ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3

พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช -- สังเขปความเป็นมาศิลปกรรมไทย : รัชกาลที่ 1 พ.ศ. 2325-2352 ; รัชกาลที่ 2 พ.ศ. 2352-2367 ; รัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2367-2394 ; รัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2394-2411 ; รัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2411-2543 ; รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2453-2468 ; รัชกาลที่ 7 พ.ศ. 2468-2477 ; รัชกาลที่ 8 พ.ศ. 2477-2489 ; รัชกาลที่ 9 พ.ศ. 2489-ปัจจุบัน -- จิตรกรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1-5 : วิวัฒนาการของจิตรกรรมไทย ; จิตรกรรมไทยสมัยรัชกาลที่ 1 ; จิตรกรรมไทยสมัยรัชกาลที่ 2 ; จิตรกรรมไทยสมัยรัชกาลที่ 3 ; จิตรกรรมไทยสมัยรัชกาลที่ 4 ; จิตรกรรมไทยสมัยรัชกาลที่ 5 ; จิตรกรรมไทย ; เทคนิคจิตรกรรมไทยประเพณี -- ประติมากรรมสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1-5 : พระพุทธรูป สมัยรัชกาลที่ 1-5 ; ประติมากรรมภาพเหมือนรัชกาลที่ 3-5 -- สถาปัตยกรรมไทย รัชกาลที่ 1-5 : ข้อมูลศิลปกรรม ร.1-ร.5 ; วังในสมัยรัชกาลที่ 5 -- งานประณีตศิลปกรรมกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1-5 : งานประณีตศิลปกรรมประเภทราชยาน ; งานประณีตศิลป์ประเภทราชรถ พระเมรุมาศ ; งานประณีตศิลป์ในประเภทพระเมรุมาศ ; งานประณีตศิลป์ในประเภทโกศ ; งานประณีตศิลป์เครื่องทรงพระภูษา ; งานประณีตศิลปกรรมประเภทเครื่องมหรสพ ; ประณีตศิลปกรรมประเภทเบญจรงค์และลายน้ำทอง ; ประณีตศิลปกรรมประเภทเครื่องใช้ประดับมุก ; ประณีตศิลปกรรมประเภทเครื่องเงิน เครื่องทอง เครื่องถม เครื่องลงยา และเครื่องถมปัทม์ -- รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2453-2463 : การฟื้นฟูศิลปะ-วัฒนธรรมไทย ; การจัดตั้งกรมศิลปากร ; โรงเรียนเพาะช่าง ; อารยธรรมตะวันตกสู่ประเทศไทย ; สถาปนิก จิตรกร ประติมากร และช่างศิลปะจากยุโรป ; ศิลป์ พีระศรี ; ผลงานศิลปกรรมสมัยรัชกาลที่ 6 -- รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 พ.ศ. 2468-2477 : รูปแบบศิลปกรรมไทยแนวตะวันตก ; รูปแบบศิลปกรรมตะวันตก ; ฉลองพระนครครบ 150 ปี ; ผลงานศิลปกรรมสมัยรัชกาลที่ 7 -- รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 พ.ศ. 2477-2489 : ความเคลื่อนไหวของการศึกษาศิลปะในประเทศไทย ; งานฉลองรัฐธรรมนูญ ; การประกวดประณีตศิลปกรรม ; การประกวดรูปเขียนเกี่ยวกับทหาร ; การประกวดรูปขียนเกี่ยวกับเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และทิวทัศน์ธรรมชาติ ; การก่อสร้างอนุสาวรีย์ ; การตกแต่งอาคารสถานที่สำคัญของรัฐ ; ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร ; กลุ่มจักรวรรดิ์ศิลปิน ; ผลงานศิลปกรรมสมัยรัชกาลที่ 8

  1. ศิลปกรรมไทย
  2. ศิลปกรรม -- ไทย
  3. กาญจนาภิเษก
  4. art

LOCATIONCALL#STATUSThailand and ASEAN Information Center (6th Floor)[TAIC] 55753CHECK SHELVES
ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3
Interlibrary Loan RequestThailand and ASEAN Information Center (6th Floor) : Rarebook Collection[RA] 709.593 ศป527LIB USE ONLY
Fine & Applied Arts Library : Reference Collectionอ N7322 ศ37 2541LIB USE ONLY

สถาปัตยกรรม
       เปลี่ยนแปลงไปมากในสมัยรัชกาลที่ 4 เริ่มด้วยราช สำนัก หันความนิยมไปสู่รูปแบบศิลปะฝ่ายตะวันตกแทนรูปแบบศิลปะของจีนกระบวนการช่าง ศิลปะอย่างยุโรปได้แพร่หลายออกไปสู่วัด และวังเจ้านายใน ท้องที่ต่างๆรอบกรุง ตลอดจนต่างจังหวัด เช่นการสร้างพระราชวังสราญรมย์ เป็นตึกแบบตะวันตก พระนครคีรี จ.เพชรบุรี เป็นการเอาแบบอย่างการสร้าง บ้านบนเขาในต่างประเทศ หลังฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 100 ปี พ.ศ.2425 การบริหารประเทศส่วนใหญ่ก้าวเข้าสู่ภาวะของการรับอารยธรรมตะวันตกอย่างเต็มที่ รัชกาลที่5 และ 6 ทรง พัฒนาประเทศด้านสาธารณประโยชน์ของสังคมทางวัตถุเป็นหลักใหญ่เพื่อให้ประเทศ เจริญก้าวหน้าทันอารยประเทศ สถาปัตยกรรมที่สำคัญจึงได้แก่ พระราชวังบางปะอินซึ่งสร้างเลียนแบบพระราชวังแวร์ซายส์ พระราชวังสวนดุสิต พระที่นั่งอนันตสมาคม วัดนิเวศธรรม
ประติมากรรม
       มีการปั้นพระพุทธรูปให้เหมือนมนุษย์ยิ่งขึ้น คือ พระศรีศากยะทศพลญาณเป็นพระพุทธรูปปางลีลาแบบสุโขทัย ส่วนงานประติมากรรมอื่นๆ มักเป็นงานจำหลักหินอ่อนหรือหล่อสำริดส่งมาจากยุโรป ถือเป็นการเริ่มรับแบบอย่างการปั้นภาพเหมือนและอนุสาวรีย์จากตะวันตก
จิตรกรรม 
       นำวิทยาการสมัยใหม่ของตะวันตกในการสร้างภาพมนุษย์ที่เน้นความเหมือนจริงมาผนวก กับวิทยาการของไทยที่เขียนภาพแบบอุดมคติซึ่งให้เห็นในจิตรกรรมฝาผนังของ ขรัวอินโข่ง จิตรกรเอกสมัยรัชกาลที่ 4ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้เริ่มต้นงานจิตรกรรมไทยสมัยใหม่

