ข้อสอบงานวัดละเอียดช่างยนต์

แบบฝกึ กจิ กรรมท ่ี 3 งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ 43 เรื่อง เวอร์เนยี ร์แบบนาฬิกาวดั ตอนท่ี 1 จงเตมิ คำในชอ่ งว่างต่อไปน้ี 3 1. เวอร์เนียร์แบบนาฬิกาวดั เขยี นคำองั กฤษอยา่ งไร ....................................................................................................................................................................................................... 2. เวอรเ์ นียร์แบบดิจติ อลเขยี นคำองั กฤษอยา่ งไร ....................................................................................................................................................................................................... 3. เวอร์เนียร์แบบนาฬกิ าวดั ใช้กลไกขบั เคลอ่ื นอยา่ งไร ....................................................................................................................................................................................................... 4. จงเขยี นชอ่ื สว่ นประกอบเวอรเ์ นียร์แบบนาฬกิ าวดั ตามหมายเลขท่ีกำหนดให้ j ................................................... n ................................................... r ................................................... k ................................................... o ................................................... s ................................................... l ................................................... p ................................................... 11 ................................................... m ................................................... q ................................................... 12 ...................................................

44 งานวัดละเอียดชา่ งยนต์ ตอนที่ 2 จงทำเครือ่ งหมายถูก ( P) ลงหน้าข้อความท่ถี ูกตอ้ งทส่ี ุด 1. ข้อดีของการใช้เวอร์เนยี รแ์ บบนาฬกิ าวดั 2. ข้อดขี องการต่อเชอื่ มเวอรเ์ นียรแ์ บบดิจิตอลกบั คืออะไร คอมพิวเตอร์คืออะไร ก. ทนั สมยั ข. อา่ นคา่ ได้ง่าย ก. เก็บข้อมลู ได้ ข. คำนวณคา่ เฉลย่ี ในการวัด ค. อา่ นค่าไดไ้ ม่ผดิ พลาด ง. มีความคงทน ค. ถูกทุกข้อ ง. ไม่มีขอ้ ใดถกู 3. เวอรเ์ นยี รแ์ บบนาฬกิ าวดั แบบนว้ี ดั ละเอยี ดไดเ้ ทา่ ไร 4. ผลการวดั แสดงวา่ ยาวเท่าไร ก. ได้ 1/10 มม. ข. ได้ 1/20 มม. ก. ยาว 16.615 มม. ข. ยาว 15.615 มม. ค. ได้ 1/50 มม. ง. ได ้ 1/100 มม. ค. ยาว 16.15 มม. ง. ยาว 15.15 มม. 5. เข็มหมุนไป 1 รอบ คิดเปน็ ระยะยาวเทา่ ไร 6. ผลการวัดแสดงว่ายาวเทา่ ไร ก. ยาว 1 มม. ข. ยาว 2 มม. ก. ยาว 17.52 มม. ข. ยาว 18.05 มม. ค. ยาว 5 มม. ง. ยาว 10 มม. ค. ยาว 18.1 มม. ง. ยาว 17.51 มม. ตอนท่ี 3 จงตอบคำถามตอ่ ไปนใ้ี ห้ได้ใจความสมบรู ณ์ 1. กลไกขับเคลื่อนเวอร์เนียร์แบบนาฬิกาวัดใช้การแปลงผลการอ่านค่าอย่างไร 2. คุณลักษณะเวอร์เนียร์แบบดิจิตอลมีลักษณะอย่างไร 3. จงเขียนหลักการใช้งานเวอร์เนียร์แบบดิจิตอลมา 3 ข้อ 4. จงเขียนข้อแนะนำการเตรียมพร้อมการวัดและการเตรียมการตรวจวัด 5. จงสเกตช์ภาพเวอร์เนียร์แบบดิจิตอล ตั้งสเกล 000.00 มา 1 ภาพ

4 งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 45 ไมโครมเิ ตอร์ สาระการเรยี นรู้ 4.1 ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอก 4.2 ไมโครมิเตอรว์ ดั ใน 4.3 ไมโครมิเตอรว์ ดั ลกึ 4.4 ไมโครมเิ ตอรด์ จิ ติ อล 2 หน้า ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั 1. ตรวจวัดดว้ ยไมโครมเิ ตอร์วดั นอกได้ 2. ตรวจวดั ดว้ ยไมโครมิเตอรว์ ดั ในได้ 3. ตรวจวดั ด้วยไมโครมเิ ตอร์วดั ลกึ ได้ 4. ตรวจวัดด้วยไมโครมเิ ตอรด์ ิจติ อล 2 หนา้ ได้ 5. เพ่อื ให้มกี ิจนิสัยในการทำงานดว้ ยความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย ประณตี รอบคอบและตระหนักถงึ ความปลอดภยั

46 งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 4 ไมโครมเิ ตอร์ บทนำ ไมโครมเิ ตอร ์ เปน็ เครอ่ื งมอื วดั ละเอยี ดทม่ี สี เกลทอ่ี า่ นไดง้ า่ ยหากเปรยี บเทยี บกบั เวอรเ์ นยี ร ์ เนอ่ื งจาก เวอร์เนียร์มีขีดสเกลทใี่ กลเ้ คียงกนั เป็นจำนวนมาก ทำใหย้ ุ่งยากในการอ่าน และความผิดพลาดในการอ่านก็ เกิดได้งา่ ย ส่วนไมโครมเิ ตอรม์ ขี ดี สเกลทใ่ี กลเ้ คียงกนั น้อยเพียง 2 ขีดเทา่ นนั้ ทำใหก้ ารอ่านค่าที่สเกลอา่ น ไดง้ า่ ย และความผดิ พลาดในการอา่ นเกิดน้อย ไมโครมเิ ตอร์จำแนกเป็น 3 แบบดังต่อไปนี้ 1. ไมโครมิเตอร์วัดนอก (Outside Micrometer) 2. ไมโครมิเตอร์วัดใน (Inside Micrometer) 3. ไมโครมิเตอร์วัดลึก (Depth Micrometer) ไมโครมเิ ตอร์วัดนอก การวดั ด้วยไมโครมิเตอร์วดั นอก แ ก น ร ับ แ ก น ว ดั ป ล อ ก ใ น ปลอกหมนุ หวั หมนุ กระทบ ไมโครมเิ ตอร์วัดลึก ปลอกสเกล ปุม่ ล็อก ไมโครมิเตอร์วัดใน รูปที่ 4.1 ไมโครมิเตอร์วัดนอก ไมโครมิเตอร์วัดใน และไมโครมิเตอร์วัดลึก

งานวดั ละเอยี ดช่างยนต์ 47 4.1 ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอก ไมโครมิเตอรว์ ัดนอก (Outside Micrometer) ทำดว้ ยเหล็กไรส้ นิม มีสเกลหลักและสเกลเลอ่ื น ทำงาน เหมือนสเกลหลกั และสเกลเลอ่ื นของเวอรเ์ นียร์ จำแนกขนาดเล็ก-ใหญต่ ามย่านการวัดคือ 0 - 25 มม. 25 - 50 มม. และ 50 - 75 มม. เป็นต้น ชน้ิ งาน แกนวดั ปลายเป็นโลหะแขง็ 4 แหวนลอ็ ก หัวหมุนกระทบ ปลอกสเกล (สเกล มม.) แกนรับปลายเปน็ โลหะแข็ง ปลอกหมุน สเกลเลอื่ นแบ่งเปน็ 100 ส่วน สเกลยอ่ ยแบ่งเปน็ 0.5 มม. ฉนวนกนั ความรอ้ นจากมอื โครงไมโครมิเตอร์ ขนาดใช้งาน 0-25 มม. ความเที่ยงตาม DIN 863/I รูปที่ 4.2 ส่วนประกอบไมโครมิเตอร์วัดนอก 4.1.1 ส่วนต่าง ๆ ของไมโครมิเตอร์วัดนอก (Parts of Outside Micrometer) ไมโครมเิ ตอรป์ ระกอบดว้ ยสว่ นตา่ ง ๆ ทีส่ ำคญั ดังน้ีคอื 1. โครงไมโครมิเตอร์ (Frame) ทีม่ ีลักษณะโค้งใชร้ องรับแกนรับ แกนวดั ปลอกเลอ่ื น และเป็นทีจ่ บั เม่อื ใชว้ ดั 2. แกนวัด (Spindle) เคลื่อนที่เข้าสัมผัสชิ้นงานเข้าวัดงานเมื่อหมุนปลอกเลื่อน แกนวัดด้านในมีเกลียวขนาดระยะพิตช ์ 0.5 มม. สวมอยู่กบั เกลียวของปลอกเลื่อน 3. แกนรับ (Anvil) เปน็ แกนอยู่กับทใ่ี ช้รองรบั ผิวหน้าชนิ้ งานเม่อื แกนวดั กดขณะวัด ทง้ั แกนวัดและแกนรบั ชุบแขง็ ท่ี ปลาย หรอื ไมก่ ็เสรมิ ด้วยโลหะแข็ง (Carbide) เพ่อื ปอ้ งกันการสกึ หรอ 4. ปลอกสเกล (Sleeve หรอื Barrel) เป็นสว่ นสวมอยกู่ ับแกนวดั ท่ปี ลอกสเกลมีสเกลแบ่งไว้สำหรบั อ่านค่า เรยี กวา่ สเกลหลกั (Barrel Scale)

48 งานวดั ละเอียดชา่ งยนต์ 5. ปลอกหมนุ (Thimble) เป็นปลอกที่สวมเข้ากับปลอกสเกล ทำหน้าที่หมุนให้แกนวัดเคลื่อนเข้าออกได้รวดเร็ว บนปลอก สเกลมสี เกลแบ่งไว้เพอื่ อา่ นค่าละเอยี ดเมอ่ื ทำการวดั เรียกว่าสเกลหลัก (Thimble Scale) 6. นอตล็อก (Lock Nut) ทำหน้าที่ล็อกแกนวัด เมื่อหมุนปลอกสเกลให้หน้าแกนวัดสัมผัสชิ้นงานสนิทแล้ว เพื่อไม่ให้แกน วัดคลายออก เมื่อดึงไมโครมิเตอร์ออกจากชิ้นงานที่ทำการวัด 7. หวั หมุนกระทบ (Ratchet Stop) เป็นส่วนที่ใช้หมุนให้แกนวัดเคลื่อนที่เข้ากดผิวงานที่จะวัดด้วยแรงกดที่พอดี โดยปลอกหมุน กระทบจะกำหนดแรงหมุนที่มากเกนิ ไปโดยการลืน่ ไถลไปขณะหมุน 4.1.2 หลักการทำงานของไมโครมิเตอรว์ ดั นอก นอตอดั เกลยี วสกรู ปลอกหมุน แกนรบั ปลอกสเกล หวั หมนุ กระทบ แกนวดั โครง รูปที่ 4.3 ส่วนประกอบภายในไมโครมิเตอร์วัดนอก นอตท่อี ยกู่ บั ท่ ี สกรู การทำงานของไมโครมเิ ตอร ์ ไมว่ า่ จะเปน็ ไมโครมเิ ตอรแ์ บบใดมหี ลกั การอันเดียวกนั คอื แกน ระยะพติ ช์ วัดจะเคลื่อนท่ีเข้าออกได้โดยการหมุนปลอกหมุน รูปที่ 4.4 เกลียวสกรูเป็นค่าวัดละเอียดของไมโครมิเตอร์ เมอ่ื หมนุ ปลอกหมนุ ออก 1 รอบ แกนวดั จะเคลอ่ื นท ่ี ออกได ้ 1 ระยะพติ ช ์ เนอื่ งจากเกลียวมีระยะพิตช์ 0.5 มม. น่นั คือ แกนวดั เคลอ่ื นท่ีออกได ้ 0.5 มม. และเช่นเดยี วกัน ถ้าหมุนปลอกหมนุ ออก 2 รอบ แกนวดั จะเคล่อื นทอ่ี อกได ้ 2 ระยะพติ ช์ คือ 1 มม.

งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ 49 ดังนั้นบนปลอกสเกลที่มีสเกลหลักเป็นขีด ๆ ขีดส่วนบนแต่ละขีดมีค่าเท่ากับ 1 มม. ดังรูปที่ 4.2 ขดี ส่วนล่างเปน็ ขดี ยอ่ ยแบ่งครงึ่ ของ 1 มม. คือ 0.5 มม. เมื่อต้องการให้แกนวัดเคลื่อนที่ออกได้ค่าที่ละเอียดกว่าค่าดังกล่าว ต้องแบ่งส่วนรอบปลอกหมุน ออกเป็นสว่ น ๆ เท่า ๆ กนั ถ้าแบ่งส่วนรอบปลายปลอกหมุนออกเป็น 5 ส่วน เมื่อหมุนปลอกหมุนออกไป 1 ส่วน แกนวัดก็ 4 เคลื่อนทอี่ อกได้เท่ากบั 05.5 มม. คอื เท่ากบั 0.1 มม. ถ้าต้องการให้วัดได้ละเอียดกว่านี้ คือต้องการให้วัดค่าละเอียดเท่ากับ 0.01 มม. ต้องแบ่งส่วนรอบ ปลอกหมนุ ออกเปน็ 50 สว่ น เมอ่ื หมนุ ปลอกหมนุ ออกไป 1 สว่ น แกนวดั กจ็ ะเคลอ่ื นทอ่ี อกไดเ้ ทา่ กบั 500.5 มม. คอื เท่ากบั 0.01 มม. 4.1.3 กฎปฏิบตั กิ ารใชไ้ มโครมิเตอร์ วัดนอก หมนุ ปลอกหมนุ ใหแ้ กนวดั มรี ะยะโตกวา่ ชิ้นงาน แล้วทาบกับชิ้นงาน 1) หมนุ ปลอกหมนุ ใหแ้ กนวดั สมั ผสั ชน้ิ งาน เบา ๆ 2) หมุนหัวหมุนกระทบจนแกนวัดสัมผัส ชน้ิ งานมีเสียงดังหมนุ ฟรี เพราะแกนวัด ยันชน้ิ งานกบั แกนรับ 3-4 ครัง้ 3) ล็อกแหวนล็อก เพื่ออ่านค่าที่วัดได้บน ปลอกสเกล 4) กรณีวัดชิ้นงานที่ปากกา ให้จับโครง ไมโครมิเตอร์ที่ฉนวนกันความร้อนด้วย นวิ้ ชแ้ี ละหัวแม่มอื อกี มือหมุนหัวหมนุ กระทบ ดังรปู ท่ี 4.5 บน 5) สำหรับชนิ้ งานขนาดเลก็ ใช้มือหนึง่ จบั ชิ้นงาน อีกมือจับไมโครมิเตอร์ ใช้ หัวแม่มือและนิ้วชี้ หมุนปลอกหมุนวัด ช้ินงาน รูปที่ 4.5 การวัดด้วยไมโครมิเตอร์

50 งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 4.1.4 การอา่ นสเกลและเทคนคิ ท่ีสำคัญใน การใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอก 1.00 มม. ป ล อ ก ส เ ก ล ปลอกเลอ่ื น 1. การอ่านสเกลไมโครมิเตอร์ ปลอกสเกลไมโครมิเตอร์มีขีดแบ่งเป็นช่อง อยู่ทั้งเหนือและใต้เสน้ สเกลหลัก ช่องแบง่ ทอี่ ยู่เหนือ มีค่าเท่ากับ 1 มม. ช่องแบ่งทอี่ ยู่ใต้ (สเกลย่อย) มีคา่ เท่ากับ 0.5 มม. ของแต่ละชอ่ ง 0.50 มม. เสน้ สเกลหลกั ปลอกหมนุ มีช่องแบง่ เท่ากบั 0.01 มม. อย ู่ 0.50 มม. รอบ ๆ ตัว ดังนั้นการอ่านค่าของไมโครมิเตอร์ก็คือ การนำค่าทงั้ 3 คา่ มาคิดรวมกันน่นั เอง รูปท่ี 4.6 ชอ่ งแบง่ เหนือและใตเ้ ส้นแบง่ จากรูปที่ 4.7 0 5 25 คา่ ทอ่ี า่ นได้เหนือเสน้ สเกลหลักคอื ........... 5.00 20 คา่ ที่อา่ นได้ใต้เส้นสเกลหลกั คือ ................. 0.00 15 คา่ ที่อา่ นได้จากปลอกหมุนคือ ............. (+) 0.20 ผลลพั ธใ์ นการอา่ นไมโครมเิ ตอร์คือ .......... 5.20 รูปที่ 4.7 ตวั อยา่ งการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ตรวจวัด ช้นิ งานหนา 5.20 มม. จากรูปที่ 4.8 คา่ ทอ่ี ่านได้เหนือเสน้ สเกลหลกั คอื ........... 7.00 คา่ ทอ่ี า่ นไดใ้ ต้เสน้ สเกลหลักคอื ................. 0.50 ค่าท่ีอ่านไดจ้ ากปลอกหมุนคือ ........... (+) 0.15 ผลลัพธใ์ นการอ่านไมโครมิเตอร์คือ ......... 7.65 2. เทคนิคที่สำคัญในการใช้ไมโครมิเตอร์ 1) ตรวจสอบเสน้ “0” กอ่ นทำการวดั ถา้ จำเปน็ ให้ปรับตั้งไมโครมิเตอร์ 15 2) ทำความสะอาดชน้ิ งานทจ่ี ะวดั ดว้ ยผา้ สะอาด กอ่ นทำการวัด 3) จบั ไมโครมเิ ตอรท์ โ่ี ครงของไมโครมเิ ตอรห์ มนุ ให้แกนวัดเข้าใกล้ชิ้นงานและหมุนหัวหมุน ปลอกสเกล ปลอกเลอ่ื น กระทบจนกระทั่งแกนวัดสัมผัสกับชิ้นงาน อย่างช้า ๆ รปู ท่ี 4.8 ตัวอยา่ งการอา่ นค่าไมโครมเิ ตอรต์ รวจวัด ให้หมุนหัวหมุนกระทบต่อไปอีก 2 ชน้ิ งานหนา 7.65 มม. หรอื 3 รอบ เพอ่ื ใหแ้ กนวดั สมั ผสั กบั ชน้ิ งาน ขอ้ ควรจำ ดว้ ยแรงกดทพ่ี อด ี จากนั้นอ่านค่าที่สเกล อย่าหมุนปลอกเลื่อนอัดชิ้นงาน เพราะแรงกดลงบนชิ้นงานเป็นตัวแปรผลการวัด 4) วดั ค่าซ้ำหลาย ๆ คร้งั เพ่อื จะได้คา่ เที่ยงตรงทสี่ ุด

งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ 51 4.1.5 การตรวจสอบความเทย่ี งตรง ไมโครมเิ ตอร์วดั นอก เสน้ ปลอกเลอ่ื น 1. การตรวจสอบขีด “0” 4 ไมต่ รง “0” บน เสน้ สเกลหลกั กอ่ นการใชไ้ มโครมเิ ตอรว์ ดั ชน้ิ งาน ตอ้ งตรวจสอบ ว่าไมโครมิเตอร์ปรับ “0” ไว้ถูกต้องหรือไม ่ รปู ท่ี 4.9 เสน้ แบง่ ไม่ตรง “0” แกนวดั ประแจปรบั ตง้ั การปรับตง้ั ไมโครมิเตอร์ทถ่ี กู ตอ้ ง เลข “0” บน ตวั ลอ็ ก ขอบปลอกเล่อื นต้องตรงกบั เสน้ สเกลหลกั ถา้ หากไมต่ รง กนั ต้องปรับต้งั ดังรูปท่ี 4.10 ปลอกสเกล รปู ที่ 4.10 การปรบั ตัง้ ท่คี ลาดเคลอ่ื นไมเ่ กิน 0.02 มม. 2. การปรบั ทีค่ ลาดเคลือ่ นไม่เกนิ 0.02 มม. ถา้ คา่ คลาดเคลอ่ื นเทา่ กบั 0.02 มม. หรอื นอ้ ยกวา่ นั้น จับแกนวัดให้อยู่กับที่ด้วยปุ่มล็อก ใช้ประแจปรับตง้ั (มมี าพรอ้ มกบั ไมโครฯ) เขา้ ทห่ี วั ปลอกสเกล แลว้ ปรบั “0” บนปลอกเลอื่ นใหต้ รงกบั เส้นสเกลหลัก แลว้ ตรวจสอบ เสน้ “0” อีกครงั้ เพอ่ื การปรับท่ถี ูกตอ้ ง ปลอกสเกล ปลอกเลอ่ื น 3. การปรบั ตั้งคลาดเคลื่อนมากกว่า 0.02 มม. แกนวดั ลอ็ กแกนวดั ใหอ้ ยกู่ บั ท ่ีและคลายหวั หมนุ กระทบ ประแจปรบั ตง้ั ด้วยประแจปรับตั้ง เพื่อให้ปลอกเลื่อนหมุนเป็นอิสระ รูปที่ 4.11 การปรบั ต้ังท่ีคลาดเคลอื่ นเกิน 0.02 มม. ปรบั ให้จดุ “0” ของปลอกเลอ่ื นตรงกบั เส้นสเกลหลกั และ ขนั หัวหมนุ กระทบด้วยประแจปรบั ภายหลังการปรับตั้ง เกจบลอ็ ก ตรวจสอบเส้น “0” อกี ครงั้ เพือ่ การปรับต้งั ทีถ่ ูกต้อง 4. การตรวจสอบด้วยเกจบล็อก 1) เกจบล็อก (Gauge Block) เป็นกอ้ นเกจมาตรฐาน สำหรบั ตรวจสอบเครือ่ งมือวัดละเอียด 2) ตรวจวดั เกจบลอ็ กดว้ ยไมโครมเิ ตอรต์ วั ทต่ี อ้ งการ ตรวจสอบ 3) ถ้าผลการวัดตรงขนาดเกจบล็อก แสดงว่า ไมโครมเิ ตอรม์ สี ภาพปกตไิ ม่ตอ้ งตรวจปรับ รปู ท่ี 4.12 การตรวจสอบดว้ ยเกจบลอ็ ก

52 งานวัดละเอียดช่างยนต์ 4.1.6 การระมัดระวังในการใช้และการ เก็บรักษาไมโครมิเตอร์วัดนอก หวั หมนุ กระทบ เน่ืองจากไมโครมิเตอร์เปน็ เครอ่ื งวัดที่ แหวนลอ็ ก มีความละเอยี ดมากและมีราคาแพง การใชง้ าน ชน้ิ งาน ควรระมดั ระวัง ดังน้ี รูปท่ี 4.13 การใช้ไมโครมิเตอรว์ ดั นอก 1. การใชง้ านไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอก สเกลเลอ่ื น สเกลหลกั 1) การจบั ถือควรระวงั เป็นพิเศษ อยา่ ให้ ไมโครมิเตอร์ตกลงพื้น จะทำให้ เสียหายได้ 2) อย่านำไมโครมิเตอร์วัดชิ้นงานขณะที่ ร้อนอย ู่ จะทำให้แกนวดั เสียหาย 3) อยา่ ใชไ้ มโครมเิ ตอรว์ ดั งานทม่ี ผี วิ หยาบ หรือผิวดบิ ของชนิ้ งาน 4) อยา่ ใชแ้ รงมอื ทม่ี ากเกนิ ไปหมนุ ปลอก หมนุ วดั ของไมโครมเิ ตอรโ์ ดยตรง อาจ จะทำใหแ้ กนเกลยี วหลวมคลอนได ้ ตอ้ ง หมนุ ปุ่มกระทบเขา้ สัมผสั ชน้ิ งาน 5) อยา่ ดงึ ไมโครมเิ ตอรอ์ อกจากชน้ิ งาน เพอ่ื อา่ นภายนอก สเกลยอ่ ย 2. การเก็บรกั ษาไมโครมเิ ตอร์วัดนอก 1) ตอ้ งเกบ็ ไมโครมเิ ตอรแ์ ยกจากเครอ่ื งมอื อืน่ ๆ เสมอ 2) ไมโครมิเตอร์ที่มีค่าความละเอียดมาก ควรเกบ็ ไวใ้ นกล่องทบี่ ุดว้ ยผา้ นุ่ม ๆ 3) ทำความสะอาดไมโครมเิ ตอรก์ อ่ นเก็บ เสมอ 4) เกบ็ ไมโครมเิ ตอรอ์ ยา่ ใหแ้ กนวดั ยนั กบั แกนรับ ควรหา่ งอย่างนอ้ ย 1 มม. 5) อยา่ เก็บไมโครมเิ ตอร์รวมปนกนั รปู ที่ 4.14 แกนวดั ยนั แกนรับอยา่ งนอ้ ย 1 มม.

