เฉลย แบบฝึกหัด ชีวะ ม.6 เล่ม 6

140 บทท่ี 24 | ระบบนเิ วศและประชากร ชวี วทิ ยา เลม่ 6 - ในระดับของการจัดระบบทางนิเวศวิทยาที่สูงกว่าน้ีสามารถเปรียบเทียบไทรชนิดต่าง ๆ ในหลาย ๆ กลุ่มส่ิงมีชีวิต เช่น ศึกษาการแพร่กระจายของไทรชนิดต่าง ๆ ในแต่ละกลุ่ม สง่ิ มชี วี ติ ศกึ ษาการถา่ ยเทยนี (gene flow) ของไทรชนดิ ตา่ ง ๆ ในระดบั ทวปี (continental scale) ครอู าจอธบิ ายเพม่ิ เตมิ กบั นกั เรยี นวา่ ไบโอสเฟยี ร์ ประกอบดว้ ยสง่ิ มชี วี ติ ทง้ั หมดบนโลกและ ทกุ สถานทท่ี ม่ี สี ง่ิ มชี วี ติ ซง่ึ รวมถงึ พน้ื ทส่ี ว่ นใหญข่ องแผน่ ดนิ แหลง่ น�ำ้ สว่ นใหญ่ บรรยากาศจนถงึ ระดบั ความสงู หลายกโิ ลเมตร และตะกอนใตพ้ น้ื มหาสมทุ ร ความรูเ้ พ่มิ เติมสำ�หรบั ครู พืชในสกุล Ficus เช่น ไทร มะเด่ือ รวมถึงไทรย้อยใบทู่ มีช่อดอกแบบไฮแพนทอเดียม (hypanthodium) ทเ่ี กดิ จากฐานชอ่ ดอกเจรญิ และโคง้ เขา้ หากนั จนมลี กั ษณะคลา้ ยรปู ถว้ ยทม่ี โี พรง อยภู่ ายในและมชี อ่ งเปดิ เลก็  ๆ อยทู่ ป่ี ลายดา้ นบน ท�ำ ใหแ้ มลงสามารถเขา้ ไปในโพรงได้ ผนงั ดา้ นใน ของโพรงมดี อกยอ่ ยจ�ำ นวนมาก โดยไทรยอ้ ยใบทมู่ ดี อกแยกเพศอยใู่ นชอ่ ดอกเดยี วกนั ดอกยอ่ ย เพศเมียจะบานและพร้อมผสมพันธ์กุ ่อนดอกย่อยเพศผู้ ทำ�ให้ต้องอาศัยแมลงช่วยถ่ายเรณูจาก ชอ่ ดอกอน่ื เชน่ แตนมะเดอ่ื หรอื ตอ่ ไทรบางชนดิ โดยในขณะทช่ี อ่ ดอกของไทรยงั เจรญิ ไมเ่ ตม็ ท่ี ตอ่ ไทรเพศเมยี ทอ่ี มุ้ ไขม่ าดว้ ยจะบนิ เขา้ สโู่ พรงภายในชอ่ ดอกของไทรพรอ้ มทง้ั น�ำ เรณขู องไทรจาก ช่อดอกอ่นื มาด้วย ขณะท่ตี ่อไทรเพศเมียวางไข่บนดอกย่อยจะเกิดการถ่ายเรณูท่ตี ิดมาให้กับ ดอกย่อยเพศเมียท่บี านแล้วในช่อดอกน้นั ต่อมารังไข่ของดอกย่อยท่ถี ูกวางไข่จะมีลักษณะเป็น ปมดอกและมตี วั ออ่ นของตอ่ ไทรอยภู่ ายใน สว่ นดอกยอ่ ยทไ่ี ดร้ บั เรณแู ตไ่ มม่ ตี วั ออ่ นของตอ่ ไทรจะ เจริญเป็นผลย่อย เม่อื เวลาผ่านไปตัวอ่อนของต่อไทรเพศผ้จู ะฟักออกมาจากปมดอกก่อนและ ผสมพนั ธก์ุ บั ตอ่ ไทรเพศเมยี ทย่ี งั อยใู่ นปมดอก ตอ่ มาตอ่ ไทรเพศเมยี ทไ่ี ดร้ บั การผสมพนั ธแ์ุ ลว้ จะ อมุ้ ไขแ่ ละฟกั ออกจากปมดอกซง่ึ เปน็ ชว่ งเวลาเดยี วกบั ทด่ี อกยอ่ ยเพศผเู้ จรญิ เตม็ ท่ี ตอ่ ไทรเพศเมยี จะอมุ้ ไขแ่ ละบนิ ออกจากผลไทรโดยมเี รณขู องไทรตดิ ออกมาดว้ ย และไปยงั ดอกไทรชอ่ ดอกใหมเ่ พอ่ื วางไข่ จะเหน็ ไดว้ า่ ตอ่ ไทรมสี ว่ นชว่ ยในการถา่ ยเรณขู องไทรซง่ึ ดอกยอ่ ยเพศผแู้ ละเพศเมยี เจรญิ ไมพ่ รอ้ มกนั และวงชวี ติ ของตอ่ ไทรท�ำ ใหต้ อ่ ไทรเพศเมยี มโี อกาสเจอและผสมกบั ตอ่ ไทรเพศผทู้ ฟ่ี กั จากชอ่ ดอก เดยี วกนั เทา่ นน้ั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 6 บทที่ 24 | ระบบนเิ วศและประชากร 