นาฏศิลป์

    กลุ่มชาวไทยมุสลิมที่ถูกกวาดต้อนมาจากภาคใต้ ได้นำธรรมเนียมการสวดขับบูชาพระผู้เป็นเจ้า มีกลองรำมะนาตีเป็นจังหวะประกอบต่อมาการสวดเปลี่ยนวัตถุประสงค์ไปเป็นเพื่อ ความบันเทิงผู้ชายมักนั่งล้อมวงกันตีกลอง รำมะนาประกอบการสวดขับเพลงมลายูประชันกันครึกครื้นเรียกว่า ดจิเก ในสมัยรัชกาลที่ 5 เริ่มมีคำร้องเป็นภาษาไทยจึงมีการพลิกแพลงและพัฒนามาเป็น ลิเก แนวคิดและ วิถีชีวิตคนตะวันตกได้แพร่หลายเข้ามาในไทยมากขึ้นจึงมีการเปลี่ยนแปลง ตัดทอน นาฏศิลป์และดนตรีไทยให้กระชับขึ้นในชั้นแรกเป็นไปเพื่อต้อนรับอาคันตุกะ ต่อมาการดัดแปลงที่นิยมอยู่มากในขณะนั้น

     วรรณกรรมที่ได้รับความ นิยมมาก คือ บทละครพูดและบทละครร้อง ผู้เด่นที่สุดในการประพันธ์บทละคร คือ ประเสริฐอักษร(พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์) นอกจากนี้ยังมีวรรณกรรมภาษาสันสกฤตเกิดขึ้นอย่างมากในสมัยรัชกาลที่ 5และ 6 ทั้งประเภทร้อยแก้ว ร้อยกรองเช่นเรื่องศกุนตลา เรื่องหิโตปเทศ
วรรณกรรมประเภทนวนิยายที่เขียนเป็นร้อยแก้วของไทย โดย การรับเอารูปแบบนวนิยายและเรื่องสั้นเข้ามาเริ่มแรกแปลจากนวนิยายภาษาอังกฤษ เป็นส่วนใหญ่งานแปลที่จำกันได้มากและนิยมว่าเป็นหนังสือแปลดีคือ เรื่องความพยาบาทขอแม่วันซึ่งแปลจาก เวนเดตตา (Vendetta)ถือกันว่าเป็นนวนิยายไทยเล่มแรก แม้ว่าจะเป็นหนังสือแปลก็ตาม 

ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3

ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3



ศิลปะใดอยู่ในช่วงรัชกาลที่ 3

สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นยุคแห่งการสร้างและปฏิสังขรณ์วัดวาอารามครั้งใหญ่ สถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นในสมัยนี้ มักมีอิทธิพลของศิลปะ การช่างแบบจีน เข้ามาปะปนอยู่เป็นอันมาก เช่น หลังคาโบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ จะทำรูปทรงเป็นหลังคาอย่างจีน โดยตัดศิลปะที่เป็นเครื่องประดับตกแต่ง จำพวก ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ของ ...

ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์มีอะไรบ้าง

ศิลปะรัตนโกสินทร์.
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม.
พระปรางค์วัดอรุณ.
วัดเทพธิดาราม สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 3 ที่เรียกว่า แบบพระราชนิยม.
พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท.
พระพุทธตรีโลกเชษฐ์.
จิตรกรรมฝาผนังวัดไชยทิศ.
จิตรกรรมฝาผนังแห่งวัดมหาพฤฒารามวรวิหาร.

ยุคที่ศิลปกรรมเจริญรุ่งเรืองที่สุดในสมัยรัตนโกสินทร์อยู่ในสมัยรัชกาลใด

รัชกาลที่2 "ยุคทอง" ศิลปกรรมต้นกรุงรัตนโกสินทร์

รูปแบบของงานจิตรกรรมฝาผนังศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์มีรูปแบบอย่างไร

ลักษณะจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัชกาลที่ 1 มีแบบแผนการวางภาพที่นิยมกันคือ ลวดลาย เพดาน นิยมทำด้วยไม้จำหลัก ลงรักปิดทอง ประดับกระจก เป็นลายดาวจงกลหรือดาวจอกใหญ่อยู่ ู่ตรงกลาง ฝาผนังด้านหน้าพระประธานนิยมเขียนภาพมารผจญ ด้านหลังพระประธานเป็นภาพไตรภูมิ