งานวัดละเอียดช่างยนต์ 53 4.2 ไมโครมิเตอรว์ ัดใน 4.2.1 ส่วนประกอบและการตรวจสอบความเทยี่ งตรงไมโครมเิ ตอรว์ ัดใน ไมโครมิเตอร์วัดใน (Inside Micrometer) มีส่วนประกอบคล้ายกับไมโครมิเตอร์วัดนอกที่ไม่มีโครง น่นั เอง และใชห้ ลักในการวดั เช่นเดยี วกบั ไมโครมิเตอร์วดั นอก มหี ลายรปู แบบใหเ้ ลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกับงาน 1. ไมโครมิเตอร์วัดในแบบแท่งตรง 4 a แกนวดั (บน) และแกนสัมผสั (ล่าง) b ปลอกสเกล c ปลอกเล่อื น d แหวนล็อก วดั ด้วยส่วนปลายท้ัง 2 ด้าน จำแนกขนาด เปน็ ยา่ นวัด : 25 - 50 มม. 50 - 75 มม. 75 - 100 มม. วัดละเอยี ดได ้ : 0.01 มม. รปู ท่ี 4.15 ไมโครมเิ ตอร์วดั ในแบบแท่งตรง การวดั ในขนาดตา่ งกนั มาก ใหเ้ ลอื กเปลย่ี น แกนวดั สัน้ ยาวได้ เขย้ี ววดั 2. ไมโครมิเตอรว์ ัดในแบบเขยี้ ววดั รปู ท่ี 4.16 ไมโครมเิ ตอร์วัดในแบบเข้ียววัด ไมโครมิเตอรแ์ บบน้ี ใชห้ ลกั การเดียวกับ การวดั ดว้ ยเวอรเ์ นยี ร ์ โดยเขย้ี ววดั ตอ้ งขนานกบั ศนู ย ์ ชิ้นงาน 3. การตรวจสอบความเท่ยี งตรงของ ไมโครมิเตอร์วดั ใน 1) กอ่ นนำไมโครมเิ ตอรว์ ดั ในไปใช ้ ควรตรวจ สอบความเทย่ี งตรงดว้ ยวงแหวนมาตรฐาน สำหรับตรวจสอบความเที่ยงของไมโคร- มเิ ตอร์ 2) หากผลการตรวจสอบไม่เที่ยงตรง ต้อง ปรับแตง่ ไมโครมิเตอร์วัดในใหถ้ ูกตอ้ ง รปู ท่ี 4.17 การตรวจสอบความเทยี่ ง

54 งานวัดละเอียดช่างยนต์ ถูก 4.2.2 เทคนิคในการตรวจวดั ด้วย ถูก ถูก ไมโครมิเตอร์วัดใน รูปที่ 4.18 หาขนาดใหญ่สดุ ในแนวด่งิ รูปที่ 4.19 หาขนาดเลก็ สดุ ในแนวขนาน ผิด ผิด ผิด 1. การหาขนาดใหญ่สุดในแนวดิง่ จับด้ามของไมโครมิเตอร์ และดันให้ปลาย ดา้ นหนง่ึ ติดกับผนงั กระบอกสูบ จากนั้นคอ่ ย ๆ หมนุ ปลอกหมุนเพือ่ ทจ่ี ะขยายก้านวดั จนกระทง่ั สัมผัสกับ ผนงั ดา้ นตรงขา้ มของกระบอก สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ การวางตัว ของไมโครมิเตอร์ต้องถูกต้อง เพื่อการวัดค่าที่ถูกต้อง ดงั รปู ที่ 4.18 ขยับไมโครมิเตอรซ์ า้ ยขวาจนกระท่ังพบ จุดท่อี ่านคา่ ของเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางไดใ้ หญ่ทีส่ ดุ 2. การหาขนาดเลก็ สุดในแนวขนาน ขยับไมโครมิเตอร์ไปแนวขนานจนกระทั่ง พบจุดท่ีอ่านคา่ ไดเ้ ลก็ สุดในแนวขนาน ขอ้ ควรระวัง อยา่ ปรบั ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ในแน่นมาก ซง่ึ จะ ทำให้ดงึ ออกจากงานที่วดั ยาก ในทซ่ี ง่ึ ยากทจ่ี ะเขา้ วดั ใหถ้ งึ ได้ ควรใชว้ งเวยี น วัดในวัดก่อน แล้วถ่ายทอดอ่านค่า โดย ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอก 3. การหาขนาดแคบสดุ ในแนวดิ่ง ขยับไมโครมิเตอร์ไปทั้งซ้ายขวา จนกระทั่ง พบจดุ ท่ีอา่ นคา่ ไดเ้ ล็กสดุ รปู ท่ี 4.20 หาขนาดแคบสดุ ในแนวด่ิง

งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 55 4.3 ไมโครมิเตอรว์ ัดลึก หวั หมุนกระทบ ไมโครมเิ ตอรว์ ัดลึก (Depth Micrometer) ใช้วดั รู หมวกปลอกหมุน หรือความลกึ ส่วนทเ่ี ป็นร่องของชิ้นงาน มีส่วนประกอบ ปลอกหมุน หลกั เหมือนไมโครมิเตอร์วัดนอก ปลอกสเกล แหวนล็อก 4.3.1 การใช้และข้อควรระวังในการใช้ 4 สะพาน ไมโครมิเตอร์วดั ลึก ผิวประกบ 1. กฎการใชไ้ มโครมเิ ตอรว์ ัดลกึ กา้ นวัดลกึ รูปท่ี 4.21 สว่ นประกอบไมโครมเิ ตอร์วดั ลึก 1) ใชบ้ รรทดั เหลก็ วดั ความลกึ ของงานโดยประมาณ เสยี กอ่ น รปู ที่ 4.22 ชุดก้านวดั ลึก 2) เปลีย่ นกา้ นวัดลึกให้เหมาะสมกับความลึกงาน 3) หมุนปลอกหมุนตามเข็มนาฬิกา ให้ก้านวัดลึก เลื่อนออกเกอื บเทา่ กับความลึกงาน 4) วางไมโครมิเตอร์วัดลึกลงบนชิ้นงาน โดยออก แรงกดให้สะพานไมโครมิเตอร์ยันแนบสนิทกับ ผวิ งาน 5) หมนุ หวั หมนุ กระทบจนกา้ นวดั ลกึ เลอ่ื นลงสมั ผสั ผิวงาน 6) อ่านค่าวัด 0-25 มม. ขอ้ ควรจำ 25-50 มม. 50-75 มม. เมอ่ื ยกขน้ึ มาอา่ นใหล้ อ็ กแหวนลอ็ กกนั ปลอก สเกลวัดเคล่ือนที่เสยี กอ่ น 2. ชดุ ก้านวดั ลกึ แตล่ ะกลอ่ งของไมโครมเิ ตอรว์ ดั ลกึ มกี า้ นวดั ลกึ อย ู่ 3 อนั เพอ่ื ใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั ความลกึ งาน เชน่ งานลกึ 40 มม. ต้องใชก้ ้านวดั ลกึ ขนาด 25-50 มม. เป็นต้น ขอ้ ควรระวัง สำหรับการใช้ไมโครมิเตอร์วัดลึก ให้กดสะพาน ไมโครมิเตอร์แนบกับชิ้นงาน และตรวจสอบ ระหว่างทำการวัดว่า เกลียวไมโครมิเตอร์ไม่ยก ปีกไมโครมิเตอร์ขึ้นสูงพ้นผิวชิ้นงาน รูปที่ 4.23 วดั ลกึ ด้วยไมโครมิเตอร์วดั ลึก

56 งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ ไมโครมิเตอร์วัดนอก ไมโครมิเตอร์วัดลึก 4.3.2 การอ่านสเกลและการบำรงุ รกั ษา ไมโครมิเตอร์วดั ลกึ 17 มม. 9 มม. 0 มม. 0.5 มม. 1. ขอ้ แตกตา่ งของการแบ่งขดี สเกลระหวา่ ง 0 มม. 0.02 มม. ไมโครมิเตอรว์ ดั นอกและมเิ ตอร์วัดลึก 17 มม. 9.52 มม. เนื่องจากการแบ่งขีดสเกลบนปลอกสเกลของ รูปท่ี 4.24 ข้อแตกต่างของการแบง่ ขีดสเกลระหวา่ ง ไมโครมิเตอร์วัดลึกเริ่มจากด้านนอก ซึ่งไม่เหมือนกับ ไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอกและไมโครมิเตอรว์ ดั ลกึ การแบง่ ขดี สเกลของไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอกซง่ึ เรม่ิ จากดา้ น ใน อาจจะทำใหอ้ า่ นค่าวดั สบั สน เพราะปลอกสเกลทบั รูปท่ี 4.25 อย่าเกบ็ ไมโครมิเตอร์วัดลกึ ท่กี ้านวดั ลกึ เล่ือน ขดี สเกลที่ผา่ นมา วิธแี ก ้ ใหห้ มนุ วัดเลอื่ นกา้ นวัดลกึ ขึ้น อยูภ่ ายนอก ไปกอ่ น แลว้ จงึ หมุนให้กา้ นวดั ลึกเลอื่ นลงสัมผัสผิวงาน ใหม ่ พรอ้ มกบั อา่ นคา่ วดั ไปพรอ้ ม ๆ กัน พจิ ารณาดงั นี้ 2. หลักการอ่านสเกลไมโครมิเตอร์วัดลกึ วางสะพานไมโครมเิ ตอรว์ ดั ลกึ ใหแ้ นน่ กบั ผวิ หนา้ ทเ่ี รยี บของชน้ิ งานแลว้ หมนุ ปลอกหมนุ จนกระทง่ั ปลาย ของกา้ นวดั ลกึ สมั ผสั กบั กน้ ของร ู อา่ นคา่ ทำนองเดยี วกบั ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอก คา่ วดั 1 มม. ค่าวัด 0.5 มม. คา่ วัด 0.01 มม. 3. กฎการใชแ้ ละการบำรงุ รกั ษาไมโครมเิ ตอรว์ ดั ลกึ 1) ห้ามวัดชิ้นงานที่มีผิวหยาบ 2) ต้องทำความสะอาดก้านวัดลึก ก่อนประกอบ เข้ากับไมโครมิเตอร์วัดลึก 3) หลงั จากใช้แหวนล็อกแล้ว อย่าลืมคลายแหวน ล็อกทุกครั้ง 4) หลังจากเลิกใช้งาน ให้ประกอบก้านวัดลึก 0-25 มม. ไว้ และอย่าให้ก้านวัดลึกเลื่อนพ้น ผิวสะพาน เพราะอาจจะไปถูกกับเครื่องมือ อื่นเกิดรอยเยินได้ 5) ให้ใช้ปลอกหมุนกระทบทุกครั้งที่ตรวจวัด 6) เมื่อต้องการเปลี่ยนจุดวัดบนผิวงาน ให้ยกตัว สะพานขึ้น ห้ามใช้วิธีเลื่อนไปมา จะทำให้ผิว ประกบงานสึกหรอ

งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ 57 4.4 ไมโครมิเตอร์ดจิ ติ อล 2 หนา้ มอื ซา้ ย-กลบั หัว 4 มอื ขวา-กลบั หวั แสดงผล 2 หน้า ทกุ ตำแหนง่ New Constant Force Ratchet กันน้ำและกันฝนุ่ มือซา้ ย มอื ขวา ไมโครมิเตอร์ดจิ ิตอล 2 หนา้ (Double Display Micrometer) 1) รุ่นพิเศษจอแสดงผล 2 จอ ใช้วัดงานในตำแหน่งต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น ใช้ได้ทั้งถนัดซ้ายหรือขวา กลับ หัววดั ได้ โดยมีปุม่ ปรบั ตัวเลขไมใ่ ห้กลบั หวั 2) ปลายเทเปอร์เพ่อื เขา้ ถงึ พนื้ ท่ที ี่วัดไดย้ าก ออกแบบสวยงาม แสดงผลละเอยี ด 0.001 มม. 3) เฟรมแบบ Hammertone Finished พร้อมแผน่ กนั ความร้อนจากมือผู้ใช้ 4) ปุ่มแบบ “SOFT KEY” ใชง้ านสะดวก 5) ปลายคาร์ไบด์พรอ้ ม Ratchet รุ่นใหม่ แบบแรงคงท่ี 6) ฟงั กช์ ัน : เปลย่ี นคา่ มม./นวิ้ แสดง Tolerance, Absolute/Increment (ยอดรวม/ยอดยอ่ ย) ตั้ง Preset ปุ่มเปดิ /ปิด Set ศูนย์ (0) Data Output, แสดงเตอื นแบตเตอร่อี ่อน 7) บรรจุในกล่องพลาสตกิ อยา่ งดี พรอ้ มประแจปรับและ Standard (ยกเว้นรนุ่ 0-30 มม.)