141 จากน้นั ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า ระดับของการจัดระบบทางนิเวศวิทยาเหล่าน้มี ีความ สมั พนั ธก์ นั ดงั นน้ั ในการศกึ ษานเิ วศวทิ ยาจงึ ควรเขา้ ใจทง้ั ในระดบั ทต่ี อ้ งการศกึ ษาและค�ำ นงึ ถงึ ระดบั อน่ื  ๆ ทส่ี มั พนั ธก์ นั ดว้ ย เชน่ ในการศกึ ษาไทรยอ้ ยใบทใู่ นระดบั ประชากร ซง่ึ การกระจายตวั ของประชากรใน แหลง่ ทอ่ี ยตู่ า่ ง ๆ อาจแตกตา่ งกนั เนอ่ื งจากการปรบั ตวั ของไทรยอ้ ยใบทใู่ หเ้ ขา้ กบั สง่ิ แวดลอ้ มในบรเิ วณท่ี ศกึ ษา และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งไทรยอ้ ยใบทกู่ บั สง่ิ มชี วี ติ อน่ื  ๆ ในบรเิ วณดงั กลา่ ว รวมถงึ ความสมั พนั ธ์ และกระบวนการต่าง ๆ ท่เี กิดข้นึ ในระบบนิเวศน้นั ซ่งี ต้องอาศัยความเข้าใจในระดับส่งิ มีชีวิต ระดับ ประชากร ระดบั กลมุ่ สง่ิ มชี วี ติ และระดบั ระบบนเิ วศ 24.1 ระบบนเิ วศ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ระบุปัจจยั ที่ใชใ้ นการจำ�แนกระบบนเิ วศและยกตวั อย่างระบบนเิ วศชนดิ ต่าง ๆ 2. วิเคราะห์ อธบิ าย และยกตัวอย่างกระบวนการถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ 3. อธิบาย ยกตัวอย่างการเกิดไบโอแมกนิฟิเคชัน และบอกแนวทางในการลดการเกิด ไบโอแมกนิฟเิ คชัน 4. สบื คน้ ขอ้ มลู และเขยี นแผนภาพเพอื่ อธบิ ายวฏั จกั รไนโตรเจน วฏั จกั รก�ำ มะถนั และวฏั จกั ร ฟอสฟอรสั แนวการจัดการเรียนรู้ ครทู บทวนความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ โดยอาจใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง สง่ิ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศทน่ี กั เรยี นเคยเรยี นมาแลว้ บนั ทกึ ลงในตาราง ดงั น้ี รปู แบบของความสมั พนั ธ์ สญั ลกั ษณ์ ตวั อยา่ งของส่ิงมชี วี ติ ภาวะพึง่ พากนั (mutualism) +,+ ตน้ ไทรกับตอ่ ไทร โพรโทซัวในล�ำ ไสป้ ลวกกบั ปลวก ไลเคน ไรโซเบียม ในปมรากถ่วั ราไมคอร์ไรซาในรากสนหรือรากปรง ภาวะองิ อาศยั (commensalism) +,0 เฟิร์นบนต้นไม้ใหญ่ เหาฉลามกับปลาฉลาม นกทำ�รังบนต้นไม้ ภาวะลา่ เหยือ่ (predation) เพรียงหินบนกระดองเตา่ ภาวะปรสติ (parasitism) +,- นกกนิ หนอน เสือลา่ กวาง เหยย่ี วลา่ กระต่าย งูกนิ กบ +,- กาฝากบนตน้ ไม้ พยาธิใบไม้ในตบั สัตว์ เหาบนศรี ษะคน เห็บหรอื หมัด บนผิวล�ำ ตัวสนุ ขั พยาธติ ัวตดื ในกลา้ มเนื้อหมู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

