ้าสเตเตอรข์ องมอเตอร์มีการบดิ เบยี้ วต้องแก้ไขอยา่ งไร
3. เมอ่ื ลงขดลวดเสรจ็ แลว้ เกดิ ลงกราวดเ์ กดิ จากอะไรบา้ ง
4. เมือ่ ลงขดลวดเสร็จแลว้ เกดิ ลงกราวดต์ อ้ งแกไ้ ขอย่างไร

กำหนดเวลางาน
10 ชว่ั โมง

แผนการเรียนรู้

รหัสวชิ า 20104-2008 ชือ่ วิชา มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 1-6-3

หลักสตู ร ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ประเภทวิชา อุตสาหกรรม
สาขาวิชา ชา่ งไฟฟา้ กำลัง
จำนวนชว่ั โมงทสี่ อน 7
เรือ่ ง การบำรงุ รกั ษามอเตอร์

1.สาระสำคญั
มอเตอร์ทำงานให้ได้ประสิทธิภาพจะต้องมีการบำรุงรักษามอเตอร์ และดูแลวัสดุอุปกรณ์ที่เป็น

ส่วนประกอบของมอเตอรอ์ ย่างสม่ำเสมอหรอื ปฏิบตั ิตามคู่มือการบำรุงรกั ษาของบรษิ ัทผู้ผลติ มอเตอร์
แบร่ิง เป็นอปุ กรณ์ท่ใี ชร้ องรับเพลาของโรเตอร์ เพ่ือให้โรเตอร์หมุนอยู่ตรงกลางของสเตเตอร์ และ

ชว่ ยลดแรงเสียดทานการหมนุ ของมอเตอร์ ดังนั้นแบร่งิ จึงตอ้ งไดร้ บั การดแู ลอยา่ งสม่ำเสมอ
การหล่อลื่น การดูแลบำรุงรกั ษาแบรงิ่ จะต้องมีการหล่อล่ืนแบริ่งอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้แบร่ิงมอี ายุ

การใช้งานที่ยาวนาน การหลอ่ ลืน่ แบรงิ่ นยิ มใชจ้ าระบีและนำ้ มนั หลอ่ ล่นื เป็นสารหล่อล่นื

เคร่ืองมือพื้นฐานท่ีใช้ในงานติดตั้งมอเตอร์ การติดตั้งมอเตอร์จะต้องใช้เคร่ืองมือให้เหมาะสมกับ
งาน มิฉะน้ันจะทำให้มอเตอร์ชำรุดได้ ซ่ึงเครื่องมือพื้นฐานที่ใช้ในงานติดต้ังมอเตอร์ เช่น ประแจปากตาย

ประแจเลื่อน ประแจแอลหกเหลยี่ ม ประแจบลอ็ ก เปน็ ตน้
การเคล่ือนย้ายมอเตอร์ เมื่อนำมอเตอร์ไปติดตั้งในสถานที่ใด จะต้องมีการเคล่ือนย้ายมอเตอร์

ดงั น้นั การเคลื่อนยา้ ยมอเตอรต์ ้องมวี ิธกี ารเคลือ่ นย้ายท่ีถูกต้อง มิฉะน้ันอาจจะทำให้เกิดอนั ตรายกบั