58 งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ ใบตรวจวดั ที่ จงตรวจวัดขนาดชน้ิ งานตัวอยา่ งตามแบบทีก่ ำหนดให้ด้วย ไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอกขนาด 0-25 มม. และ 25-50 มม. แลว้ กรอก 4.1 ผลในตาราง ลำดับ ผลการวัด (มม.) ลำดบั ผลการวดั (มม.) AF BG CH DJ EK การประเมินผล ชื่อ ................................................................ วนั ท ี่ ............................................................. คะแนน ....................................................... ผู้ประเมนิ ....................................................

งานวัดละเอียดช่างยนต์ 59 ใบตรวจวัดท่ี จงตรวจวดั ขนาดกา้ นลน้ิ ไอดีและลนิ้ ไอเสียท่กี ำหนดใหด้ ว้ ย ไมโครมิเตอร์วดั นอกหาคา่ เฉล่ยี แลว้ กรอกผลในตาราง 4.2 B 4 A A′ B′ j k l ลำดับวดั ลิ้นไอดี 1 ลนิ้ ไอดี 2 ล้ินไอเสยี 1 ลิ้นไอเสยี 2 j มม. k มม. l มม. หวั ล้นิ หนา มม. ข้อควรจำ ความหนาหวั ลิ้นไมน่ อ้ ยกวา่ ........................................ มม. การประเมินผล ชือ่ ................................................................ วนั ที่ ............................................................. คะแนน ....................................................... ผปู้ ระเมนิ ....................................................

60 งานวัดละเอียดช่างยนต์ ใบตรวจวดั ท่ี จงตรวจวดั ขนาดลกู สบู ท่กี ำหนดใหด้ ว้ ยไมโครมเิ ตอร์และเกจวดั รูสลกั ลกู สบู แลว้ กรอกผลในตาราง 4.3 เครอื่ งยนต์ แก๊สโซลีน ดเี ซล ลูกสบู 12 12 j มม. k มม. l มม. ขอ้ ควรจำ การตรวจวัดลูกสูบ ให้ตรวจแนวต้งั ฉากกบั ................................................................................ การประเมินผล ช่อื ................................................................ วนั ท ี่ ............................................................. คะแนน ....................................................... ผู้ประเมิน ....................................................

งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ 61 ใบตรวจวดั ที่ จงตรวจวัดขนาดเพลาราวล้ินเครอ่ื งยนต์เลก็ ฮอนด้าที่กำหนดให้ ดว้ ยไมโครมเิ ตอร์วัดนอก แลว้ กรอกผลในตาราง 4.4 ความสงู ลูกเบ้ียวเพลาราวล้นิ เสน้ ผ่านศูนย์กลางขอ้ เพลาราวลน้ิ 4 คา่ มาตรฐาน คา่ จำกัดการซอ่ ม ค่ามาตรฐาน ค่าจำกดั การซอ่ ม ลกู เบ้ยี วดา้ นไอดี 17.8 มม. 33.5 มม. ลกู เบ้ียวดา้ นไอเสีย 33.8 มม. ลูกเบ้ียวลน้ิ ไอดี ไอเสยี ข้อเพลา ดา้ นหัว ดา้ นทา้ ย ชว่ งสงู มม. เพลาร ี มม. ช่วงแคบ มม. เพลาเรยี ว มม. สภาพลกู เบ้ียว ด/ี ไมด่ ี สภาพขอ้ เพลา ด/ี ไม่ดี สภาพเฟอื ง ดี/ไม่ดี การประเมนิ ผล ชอื่ ................................................................ วนั ที่ ............................................................. คะแนน ....................................................... ผ้ปู ระเมิน ....................................................

62 งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ ใบตรวจวัดที่ จงตรวจวดั ขนาดข้ออกและขอ้ ก้านเพลาขอ้ เหวยี่ งเครอื่ งยนตเ์ ล็ก ฮอนดา้ ท่กี ำหนดให้ดว้ ยไมโครมิเตอร์วัดนอก แล้วกรอกผลในตาราง 4.5 เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางขอ้ อกเพลาข้อเหวยี่ ง C D A B j k คา่ มาตรฐาน คา่ จำกัดการซ่อม 26.0 มม. 25.917 มม. ลำดบั วดั ขอ้ อก 1 ขอ้ อก 2 ขอ้ กา้ น 1 ข้อก้าน 2 A -j มม. B - j มม. C - j มม. D - j มม. เพลาเบ้ียว j - k มม. เพลาเรยี ว A - B มม. เพลาเรยี ว C - D มม. การประเมนิ ผล ชอ่ื ................................................................ วันท ี่ ............................................................. คะแนน ....................................................... ผู้ประเมิน ....................................................

งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 63 ใบตรวจวัดที่ จงตรวจวัดขนาดเพลาราวล้ินทกี่ ำหนดใหด้ ว้ ยไมโครมเิ ตอร์ วดั นอก แลว้ กรอกผลในตาราง 4.6 4 j k ลูกเบี้ยวลิน้ ไอดี 1 ไอดี 2 ไอเสยี 1 ไอเสีย 2 ชว่ งสูง มม. ขอ้ ท้าย ช่วงแคบ มม. ขนาดข้อเพลา ข้อหัว ข้อกลาง เพลาร ี มม. เพลาเรยี ว มม. การประเมินผล ชอื่ ................................................................ วนั ท่ี ............................................................. คะแนน ....................................................... ผู้ประเมิน ....................................................

64 งานวัดละเอียดชา่ งยนต์ ใบตรวจวัดที่ จงตรวจวดั ขนาดข้ออกและข้อก้านเพลาขอ้ เหว่ียงที่กำหนดใหด้ ้วย ไมโครมิเตอร ์ แลว้ กรอกผลในตาราง 4.7 C D A B j k ลำดบั วัด ข้ออก 1 ข้ออก 2 ขอ้ กา้ น 1 ขอ้ ก้าน 2 A -j มม. B - j มม. C - j มม. D - j มม. เพลาเบ้ยี ว j - k มม. เพลาเรยี ว A - B มม. เพลาเรียว C - D มม. การประเมินผล ชือ่ ................................................................ วันท ่ี ............................................................. คะแนน ....................................................... ผูป้ ระเมนิ ....................................................

แบบฝกึ กจิ กรรมท ่ี 4 งานวัดละเอยี ดช่างยนต์ 65 เรอื่ ง ไมโครมิเตอร์ ตอนท่ ี 1 จงเตมิ คำในชอ่ งว่างตอ่ ไปน้ี 1. ไมโครมเิ ตอร์วดั นอกเขยี นคำอังกฤษอย่างไร 4 ................................................................................................................................................................................................ 2. ไมโครมิเตอร์วดั ในเขียนคำอังกฤษอยา่ งไร ................................................................................................................................................................................................ 3. ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ลกึ เขียนคำองั กฤษอย่างไร ................................................................................................................................................................................................ 4. ไมโครมเิ ตอรจ์ ำแนกขนาดตามย่านการวดั ได้ 3 ขนาด คืออะไร ................................................................................................................................................................................................ 5. ทำไมตอ้ งใช้หวั หมุนกระทบในการตรวจวดั ชน้ิ งานดว้ ยไมโครมเิ ตอร์ ................................................................................................................................................................................................ 6. ขีดแบง่ อยเู่ หนอื เส้นสเกลหลักแต่ละชอ่ งมีค่าเท่าไร ................................................................................................................................................................................................ 7. ขีดแบ่งใต้เส้นสเกลหลกั หรอื เรียกสเกลย่อยมีค่าเทา่ กบั เท่าไร ................................................................................................................................................................................................ 8. ไมโครมเิ ตอร์วัดลกึ แตกตา่ งกบั ไมโครวัดนอกอย่างไร ................................................................................................................................................................................................ 9. ตรวจสอบความเทยี่ งตรงไมโครวัดในไดอ้ ยา่ งไร ................................................................................................................................................................................................ 10. จุดเริ่มตน้ การตรวจวัดใหเ้ กิดความเท่ยี งตรงของทุกไมโครมเิ ตอร์ใหป้ ฏิบัติอยา่ งไร ................................................................................................................................................................................................

66 งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ ตอนท่ ี 2 จงทำเคร่อื งหมายถูก ( P) ลงหนา้ ขอ้ ความท่ีถูกตอ้ งที่สดุ 1. ไมโครมเิ ตอรใ์ ช้เกลยี วระบบพติ ชเ์ ทา่ ใด 2. ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ได้ละเอยี ดเพยี งไร ก. พิตช์ 0.25 มม. ก. ไดล้ ะเอียด 1 ใน 10 มม. ข. พิตช์ 0.35 มม. ข. ได้ละเอยี ด 1 ใน 100 มม. ค. พิตช์ 0.50 มม. ค. ไดล้ ะเอยี ด 1 ใน 1,000 มม. ง. พติ ช ์ 0.75 มม. ง. ไดล้ ะเอยี ด 1 ใน 10,000 มม. 3. ก. 10.0 มม. 4. ก. 14.85 มม. ข. 11.0 มม. ข. 13.5 มม. ค. 10.05 มม. ค. 13.88 มม. ง. 10.5 มม. ง. 13.90 มม. 5. ก. 14.0 มม. 6. ก. 20.95 มม. ข. 14.5 มม. ข. 21.0 มม. ค. 13.5 มม. ค. 20.98 มม. ง. 13.51 มม. ง. 20.90 มม. 7. ก. 18.6 มม. 8. ถา้ ระยะเกลยี วปลอก = 0.5 มม. สเกลปลอก ข. 19.16 มม. เล่อื นมกี ีข่ ดี ค. 18.56 มม. ก. 25 ขดี ข. 50 ขีด ง. 18.16 มม. ค. 100 ขดี ง. 150 ขีด 9. ก. 7.10 มม. 10. เคร่อื งมอื อะไรเหมาะท่ีจะใชต้ รวจตั้ง “0” ข. 7.01 มม. ของไมโครมเิ ตอร์ ค. 7.51 มม. ก. เวอร์เนียร์ ข. ไมโครมิเตอร์วัดลกึ ง. 8.51 มม. ค. เกจตรวจเฉพาะ ง. นาฬกิ าวดั ตอนที่ 3 จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้ใหไ้ ด้ใจความสมบรู ณ์ 1. จงเขียนกฎการใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอกมา 5 ข้อสั้น ๆ 2. จงเขียนเทคนิคที่สำคัญในการใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอกมา 4 ข้อสั้น ๆ 3. จงเขียนการตรวจสอบความเที่ยงไมโครมิเตอร์วัดนอกด้วยเกจล็อกมา 3 ข้อสั้น ๆ 4. จงเขียนกฎการใช้และการบำรุงรักษาไมโครมิเตอร์วัดลึก 6 ข้อสั้น ๆ 5. จงสเกตช์ภาพไมโครมิเตอร์วัดนอกพร้อมเขียนชื่อส่วนประกอบ เช่น แกนรับ แกนวัด ปลอกสเกล ปลอกหมุน หัวหมุนกระทบ ปุ่มล็อก โครง ย่านการวัด เป็นต้น

5งานวดั ละเอียดเคร่อื งยนต์ 67 นาฬกิ าวดั สาระการเรียนรู้ 5.1 สว่ นประกอบและการอา่ นคา่ นาฬกิ าวดั 5.2 แทน่ ยดึ และความจำเปน็ ต้องใช้แทน่ ยดึ นาฬกิ าวดั แบบแมเ่ หล็ก 5.3 การตรวจสอบและกฎการใชน้ าฬกิ าวดั 5.4 การตรวจระยะยกลูกเบี้ยวและการบำรงุ รกั ษานาฬิกาวดั ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง 1. อธิบายส่วนประกอบและการอา่ นค่านาฬิกาวัดได้ 2. แนะนำแท่นยดึ และความจำเป็นตอ้ งใชแ้ ทน่ ยึดนาฬิกาวัด แบบแม่เหล็กได้ 3. ปฏิบัตกิ ารตรวจสอบและกฎการใชน้ าฬกิ าวดั ได้ 4. ปฏบิ ตั กิ ารตรวจระยะยกลกู เบย้ี วและการบำรุงรักษานาฬกิ าวดั ได้ 5. เพ่ือใหม้ ีกจิ นสิ ยั ในการทำงานด้วยความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย ประณตี รอบคอบและตระหนักถงึ ความปลอดภยั

68 งานวดั ละเอยี ดเครือ่ งยนต์ 5 นาฬกิ าวดั บทนำ นาฬกิ าวัดหรือเรยี กทับศพั ทว์ า่ ไดแอลเกจ (Dial Gauge หรอื Dial Indicators) ใชส้ ำหรับวดั เปรียบเทียบขนาดและตรวจสอบขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง สภาพผิว ความเที่ยงตรง ในงานช่างยนต์ทั่วไป ใช้สำหรบั ตรวจสอบสว่ นประกอบเครอื่ งยนต์ดังต่อไปน้ี 1) ตรวจสอบศูนย์เพลา เชน่ เพลาขอ้ เหว่ยี ง เพลาราวลนิ้ และก้านล้นิ 2) ตรวจสอบความบดิ เบยี้ วของผวิ ชิน้ งาน เชน่ ผิวหน้าล้อช่วยแรง ผิวหนา้ เส้อื สูบ ผวิ หน้าฝาสบู 3) ตรวจสอบระยะฟรีฟนั เฟอื ง เช่น เฟืองไทม่ิง เฟอื งกระปกุ เกียร ์ เฟอื งทา้ ย 4) ตรวจสอบระยะรนุ เชน่ ระยะรุนเพลาขอ้ เหวี่ยง ระยะรุนก้านสบู และระยะรนุ เพลาราวลิน้ ขอ้ อกท ่ี 1 2 34 5 เพลา แทง่ วี แท่งว ี แท่งวี รปู ท่ี 5.1 ตรวจสอบศูนยเ์ พลาข้อเหว่ียงด้วยนาฬกิ าวัด (M) ยนั สดุ การตรวจสอบความกลมและศนู ย์ล้นิ บนแท่น ทำเอง เมื่อต้องการตรวจสอบความกลมและศูนย์ ลิ้นเครื่องยนต์ ให้ติดตั้งลิ้นบนแท่นตรวจศูนย์ลิ้น จากนน้ั ตดิ ต้ังชดุ แทน่ ยึดนาฬกิ าวัด ให้ป่มุ แกนสมั ผัส สัมผัสกบั ผิวของส่วนทต่ี ้องการตรวจสอบ และปรับ ที่หน้าปัดให้เข็มชี้ที่ 0 แล้วหมุนลิ้นโดยรอบ ถ้าเข็ม ของนาฬิกาวัดไมก่ ระดิกไปมา แสดงวา่ ส่วนนน้ั กลม รปู ท่ี 5.2 ตรวจสอบศนู ย์ลน้ิ เครอื่ งยนต์

งานวดั ละเอยี ดเครอื่ งยนต์ 69 5.1 สว่ นประกอบและการอา่ นคา่ นาฬกิ าวดั 5.1.1 ส่วนประกอบและการทำงานนาฬกิ าวดั 5 นาฬกิ าวัดประกอบดว้ ยเฟอื งสะพาน เฟอื งเล็กและเฟอื งใหญฟ่ ันตรง ซ่ึงช่วยในการขยายระยะ เคลื่อนที่ของแกนวัดให้ใหญ่ขึ้น โดยทำให้เข็มกระดิกมาก อ่านค่าวัดได้สะดวก เมื่อแกนวัดเคลื่อนไป 1 มม. เขม็ ยาวจะหมุนไปครบ 1 รอบพอดี เขม็ สนั้ เคลอื่ นท่ีไป 1 ขดี เข็มสั้นจึงแสดงค่าจำนวนเต็ม 1 มม. และ เขม็ ยาวอ่านไดล้ ะเอียด 1 010 คือ 00.1 มม. แกนวดั พร้อมเฟอื งสะพาน เฟืองใหญ่ เฟืองเลก็ เฟืองกับสปรงิ ลาน ปอ้ งกันไม่ใหม้ ชี ่องหลวม แผ่นรอง ระหว่างฟันเฟือง แผ่นรอง คานสมดลุ การสั่นพร้อมกบั สปรงิ ดงึ ทำใหแ้ รงกดวัด กรอบ สมำ่ เสมอ เข็มยาว 1 ใน 100 มม . ด้ามจบั เข็มสัน้ เข็มยาว เดอื ยสำหรบั กัน เฟอื งเล็ก ไมใ่ ห้แกนหมุน เฟืองใหญ่ เข็มสนั้ คานสมดลุ การสน่ั เฟืองใหญ่ เฟอื งเล็ก แกนวดั เฟืองเลก็ เดือย เฟอื งกบั สปรงิ ลาน ปมุ่ สมั ผ สั เฟอื งกบั สปริงลาน เดือย สปริงดึง แกนวดั แกนวดั ภาพด้านขา้ ง ภาพดา้ นหน้า รูปท่ี 5.3 สว่ นประกอบภายในและภายนอกนาฬกิ าวัด

70 งานวดั ละเอยี ดเคร่ืองยนต์ 5.1.2 การอ่านคา่ นาฬกิ าวัด รูปท่ี 5.4 สเกลนาฬิกาวดั 1. สเกลนาฬกิ าวดั 0.01 มม. 0.1 มม. นาฬกิ าวดั ประกอบดว้ ยสเกลหยาบและสเกล ป่มุ สมั ผสั ละเอยี ด โดยสเกลละเอยี ดอยวู่ งนอก มเี ขม็ ยาวเปน็ ตวั ช้ ี รูปท่ี 5.5 การแบ่งช่องหนา้ ปดั สว่ นสเกลหยาบเปน็ วงกลมเลก็ อยภู่ ายในสเกลละเอยี ด มีเขม็ ส้ันเปน็ ตวั ช้ี ในหน่ึงชอ่ งของสเกลละเอยี ดจะม ี ค่าเท่ากับค่าความละเอียดของนาฬิกาวัดท่ีกำหนดไว้ ที่หน้าปัด เช่น ค่าความละเอียดกำหนดไว้เท่ากับ 0.01 มม. นน่ั คอื หนึง่ ช่องบนสเกลละเอียดมคี า่ เทา่ กับ 0.01 มม. ซึ่งเป็นคา่ ความละเอยี ดของนาฬิกาวดั ท่ใี ช ้ ในระบบเมตรกิ ทั่วไป 2. การแบง่ ช่องหน้าปดั นาฬกิ าวดั ในการอ่านค่านาฬิกาวัดนั้น ต้องอ่านค่าที ่ หน้าปัดเล็กและหนา้ ปดั ใหญ่ควบคูก่ ันไป โดยหนา้ ปดั ใหญ่จะอ่านค่าที่เข็มยาวชี้บนสเกลหน้าปัดใหญ่ และ หน้าปัดเล็กจะอ่านค่าที่เข็มส้ันช้ีบนสเกลหน้าปัดเล็ก คือ 1) เข็มยาวหมุน 1 รอบหนา้ ปดั มคี า่ 1 มม. 2) เขม็ ส้นั เคลือ่ นตัว 1 ช่อง มคี ่า 1 มม. 3) 1 ช่องเลก็ บนหนา้ ปดั มคี ่า 0.01 มม. 4) 1 ช่องใหญบ่ นหน้าปดั มคี ่า 0.1 มม. 3. การอา่ นค่าของนาฬกิ าวดั 1) ค่าเข็มส้นั เปน็ ค่าหน้าจุดทศนยิ ม 2) คา่ เขม็ ยาวเปน็ คา่ หลงั จดุ ทศนยิ ม ผลการอา่ น คอื ค่าเข็มสนั้ = 2.00 มม. (หมุนซา้ ย) ค่าเขม็ ยาว = 0.47 มม. (หมนุ ขวา) คา่ ของนาฬกิ าวัด = คา่ เขม็ สน้ั + คา่ เขม็ ยาว = 2.00 + 0.47 = 2.47 มม. ปมุ่ สมั ผสั รปู ท่ี 5.6 การอ่านค่าที่นาฬิกาวดั

งานวดั ละเอียดเครอ่ื งยนต์ 71 5.2 แทน่ ยดึ และความจำเปน็ ตอ้ งใชแ้ ท่นยึดนาฬกิ าวดั ขาตง้ั 1. ประโยชน์แท่นยดึ นาฬกิ าวดั 5 แขนยึด ฐานแท่น การตรวจสอบงานลกั ษณะตา่ ง ๆ ดว้ ยนาฬกิ า วดั จำเปน็ ตอ้ งใช้แทน่ ยึดนาฬิกาวดั (Dial Test In- รูปที่ 5.7 แทน่ ยึดนาฬกิ าวดั แบบธรรมดา dicator Stand) ใหน้ าฬิกาวัดทำงานไดค้ ลอ่ งตวั และ สกรูล็อกระยะ อยู่ในตำแหน่งทีม่ ัน่ คง สามารถเคลือ่ นทไ่ี ปมาบน พ้ืนผิวงานได้แนบสนิทและได้ระดับเสมอกันตลอด ขาตง้ั ลักษณะของแท่นยึดนาฬิกาวัดมีดงั ตอ่ ไปน้ี 2. แท่นยึดนาฬิกาแบบธรรมดา 1) ฐานแท่น ด้านบนและด้านล่าง เซาะร่อง สำหรับยึดแกนตั้ง 2) แกนตั้ง เป็นลักษณะแท่นเหล็กกลมเรียบ เป็นเสารองรับอุปกรณ์ติดตั้งนาฬิกาวัด 3) แขนยึดประกอบด้วยชุดสวมแกนตั้งมีสลัก เกลียวยึดกันลื่นและกันเลื่อนของแกนยึดที่ สามารถเล่ือนเข้าออกตามความต้องการได้ 4) แป้นเกลียวสำหรับยึดแกนตั้งให้ติดกับฐาน เหลก็ ทต่ี อ้ งการใหแ้ กนตง้ั เลอ่ื นไปอยตู่ ำแหนง่ ต่าง ๆ ของฐานได้ สวติ ชแ์ มเ่ หล็ก ฐานเป็นแม่เหล็ก 3. แท่นยึดนาฬกิ าวัดแบบแมเ่ หล็ก รูปที่ 5.8 แท่นยึดนาฬกิ าวัดแบบแมเ่ หล็ก ฐานแทน่ เป็นแม่เหลก็ สำหรบั ยึดติดกับท่ตี ้งั ที่เป็นเหล็ก เชน่ เสอ้ื สบู เครอ่ื งยนต ์ มสี วติ ชแ์ มเ่ หลก็ ปดิ เปดิ ใหย้ ดึ ตดิ แนน่ หรอื ถอดออกเมอ่ื เลกิ ใชง้ าน ไขควงงัด 4. ความจำเปน็ ต้องใชแ้ ท่นยึดนาฬิกาวัดแบบ แมเ่ หลก็ รปู ที่ 5.9 ใชแ้ ทน่ ยดึ นาฬิกาแบบแม่เหลก็ ตรวจสอบระยะรุน เพลาข้อเหวยี่ ง งานตรวจซ่อมงานช่างยนต์ จำเป็นต้องใช ้ แทน่ ยดึ นาฬกิ าแบบแมเ่ หลก็ เพอ่ื ตรวจสอบระยะรนุ เพลาขอ้ เหวย่ี ง ระยะรนุ เพลาราวลน้ิ ความคดเพลา และอน่ื ๆ เนอ่ื งจากตวั รถยนตแ์ ละตวั เครอ่ื งยนตเ์ ปน็ เหล็ก จึงสะดวกในการยึดติดกัน สะดวกในการใช้ สามารถตรวจวดั ไดเ้ ทย่ี งตรงและปลอดภยั