142 บทท่ี 24 | ระบบนเิ วศและประชากร ชีววทิ ยา เลม่ 6 ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมว่าความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศเป็นความสัมพันธ์ของ ส่งิ มีชีวิตต้งั แต่สองสปีชีส์ข้นึ ไป โดยยังมีรูปแบบอ่นื  ๆ เช่น ภาวะแก่งแย่งแข่งขัน (competition) เป็น ความสมั พนั ธท์ เ่ี กดิ จากสง่ิ มชี วี ติ ตง้ั แตส่ องสปชี สี ข์ น้ึ ไปทอ่ี าศยั อยใู่ นบรเิ วณเดยี วกนั มคี วามตอ้ งการทอ่ี ยอู่ าศยั อาหาร หรือสภาพแวดล้อมอ่ืน ๆ ท่ีเหมือนกัน เช่น การแย่งธาตุอาหารของผักตบชวาและบัวในบึง การแยง่ อาหารของปลาหางนกยงู กบั ปลาสอดในบอ่ เดยี วกนั การแยง่ พน้ื ทข่ี องเสอื กบั สงิ โต จากนน้ั ถามนกั เรยี นวา่ ในระบบนเิ วศ นอกจากสง่ิ มชี วี ติ แลว้ ยงั มอี งคป์ ระกอบใดอกี บา้ ง และ สง่ิ มชี วี ติ มคี วามสมั พนั ธก์ บั องคป์ ระกอบอน่ื  ๆ อยา่ งไร ซง่ึ นกั เรยี นควรตอบไดว้ า่ ในระบบนเิ วศมที ง้ั สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ ไมม่ ชี วี ติ โดยการด�ำ รงชวี ติ ของสง่ิ มชี วี ติ จะมคี วามสมั พนั ธก์ บั ทง้ั สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ ไมม่ ชี วี ติ ในระบบนเิ วศ ครูอธิบายเพ่มิ เติมว่า ระบบนิเวศ คือ ระบบท่ปี ระกอบด้วยกล่มุ ส่งิ มีชีวิตและส่งิ ไม่มีชีวิตใน บรเิ วณใดบรเิ วณหนง่ึ ซง่ึ มคี วามสมั พนั ธก์ นั มกี ารถา่ ยทอดพลงั งานและการหมนุ เวยี นสารในระบบ การท่ี ระบบนิเวศจะดำ�รงอย่ไู ด้จะอาศัยการทำ�งานร่วมกันของท้งั โครงสร้างและกระบวนการในระบบนิเวศ และใหน้ กั เรยี นอธบิ ายและยกตวั อยา่ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโครงสรา้ งและกระบวนการในระบบนเิ วศ ซ่ึงนักเรียนควรอธิบายได้ว่า ในการถ่ายทอดพลังงาน จะเกิดผ่านส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศซ่ึงเป็น องค์ประกอบทางชีวภาพ โดยเกิดผ่านการกินต่อกันเป็นทอด ๆ ในโซ่อาหารและสายใยอาหาร ส่วน การหมนุ เวยี นสารจะเกดิ ผา่ นทง้ั สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ ไมม่ ชี วี ติ ในระบบนเิ วศซง่ึ เปน็ องคป์ ระกอบทางชวี ภาพ และองคป์ ระกอบทางกายภาพ ครูและนักเรียนสรุปร่วมกันว่าการดำ�รงชีวิตของส่ิงมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมใน บริเวณท่ีดำ�รงชีวิตอยู่ และใช้คำ�ถามในหนังสือเรียนเพ่ือนำ�เข้าสู่เน้ือหาเร่ืองความหลากหลายของ ระบบนิเวศว่า ในแต่ละบริเวณของโลกซ่ึงมีสภาพแวดล้อมท่ีแตกต่างกัน จำ�นวนและชนิดของ สง่ิ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศในแตล่ ะบรเิ วณจะเหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร ซง่ึ นกั เรยี นควรตอบไดว้ า่ แตกตา่ งกนั โดยสง่ิ มชี วี ติ ในแตล่ ะบรเิ วณจะมลี กั ษณะทเ่ี หมาะสมกบั การด�ำ รงชวี ติ ในสภาพแวดลอ้ มนน้ั 24.1.1 ความหลากหลายของระบบนิเวศ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู ของสง่ิ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศทแ่ี