72 งานวัดละเอยี ดเครือ่ งยนต์ 5.3 การตรวจสอบและกฎการใชน้ าฬกิ าวดั ผิด ถูก 1. การตรวจสอบก่อนใชง้ าน ผดิ ถกู กอ่ นใชง้ านหรอื เร่ิมวดั ทุกครงั้ ให้ตรวจสอบ รูปที่ 5.10 ติดตง้ั ใหต้ ้งั ฉากกบั ผวิ งาน กลไกภายในนาฬิกาวัดกอ่ น เพอื่ ใหแ้ น่ใจว่า แกนวัด เฟอื ง เข็มชี้และสปริง ทำงานได้ดีเป็นปกติ โดยดึงแกนวัดให้ รปู ท่ี 5.11 ทำความสะอาดผิวงานกอ่ น เคลื่อนที่ขึ้นไปประมาณครึ่งหนึ่งของช่วงวัด จากนั้น นาฬกิ าวดั ปลอ่ ยให้แกนวดั เคลือ่ นทเี่ อง สปรงิ ท่อี ยู่ภายในตัวเรือน ของหน้าปัด จะดงึ แกนวัดเคล่อื นท่ีกลบั ตำแหนง่ เดิม หมนุ เพลาขอ้ เหวีย่ ง ปลายเพลาข้อเหวี่ยง 2. กฎการใชน้ าฬิกาวดั รปู ท่ี 5.12 การตรวจสอบศนู ยเ์ พลาข้อเหว่ียง 1) ทำความสะอาดชิน้ งานและเคร่ืองมอื วดั โดย อยา่ ให้มีคราบนำ้ มันหรอื ส่ิงสกปรกจบั ก่อน ตรวจวดั 2) อยา่ วดั ชนิ้ งานขณะยังร้อน 3) ลอ็ กฐานแมเ่ หล็กทกุ ครงั้ ทีใ่ ช้งาน 4) กอ่ นวัดต้องปรบั ศนู ย์ใหม่ทุกครง้ั 5) วดั ในท่าทถ่ี นัดทส่ี ุดและมีแสงสว่างเพียงพอ 6) อย่าให้ขานาฬิกาวัดกระแทกกับชิ้นงานแรง ๆ หรือทำให้นาฬิกาวดั ตกจากที่สงู เพราะมผี ล กระทบตอ่ กลไกนาฬิกาวดั 7) ทำความสะอาดนาฬิกาวดั ทุกครงั้ ก่อนเก็บ 3. ลำดับการตรวจสอบศนู ยเ์ พลา 1) วางปลายแกนวัดลงบนผิวหัวเพลา และจับ นาฬิกาตงั้ ไดฉ้ ากกับผิวงาน 2) หมุนเพลาช้า ๆ และหาจุดบนผิวงานที่เข็มยาว แสดงคา่ นอ้ ยทสี่ ุด จากนัน้ ปรบั กรอบนอกให ้ “0” ตรงกับเข็มวัดทจ่ี ุดนั้น 3) หมนุ เพลาอยา่ งชา้ ๆ และอา่ นคา่ ในชอ่ งทเ่ี ขม็ วดั เคลอ่ื นตวั ไป โดยมองเขม็ วดั ใหต้ ง้ั ฉากกบั หนา้ ปดั ข้อควรจำ กรณีวัดความคดของเพลา ผลการวัดต้อง แบง่ ครง่ึ เพราะผลการวดั ทไ่ี ดเ้ ปน็ เสน้ ผา่ น ศนู ยก์ ลางของความคด ค่าความคด = ผลก2ารวดั มม.

งานวดั ละเอียดเครื่องยนต์ 73 5.4 การตรวจระยะยกลกู เบย้ี วและการบำรงุ รกั ษานาฬกิ าวดั 1. หน้าที่เพลาราวลิ้น เพลาราวลน้ิ เครอ่ื งยนตเ์ ปน็ ชน้ิ สว่ นทเ่ี คลอ่ื น 5 ทห่ี มุนรอบตวั เปิดลิน้ ไอดีและล้นิ ไอเสยี ของเคร่อื ง รูปท่ี 5.13 ตรวจศนู ยเ์ พลาราวลนิ้ ยนต ์ ขบั เคลอ่ื นใหห้ มนุ ดว้ ยแรงเพลาขอ้ เหวย่ี ง เพลา A1 ข้อเหวีย่ งหมุน 1 รอบ เพลาลกู เบีย้ วหมุนเพยี ง 1/2 รอบ 2. การตรวจระยะยกลูกเบยี้ ว เพลาลูกเบ้ยี วมีลูกเบ้ยี วตามจำนวนล้ินไอดี และลิ้นไอเสีย ลูกเบี้ยวหมุนเยื้องศูนย์กับข้อเพลา ลูกเบยี้ ว ตรวจวดั ระยะการเย้ืองศนู ย์ของลกู เบย้ี วได้ A2 ดว้ ยนาฬิกาวดั โดยหมนุ เพลาลูกเบ้ยี วช้า ๆ จากแกน นาฬิกาสมั ผัสจดุ ต่ำสดุ ถงึ จุดสูงสุด คือ H กำหนดให ้ H = A2 - A1 = 3.75 มม. - 0 มม. = 3.75 มม. 3. ระยะเย้ืองศนู ย์เพลา (e) กำหนดให ้ e = H2 หรอื H = 2 e = 32.75 มม. = 1.875 มม. รปู ที่ 5.14 ตรวจระยะยกลกู เบ้ยี ว 4. การบำรุงรกั ษานาฬกิ าวัด รปู ที่ 5.15 ตรวจระยะเยือ้ งศนู ยเ์ พลา อย่าหยอดน้ำมันหรือทาจาระบีบนแกนวัด หากพบว่าแกนวัดมีอาการเคลื่อนตัวฝืด เนื่องจาก น้ำมันเครอ่ื ง หรือสงิ่ สกปรกติดอย่รู ะหว่างแกนวัด ควรจับนาฬกิ าวดั ตง้ั ตรง แลว้ จมุ่ กา้ นวัดลงในนำ้ มัน เบนซนิ ทีส่ ะอาด จากนั้นดนั แกนวดั ข้นึ ๆ ลง ๆ หลาย ๆ ครั้ง จนกระทั่งสิ่งสกปรกนั้นหลุดออกจน หมด แลว้ เก็บไว้ในกล่องเฉพาะ

74 งานวดั ละเอยี ดเครอ่ื งยนต์ ใบตรวจวดั ท่ี จงตรวจวัดศนู ย์เพลาขอ้ เหวยี่ งและขอ้ อกเปน็ วงรีด้วยนาฬิกาวัด แล้วกรอกผลในตารางและวเิ คราะหส์ ภาพเพลาทั่วไป 5.1 หนศี นู ย์ แบรงิ่ แบริ่ง ศูนยข์ ้ออกข้อท่ี 1 2 3 4 5 หนีศูนย ์ มม. เปน็ วงร ี มม. ขอ้ อก ดี/ไม่ดี ข้อควรจำ เพลาขอ้ เหวี่ยงหมุนหนศี นู ย์ไดไ้ ม่เกิน ......................................................... มม. เพลาข้อเหวย่ี งหมนุ ไม่กลม (เป็นวงรี) ไม่เกิน ............................................ มม. การประเมินผล ช่ือ ................................................................ วันท ่ี ............................................................. คะแนน ....................................................... ผปู้ ระเมนิ ....................................................

งานวดั ละเอยี ดเคร่ืองยนต์ 75 ใบตรวจวดั ท่ี จงตรวจวดั ระยะรุนเพลาข้อเหว่ียงที่กำหนดใหด้ ว้ ยนาฬกิ าวัด แลว้ กรอกผลในตาราง และวเิ คราะห์สภาพแบริง่ กนั รนุ 5.2 5 ระยะรุน ระยะรุนเพลาข้อเหวี่ยง มม. ความหนาแบร่ิงกันรนุ ดา้ นซ้าย มม. ความหนาแบร่ิงกนั รนุ ด้านขวา มม. สภาพแบริง่ กนั รุน ด/ี ไม่ดี ขอ้ ควรจำ ระยะรนุ เพลาขอ้ เหวย่ี งไม่เกิน .............................................................. มม. การประเมนิ ผล ชอื่ ................................................................ วันท่ี ............................................................. คะแนน ....................................................... ผู้ประเมิน ....................................................

76 งานวดั ละเอียดเครอื่ งยนต์ ใบตรวจวดั ที่ จงตรวจสภาพและตรวจวัดหนา้ แปลนทา้ ยเพลาขอ้ เหวย่ี ง และผิว ลอ้ ช่วยแรงสมั ผสั ผ้าคลัตช ์ ตลอดถงึ เฟืองล้อชว่ ยแรงทกี่ ำหนดให้ 5.3 ดว้ ยนาฬกิ าวดั แลว้ กรอกผลในตาราง หมุนเพลาข้อเหวี่ยงช้า ๆ นาฬิกาวัด สภาพหนา้ แปลนท้ายเพลาขอ้ เหวยี่ ง ด/ี ไม่ดี การแกว่งตัวหน้าแปลนทา้ ยเพลาข้อเหว่ยี ง มม. สภาพผิวลอ้ ช่วยแรงสมั ผสั ผา้ คลตั ช์ ด/ี ไม่ดี การแกว่งตวั ผิวล้อชว่ ยแรงสัมผสั ผา้ คลตั ช ์ มม. สภาพเฟอื งล้อช่วยแรง ด/ี ไม่ด ี ขอ้ ควรจำ ผิวล้อชว่ ยแรงไหม้หรือสกึ หรอมากต้องกลึงปากผิวให ้ .......................................................... การประเมินผล ชือ่ ................................................................ วนั ท ่ี ............................................................. คะแนน ....................................................... ผู้ประเมิน ....................................................

งานวดั ละเอียดเครอ่ื งยนต์ 77 ใบตรวจวดั ท่ี จงตรวจวดั ชว่ งยกลกู เบย้ี วศูนย์เพลาราวล้นิ ตามกำหนดด้วย นาฬกิ าวดั แลว้ กรอกผลในตารางข้างล่างพรอ้ มวเิ คราะห์สภาพ 5.4 เพลาราวลิ้นทว่ั ไป ตรวจเพลาคด 5 H = ความต่าง แกวง่ ขณะหมุน มม. ความต่างศูนย์ขอ้ เพลา H มม. ความเบ้ยี วข้อเพลาหวั ท้าย มม. ความสูงลูกเบยี้ วลนิ้ สูบท่ี 123 4 ความสงู รวมลกู เบ้ียวล้ินไอด ี มม. ความสูงรวมลกู เบ้ยี วล้ินไอเสยี มม. สภาพลูกเบย้ี ว ดี/ไม่ดี ข้อควรจำ เพลาราวลิน้ แกว่งขณะหมนุ ไมเ่ กนิ .......................................................... มม. การประเมนิ ผล ชือ่ ................................................................ วันท่ี ............................................................. คะแนน ....................................................... ผปู้ ระเมนิ ....................................................

78 งานวัดละเอียดเครอ่ื งยนต์ ใบตรวจวดั ที่ จงทำความสะอาดลนิ้ ตรวจสภาพล้นิ ด้วยสายตา และตรวจศูนย์ล้ิน เครอ่ื งยนต์ 4 ลิน้ ทก่ี ำหนดให้ แล้วกรอกผลในตาราง 5.5 ยันสุด ลำดับการตรวจวดั ล้นิ 123 4 ความยาวลิน้ ทง้ั หมด มม. กา้ นลน้ิ หนศี นู ย์ มม. สภาพหนา้ สัมผัสล้ิน ด/ี ไมด่ ี หน้าสมั ผสั ลน้ิ หนีศนู ย์ มม. ข้อควรจำ ความหนาหัวล้ินไมน่ อ้ ยกวา่ ......................................................... มม. การประเมนิ ผล ชื่อ ................................................................ วันท ่ี ............................................................. คะแนน ....................................................... ผู้ประเมิน ....................................................

งานวัดละเอยี ดเคร่ืองยนต์ 79 ใบตรวจวัดท่ี จงตรวจวัดระยะหลวมดา้ นขนานและด้านรอบวงตลับลกู ปืน 3 ตลับ ทกี่ ำหนดใหด้ ้วยนาฬกิ าวดั แล้วกรอกผลในตาราง 5.6 ระยะหลวมด้านขนาน ระยะหลวมด้านรอบวง ตรวจด้วย 5 แว่นขยาย ตรวจด้วยนาฬกิ าวัด ขนาดรูในปลอกใน ยอมให้หลวม แนวขนานสงู สุด 30 0.02 30 - 50 0.02 50 - 80 0.025 80 - 120 0.025 120 - 180 0.030 ตลบั ลูกปนื ระยะหลวมดา้ นขนาน (มม.) ระยะหลวมดา้ นรอบวง (มม.) j k l ขอ้ ควรจำ หมนุ ลูกปนื ดว้ ยมอื แลว้ ตรวจสอบระยะหลวมของ ........................................................................... เปล่ียนลูกปืนใหม่ ถา้ ลูกปืนมเี สยี งดงั และมีระยะ ............................................................................... การประเมนิ ผล ชอ่ื ................................................................ วันท่ี ............................................................. คะแนน ....................................................... ผ้ปู ระเมนิ ....................................................

80 งานวัดละเอยี ดเครอ่ื งยนต์ ใบตรวจวดั ท่ี จงตรวจวัดศูนย์และระยะรุนดมุ ลอ้ หนา้ รถยนตท์ ี่กำหนดให้ด้วย นาฬกิ าวดั แลว้ กรอกผลในตารางและตรวจสภาพทั่วไป 5.7 ดุมล้อด้านสัมผสั กบั จานเบรก นาฬกิ าวดั นาฬกิ าวดั จานเบรก สภาพสกรูดมุ ลอ้ ดี/ไมด่ ี ระยะบิดเบีย้ วดุมล้อ มม. ระยะรนุ ดมุ ลอ้ มม. สภาพจานเบรก ดี/ไมด่ ี ระยะบิดเบีย้ วจานเบรก มม. การประเมนิ ผล ชื่อ ................................................................ วันท ี่ ............................................................. คะแนน ....................................................... ผปู้ ระเมนิ ....................................................

งานวดั ละเอียดเคร่อื งยนต์ 81 แบบฝกึ กจิ กรรมท ่ี 5 เรอื่ ง นาฬิกาวดั ตอนที่ 1 จงเตมิ คำในช่องว่างตอ่ ไปนี้ 1. นาฬกิ าวัดเขยี นคำองั กฤษอย่างไร 5 ....................................................................................................................................................................................................... 2. นาฬกิ าวดั ใช้ตรวจศูนยอ์ ะไรบา้ ง จงเขยี นมา 2 งาน ....................................................................................................................................................................................................... 3. นาฬกิ าวดั ใชต้ รวจระยะรนุ อะไรไดบ้ ้าง จงเขียนมา 2 งาน ....................................................................................................................................................................................................... 4. การตรวจศูนย์ลนิ้ ควรใชแ้ ทน่ ตรวจศูนย์ลิ้น ถา้ แท่นตรวจไม่มคี วรทำอย่างไร ....................................................................................................................................................................................................... 5. การตรวจศนู ยล์ น้ิ ด้วยแทน่ ตรวจศูนย์ลิ้น ตรวจอะไรได้บา้ ง ....................................................................................................................................................................................................... 6. นาฬกิ าวัดประกอบด้วยเฟอื งขบั ตา่ ง ๆ 3 เฟือง คือเฟอื งอะไรบา้ ง ....................................................................................................................................................................................................... 7. เฟืองทัง้ 3 ทำหน้าทขี่ ยายระยะเคล่ือนท่ขี องแกนวดั ใหใ้ หญ่ขน้ึ เพื่ออะไร ....................................................................................................................................................................................................... 8. เมื่อแกนวดั เคล่อื นทไ่ี ป 1 มม. เข็มยาวหมุนไป 1 รอบ เขม็ สน้ั หมุนไปเท่าไร ....................................................................................................................................................................................................... 9. หนา้ ปัดใหญน่ าฬิกาวัดแบ่งเสน้ รอบวงทั้งหมดเปน็ กชี่ อ่ ง แต่ละชอ่ งมีคา่ กี่ มม. ....................................................................................................................................................................................................... 10. หนา้ ปดั เล็กแบง่ เสน้ รอบวงทงั้ หมดเปน็ ก่ชี ่อง แต่ละช่องมคี ่าก่ี มม. ....................................................................................................................................................................................................... ตอนที่ 2 จงทำเครือ่ งหมายถูก ( P) ลงหน้าขอ้ ความท่ีถกู ต้องทส่ี ุด 1. นาฬิกาวัดสามารถวดั ไดล้ ะเอยี ดเพยี งไร ข. ได้ละเอียด 1 ใน 100 มม. ง. ไดล้ ะเอียด 1 ใน 10,000 มม. ก. ได้ละเอยี ด 1 ใน 10 มม. ค. ได้ละเอยี ด 1 ใน 1,000 มม.

82 งานวดั ละเอยี ดเครอื่ งยนต์ 7. ผลกระทบนาฬกิ าวดั ตกจากที่สูงคอื อะไร ก. เขม็ สนั้ หัก 2. เขม็ ยาวหมนุ ไป 5 รอบ เข็มสน้ั หมนุ ไปเทา่ ใด ข. เข็มยาวคด ก. หมุนไป 3 ชอ่ ง ข. หมนุ ไป 5 ชอ่ ง ค. กลไกการทำงาน ค. หมนุ ไป 7 ช่อง ง. หมุนไป 10 ช่อง ง. กระจกหน้าปัดแตก 3. หน้าปัดใหญ่ 10 ขดี มคี า่ เทา่ กับเท่าไร 8. การตรวจสอบศูนยเ์ พลาตอ้ งปรับ 0 นาฬกิ าวัด ก. มคี ่า 0.001 มม. ข. มคี า่ 0.01 มม. หรือไม่ ค. มีค่า 0.015 มม. ง. มีคา่ 0.10 มม. ก. ตอ้ งปรบั ทกุ คร้งั 4. หนา้ ปัดเล็ก 10 ขีด มีค่าเทา่ กบั เทา่ ไร ข. ต้องปรบั ตามคูม่ ือกำหนด ก. มคี ่า 0.01 มม. ข. มคี ่า 0.10 มม. ค. ตอ้ งปรับตามขนาดเพลา ค. มีค่า 1.00 มม. ง. มคี ่า 10.00 มม. ง. ต้องปรับตามความยาวเพลา 5. ทำไมการใชน้ าฬกิ าวัดในงานชา่ งยนต์ 9. ทำไมผลการวดั เพลาคดต้องหาร 2 ควรใชแ้ ทน่ ยึดแบบแมเ่ หลก็ ก. เพราะผลการวดั เปน็ เส้นรอบวง ก. เพราะมีความแขง็ แรง ข. เพราะผลการวัดเป็นเส้นผ่านศนู ย์กลาง ข. เพราะเคล่อื นทีย่ าก ค. เพราะผลการวดั เป็นแนวดิง่ ค. เพราะสะดวกในการจบั ยึด ง. เพราะผลการวดั เปน็ วงกลม ง. เพราะมีความเที่ยงตรงดี 10. ถ้าระยะ H คอื จดุ ตำ่ สดุ ถึงจดุ สูงสดุ ของลกู เบีย้ ว 6. การตรวจสอบนาฬกิ าวดั กอ่ นใช้งาน ให้หาระยะเยอ้ื งศูนย์เท่ากบั H เปน็ การตรวจอะไร ก. เทา่ กับ H ข. เทา่ กบั H/2 ก. ตรวจสภาพการทำงานภายในนาฬิกา ค. เท่ากบั H/3 ง. เทา่ กบั H/4 ข. ตรวจสภาพการทำงานภายนอกนาฬกิ า ค. ตรวจสภาพการทำงานเข็มยาวนาฬกิ า ง. ตรวจสภาพการทำงานเขม็ สั้นนาฬกิ า ตอนท ่ี 3 จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ใี ห้ไดใ้ จความสมบรู ณ์ 1. จงเขยี นงานซอ่ มเครื่องยนต์ที่ตอ้ งตรวจสอบดว้ ยนาฬิกาวดั มา 5 งาน 2. จงเขยี นการทำงานนาฬกิ าวัดมา 2-3 บรรทดั 3. จงเขยี นขอ้ แนะนำการตรวจสอบนาฬิกาวัดก่อนใชง้ านมา 2-3 บรรทดั 4. จงเขยี นกฎการใชน้ าฬกิ าวัดมา 5 ข้อ 5. จงสเกตชภ์ าพนาฬกิ าวัดขนาดวัดละเอยี ด พร้อมแสดงสเกลวดั ละเอียด 0.10 มม. และ 0.10 มม.

6 งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 83 เกจวดั รขู นาดเลก็ สาระการเรยี นรู้ 6.1 เกจวดั รูแบบนาฬกิ าวดั 2 ขา 6.2 เกจวัดรแู บบยดื หด 6.3 เกจวดั รแู บบหัวมน 6.4 เปรียบเทยี บความละเอยี ดเคร่อื งมือวดั ละเอียด ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั 1. ตรวจวัดดว้ ยเกจวัดรแู บบนาฬิกาวดั 2 ขาได้ 2. ตรวจวดั ด้วยเกจวัดรแู บบยืดหดได้ 3. ตรวจวดั ด้วยเกจวดั รูแบบหัวมนได้ 4. เปรียบเทยี บความละเอยี ดเครือ่ งมือวัดละเอยี ดได้ 5. เพือ่ ให้มีกจิ นิสัยในการทำงานด้วยความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย ประณตี รอบคอบและตระหนักถงึ ความปลอดภัย

84 งานวัดละเอียดชา่ งยนต์ 6 เกจวดั รขู นาดเลก็ บทนำ เกจวดั รขู นาดเลก็ (Inside Dial Caliper Gauges) หมายถงึ เกจวดั รชู น้ิ สว่ นเครอ่ื งยนตท์ ไ่ี มเ่ หมาะที ่ จะใช้เวอร์เนียร์หรือไมโครมิเตอรว์ ดั เพราะเปน็ รูขนาดเลก็ ตรวจวัดยาก ตอ้ งการความละเอียดมากดว้ ย ใน ทางปฏบิ ตั บิ างครง้ั ตรวจวัดด้วยความรู้สึกของช่าง เช่น การตรวจระยะห่างหล่อลื่นบุชก้านสูบ จะหล่อลื่น สลักลูกสูบด้วยน้ำมัน เครื่อง แล้วอัดผ่านรูบุชก้านสูบด้วยแรงหัวแม่มือ หากไม่หลวมและสามารถอัดผ่านได้ ถือว่าใช้ได้ปลอดภัย แต่ถ้าต้องการความเที่ยงตรงแท้จริง และยิ่งเป็นงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ หรือผลิต ชิ้นส่วนในงานอตุ สาหกรรมทต่ี ้องตรวจคณุ ภาพ ตอ้ งใช้เกจวดั รขู นาดเล็ก เช่น เกจวัดรูแบบนาฬิกาวัด 2 ขา (Inside Dial Caliper Gauge) หรือเรียกทบั ศัพทว์ า่ คาลเิ ปอรเ์ กจ เกจวดั รแู บบยดื หด (Telescoping Gauge) หรอื เรียกทับศพั ทว์ ่าเทเลสโคปป้งิ เกจ และเกจวัดรูแบบหัวมน (Small Hole Gauge) ความละเอียด 0.01 มม. ยา่ นการวดั 20-35 มม. ความละเอียด 0.01 มม. ยา่ นการวดั 30-62 มม. รูปที่ 6.1 เกจวัดรแู บบนาฬกิ าวัด 2 ขา วดั ได้ละเอยี ด 0.01 มม. (TECLOCK)

งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 85 6.1 เกจวดั รแู บบนาฬกิ าวดั 2 ขา เขม็ วัด กรอบนอก 1. หนา้ ทเ่ี กจวดั รแู บบนาฬกิ าวดั เกจวดั รแู บบนาฬกิ าวัด (Inside Dial Caliper Gauge) ประกอบด้วยนาฬิกาวดั ใช้วัดเส้นผ่านศูนย ์ ขาวดั กลางภายในทม่ี ขี นาดเล็ก ๆ เช่น รูกระเดือ่ งกดล้ิน หรอื รูสลักลกู สบู ปุ่มปรบั สเกล สเกลวัด 6 2. ลำดบั การใชเ้ กจวัดรูแบบนาฬกิ าวดั รูปท่ี 6.2 เกจแบบนาฬกิ าวดั สำหรบั วัดใน 1) ทำความสะอาดรูให้สะอาดและแห้ง ตั้งที ่ 8.50 มม. 2) วดั ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางภายในของชน้ิ งาน ด้วยเวอรเ์ นยี ร์สมมติว่ามีค่าเท่ากับ 8.40 มม. หมุนกรอบนอก จากนนั้ ปรบั ตง้ั ไมโครมเิ ตอรใ์ หเ้ ทา่ กับ หรือ ใหเ้ ขม็ ช้เี ลข “0” ใกล้เคียงกับค่าที่วัดได้จากเวอร์เนียร์ที่อ่าน งา่ ย เชน่ 8.50 มม. รปู ท่ี 6.3 ต้งั สเกลเกจแบบนาฬิกาวัด 3) กดปุ่มปรับสเกลแล้ว สอดขาวัดทั้ง 2 ข้าง ลงระหว่างแกนวัดและแกนรับของไมโคร- ร่องกวา้ ง มเิ ตอร ์ คลายปมุ่ ปรบั สเกลอยา่ งชา้ ๆ ขยบั ขา ลึกสดุ ทเ่ี คลอ่ื นไดข้ องเกจเบา ๆ ตำแหนง่ ตา่ ง ๆ จน กระทง่ั พบจดุ ซง่ึ เขม็ วดั ชแ้ี สดงคา่ ทน่ี อ้ ยทส่ี ดุ ชว่ งลึกขาเกจ จากนั้นหมุนกรอบนอกให้เลข “0” เลื่อน รูปที่ 6.4 วดั รูบชุ ด้วยเกจแบบนาฬกิ าวัด ตรงกับเข็มวดั ท่ีตำแหนง่ ดังกลา่ ว ตำแหนง่ เลข “0” ท่ีตง้ั ไวค้ อื 8.50 มม. 4) กดปมุ่ ปรบั สเกลวัดอย่างช้า ๆ สอดขาวดั เข้า ภายในชิ้นงาน และปลอ่ ยปมุ่ ปรบั สเกลกลบั จากนน้ั ขยบั ขาทเ่ี คลอ่ื นทไ่ี ดไ้ ปจนกระทง่ั พบ จุดซง่ึ เกจวัดคา่ ไดน้ อ้ ยที่สดุ จากนั้นให้อ่าน คา่ ถา้ อา่ นคา่ ไดน้ อ้ ยกวา่ 0.07 มม. หมายความ วา่ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางภายในของชน้ิ งานมคี า่ น้อยกว่าค่าที่ปรับตั้งไว้ที่เกจ 8.50 มม. อยู ่ 0.07 มม. ดังนั้น เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ของงานจึงเท่ากับ 8.50 มม. - 0.07 มม. = 8.43 มม.

86 งานวดั ละเอียดชา่ งยนต์ 6.2 เกจวดั รแู บบยดื หด แกนวัด 1. หนา้ ทเ่ี กจวดั รแู บบยดื หด (Telescoping Gauge) ดา้ มถือ รูปท่ี 6.5 เกจวัดรูแบบยดื หด ปกติ 1 ชุดมี 6 ตัว เกจวดั รแู บบยดื หดใชว้ ดั หาขนาดของรหู รอื รอ่ ง ขนาดเลก็ เชน่ รแู บรง่ิ กา้ นสบู ถงึ รกู ระบอกสบู เครอ่ื งยนต ์ รูปที่ 6.6 วดั รูด้วยเกจแบบยดื หด ชุดหนึ่งมี 6 ตัว มีย่านการวัดจาก 8.0 - 150 มม. หรือ 5/16 - 6 นว้ิ รปู รา่ งเหมอื นตวั T ประกอบดว้ ยแกนยดื หด รูปท่ี 6.7 ถ่ายขนาดด้วยไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอก (ดว้ ยสปรงิ ) ดา้ มถอื และตวั ยดึ แนน่ (Locking Screw) ซง่ึ อยู่ที่ปลายด้ามถือ 2. การทำงานเกจวัดรูแบบยดื หด เกจแบบนป้ี ระกอบดว้ ยดา้ มถอื สำหรบั สอดแทง่ แกนยดื หดทง้ั สองขา้ ง สวมอยกู่ บั ดา้ มถอื สำหรบั ใชม้ อื จบั หรือใช้ปรับให้แกนยืดหด หดหรือขยายได้ด้วยสปริง ภายใน ซง่ึ ใช้เกลยี วเป็นตวั ปรบั ให้หดและขยาย พรอ้ มยึด ให้อยู่กับที่ไดเ้ ม่อื ตอ้ งการ จากน้นั จึงนำออกมาเพื่ออ่าน เปรยี บเทยี บค่ากบั เวอรเ์ นยี ร์หรอื ไมโครมเิ ตอรต์ อ่ ไป 3. กฎการใช้เกจแบบยดื หดวดั ขนาดรูทรงกระบอก 1) วัดขนาดของรูแบร่ิงก้านสูบด้วยเวอร์เนยี ร ์ เพอ่ื เลอื กขนาดของเกจแบบยืดหด 2) ทำความสะอาดเกจและรูแบรงิ่ 3) กดก้านวัดให้มีขนาดเล็กกว่ารูเล็กน้อย แล้ว หมุนแนน่ ใหอ้ ยคู่ งที่ 4) สอดเข้าในรู โดยเอียงด้ามถือเล็กน้อย แล้ว ปล่อยใหก้ า้ นวัดยืดออก 5) ใชน้ วิ้ แตะขาของกา้ นวัดดา้ นซ้ายท่ีสมั ผัสขอบรู แบริง่ ใหเ้ ขา้ รูแบร่ิง 6) กดดา้ มเกจให้วัดเส้นผ่านศนู ยก์ ลางรแู บร่งิ ขณะ ที่ขาก้านวัดด้านขวาก็เคลื่อนไปพร้อมกับขาวัด ด้านซ้าย 7) หมนุ แน่นให้ก้านวัดอยู่ในตำแหนง่ ท่วี ัด 8) ตรวจสอบการวดั อกี ครง้ั ดว้ ยความรสู้ กึ ในการวดั 9) ถา่ ยขนาดท่วี ัดได้ด้วยไมโครมิเตอรว์ ดั นอก ดว้ ย ความรู้สกึ ทีเ่ ท่ากนั กับการวดั รูแบร่งิ กา้ นสูบ

งานวัดละเอียดช่างยนต์ 87 6.3 เกจวดั รแู บบหวั มน 1. หน้าที่เกจวดั รูแบบหัวมน เกจวดั รูแบบหัวมนทำเปน็ ชดุ ชดุ หน่ึงม ี 4 ตัว ย่านการวัดเริม่ จากขนาดประมาณ 3.2-12.5 มม. หรอื 1/8-1/2 น้ิว ใชว้ ดั ร ู วัดรอ่ ง หรอื วดั ซอกรเู ล็กรนู อ้ ย ที่เล็กจนไมส่ ะดวกในการใช้เครือ่ งมอื วดั ละเอียดอย่างอืน่ เช่น เวอร์เนียร์ หรือนาฬิกาวดั 2 ขา และเกจวัดรูแบบยืดหด 2. การทำงานเกจวดั รูแบบหวั มน หวั หมนุ กระทบ ใชว้ ดั รอ่ งหรอื รูต้นื ๆ เมอื่ หมนุ ทป่ี ลายดา้ มเกจ ก้านเรยี วจะถกู ดงึ ขึ้น ทำใหข้ นาดของหวั วัดถ่างออกจน สัมผสั ผิวงานของร่องหรอื รู 6 3. ลำดับการใช้เกจวัดแบบหัวมน ด้าม การใชเ้ กจวดั รแู บบหวั มน ต้องระวังอยา่ งมากใน การวดั เพราะจะวัดได้คา่ ท่ีผิดพลาดไดง้ ่าย 1) วดั รกู ่อนดว้ ยบรรทัดหรอื เวอรเ์ นยี ร์ 2) เลือกขนาดของเกจวัดรแู บบหวั มน 3) ทำความสะอาดเกจและรูทจี่ ะวัด 4) ปรบั ขนาดของเกจวัดรูใหเ้ ล็กกวา่ ขนาดของรู แลว้ หัวมน สอดเขา้ วัด 5) ปรบั ขนาดของเกจจนรสู้ กึ สมั ผสั กบั ผวิ ขา้ งของรอ่ ง หรอื รู 6) ขยบั กา้ นวดั และปรบั ทห่ี วั หมนุ กระทบจนรสู้ กึ ปรบั ได้ระยะกวา้ งสดุ ของรู หวั หมุนกระทบ 7) นำเกจออก แลว้ ถา่ ยขนาดกบั ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอก 8) ความรสู้ กึ สมั ผสั ทว่ี ดั งานกบั ความรสู้ กึ สมั ผสั ทว่ี ดั ด้าม ถ่ายขนาดด้วยไมโครมิเตอร์ จะต้องมีความรู้สึก สมั ผสั ทเี่ ท่ากนั แนวสึก ขอ้ ควรระวัง ปลอกกา้ นลน้ิ ไมโครมิเตอร์ ปกติรูขนาดเล็กงานช่างยนต์ ไม่ค่อยได้ตรวจวัด เพราะอันตรายน้อยกว่ารูขนาดใหญ่ เช่น รูแบริ่ง เพลาข้อเหวี่ยงและรูกระบอกสูบ 4. กฎการใชแ้ ละการบำรุงรกั ษาเกจวดั รู 1) วางบนผ้าหรือแผ่นยาง 2) อย่าใช้วดั งานทีผ่ วิ หยาบ 3) ขณะวดั รตู อ้ งอาศยั ความรสู้ กึ พรอ้ มหมนุ หวั กระทบ 4) เก็บแยกจากเคร่อื งมอื อนื่ 5) ทำความสะอาดแลว้ ใสช่ ่องในกลอ่ ง

88 งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 6.4 เปรยี บเทยี บความละเอยี ดเครอ่ื งมอื วดั ละเอยี ด เครอ่ื งมือ ลกั ษณะการวัด ย่านการวดั คลาดเคลื่อนได้ ความละเอียด วดั ละเอียด (มม.) (มม.) (มม.) ไมโครมเิ ตอร์ 25 0.004 0.01 วดั นอก (สงู สุด 500) (0.013) ไมโครมเิ ตอร์ 25 0.01 0.01 วัดลกึ (สูงสุด 150) ไมโครมิเตอร์ 25 0.004 0.01 วดั ในแบบ (สูงสดุ 500) (0.013) แทง่ ตรง 5 ถงึ 55 0.004 0.01 ไมโครมเิ ตอร์ วดั ภายใน 5 0.004 0.01 แบบเขยี้ ววดั (สงู สดุ 300) 0.009 ไมโครมเิ ตอร์ 10 0.017 0.01 วัดในแบบ 2 จุด (สูงสุด 100) นาฬกิ าวัดพรอ้ ม ขาและแท่นยดึ

เคร่อื งมือ ลกั ษณะการวดั งานวดั ละเอียดช่างยนต์ 89 วัดละเอียด ยา่ นการวดั คลาดเคลอื่ นได้ ความละเอียด (มม.) (มม.) (มม.) นาฬกิ าวัด 10 0.017 0.01 กบั แท่นยึด (สงู สดุ 700) 6 1000 0.05 เวอรเ์ นยี ร์ 300 0.05 อเนกประสงค์ (สงู สดุ 1000) 300 0.05 เวอรเ์ นยี ร์ 600 0.05 วัดลึก

90 งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ ใบตรวจวัดที่ เนื่องจากการสน้ิ เปลืองนำ้ มนั เคร่อื งอาจเกิดจากรปู ลอกก้านลิ้นหลวม จงทำความสะอาดปลอกกา้ นลน้ิ และตรวจวดั ดว้ ยเกจวัดรูแบบ 6.1 นาฬิกาวดั 2 ขา แลว้ กรอกผลเฉล่ยี ในตาราง B อากาศ A น้ำมันเครอ่ื ง นำ้ มันเคร่ือง j ไหลลงเอง กระเดน็ เขา้ k l แตกตัว สุญญากาศ ไอเสยี ห้องเผาไหม้ สูบที่ 1 2 3 4 ปลอกกา้ นลิ้น ไอดี ไอเสยี ไอดี ไอเสยี ไอดี ไอเสยี ไอดี ไอเสีย j มม. k มม. l มม. สภาพ ดี/ไมด่ ี การประเมนิ ผล ชื่อ ................................................................ วนั ท ี่ ............................................................. คะแนน ....................................................... ผ้ปู ระเมนิ ....................................................

งานวดั ละเอียดชา่ งยนต์ 91 ใบตรวจวัดท่ี จงทำความสะอาดแลว้ ตรวจวัดรกู ระบอกสูบเคร่ืองยนต ์ 4 สบู ที่กำหนดให้ดว้ ยเกจวัดรแู บบยดื หด แล้วกรอกผลในตาราง 6.2 6 เกจวดั รแู บบยดื หด กระบอกสูบที่ 1 2 3 4 การตรวจวัด AB AB AB AB j มม. k มม. l มม. สภาพ ด/ี ไม่ดี การประเมนิ ผล ชื่อ ................................................................ วนั ที่ ............................................................. คะแนน ....................................................... ผู้ประเมิน ....................................................

92 งานวัดละเอียดช่างยนต์ ใบตรวจวัดที่ จงทำความสะอาดแลว้ ตรวจวดั รูปลอกก้านลิน้ ทฝ่ี าสูบเคร่อื งยนต์ 4 สบู ด้วยเกจวดั รขู นาดเล็กแบบหวั มน แล้วกรอกผลการวดั เฉล่ียในตาราง 6.3 B เกจวดั รูแบบหัวมน A 10 มม. ปลอกก้านลิน้ j k l สูบที่ 1 2 3 4 ปลอกก้านลิ้น ไอดี ไอเสีย ไอดี ไอเสีย ไอดี ไอเสยี ไอดี ไอเสีย j มม. k มม. l มม. สภาพ ด/ี ไม่ดี การประเมินผล ชือ่ ................................................................ วันท ี่ ............................................................. คะแนน ....................................................... ผู้ประเมนิ ....................................................