ตกตา่ งกนั อยา่ งนอ้ ย 2 ระบบนเิ วศหรอื ใช้ รปู 24.2 จากหนงั สอื เรยี น จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นอภปิ รายรว่ มกนั ในประเดน็ ดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 6 บทที่ 24 | ระบบนิเวศและประชากร 189 ปจั จยั ทคี่ วบคมุ การเติบโตของประชากร ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาเกย่ี วกบั ปจั จยั ทค่ี วบคมุ การเตบิ โตของประชากรจากหนงั สอื เรยี น ซง่ึ แบง่ เปน็ ปจั จยั ทข่ี น้ึ กบั ความหนาแนน่ ของประชากรและปจั จยั ทไ่ี มข่ น้ึ กบั ความหนาแนน่ ของประชากร และ ใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งปจั จยั ทง้ั 2 แบบพรอ้ มอธบิ าย เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี น เชน่ - อาหาร เป็นปัจจัยที่ข้ึนกับความหนาแน่นของประชากร เมื่อประชากรมีขนาดใหญ่ข้ึน จะมกี ารแกง่ แยง่ แขง่ ขนั กนั ในเรอ่ื งของอาหาร โดยความรนุ แรงจะเพม่ิ มากขนึ้ เปน็ สดั สว่ น กบั ความหนาแน่นของประชากร ซึ่งจะมผี ลทำ�ให้การเติบโตของประชากรลดลง - นำ้�ท่วม เป็นปัจจัยที่ไม่ข้ึนกับความหนาแน่นของประชากร เม่ือเกิดน้ำ�ท่วมสามารถลด จ�ำ นวนส่ิงมีชวี ิตในประชากร และลดการเติบโตของประชากรลงได้โดยไมค่ �ำ นงึ ถึงความ หนาแนน่ ของประชากร 24.4.3 ประชากรมนุษย์ ครนู �ำ เขา้ สเู่ นอ้ื หา โดยใชร้ ปู 24.44 ในหนงั สอื เรยี น และใชค้ �ำ ถามถามนกั เรยี นวา่ นกั เรยี นคดิ วา่ อตั ราการเตบิ โตของประชากรมนษุ ยจ์ ากอดตี ถงึ ปจั จบุ นั มแี นวโนม้ เปน็ อยา่ งไร ซง่ึ นกั เรยี นควร สรปุ ไดว้ า่ ประชากรมนษุ ยม์ อี ตั ราการเตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ แบบเอก็ โพเนนเชยี ลตง้ั แตห่ ลงั จากการปฏวิ ตั ิ ทางอตุ สาหกรรมเปน็ ตน้ มา โดยครอู าจใหข้ อ้ มลู เพม่ิ เตมิ แกน่ กั เรยี นเกย่ี วกบั ยคุ ปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมเพอ่ื ให้นักเรียนเห็นความเช่อื มโยงกับการเพ่มิ ข้นึ ของประชากรมนุษย์ในช่วงหลังจากน้นั และให้นักเรียน ตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี การเพิ่มขนาดประชากรมนุษย์อย่างรวดเร็วหลังยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อระบบนิเวศอยา่ งไร การเพม่ิ ของขนาดประชากรมนษุ ยท์ �ำ ใหม้ นษุ ยใ์ ชแ้ ละบรโิ ภคทรพั ยากรธรรมชาตมิ ากขน้ึ จน ทรัพยากรเส่ือมโทรมและไม่สามารถเกิดทดแทนได้ทัน รวมทั้งทำ�ให้เกิดมลพิษมากข้ึน และ ส่งผลกระทบต่อองคป์ ระกอบต่าง ๆ ในระบบนิเวศ เช่น ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง ท�ำ ให้เกดิ น้ำ�เสีย พ้ืนทป่ี ่าลดลง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี