โครงงานกล้วยฉาบ บรรณานุกรม

โครงการ กลว้ ยฉาบธญั พชื
นกั ศึกษาระดับชน้ั ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 2

นางสาวสุภสั รา จดั ทาโดย
นางสาวจุรรี ัตน์ ใจกล้า รหสั นกั ศกึ ษา 63302010014
พวงจันทร์ รหสั นกั ศึกษา 63302010016

เสนอ

อาจารยน์ พิ ร จทุ ยั รตั น์

รายงานนี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของการศึกษา รายวิชา โครงการ
สาขาวชิ า การบญั ชี ประเภทวิชา บรหิ ารธุรกิจ

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี

โครงการ กลว้ ยฉาบธญั พชื
นกั ศึกษาระดับชน้ั ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชน้ั ปีท่ี 2

นางสาวสุภสั รา จดั ทาโดย
นางสาวจุรรี ัตน์ ใจกล้า รหสั นกั ศึกษา 63302010014
พวงจันทร์ รหสั นกั ศกึ ษา 63302010016

เสนอ

อาจารยน์ พิ ร จทุ ยั รตั น์

รายงานนี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของการศึกษา รายวิชา โครงการ
สาขาวชิ า การบญั ชี ประเภทวิชา บรหิ ารธุรกิจ

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี

ใบรบั รองโครงการ
นักศกึ ษาระดับช้ันประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสงู (ปวส.) ช้ันปีที่ 2

วิทยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี

โครงการ
กล้วยฉาบธญั พชื
นักศกึ ษาระดบั ชน้ั ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชน้ั สูง (ปวส.) ชัน้ ปีที่ 2

โดย

นางสาวสุภสั รา ใจกล้า รหัสนกั ศกึ ษา 63302010014

นางสาวจุรีรตั น์ พวงจันทร์ รหัสนกั ศึกษา 63302010016

นักศึกษาระดับชัน้ ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสงู (ปวส.) ชนั้ ปีที่ 2

สาขาวชิ าการบญั ชี

พิจารณาเห็นชอบโดย

.............................................................
(นางนพิ ร จทุ ัยรัตน์)
อาจารย์ที่ปรกึ ษาโครงการ

แผนกวิชาบญั ชี คณะบริหารธุรกจิ

ชือ่ ผลงาน โครงการกลว้ ยฉาบธัญพชื
ชือ่ นักศกึ ษา นางสาวสุภัสรา ใจกลา้
นางสาวจุรีรัตน์ พวงจันทร์
สาขาวิชา การบญั ชี
ประเภทวชิ า บรหิ ารธุรกิจ
ปีการศกึ ษา 2564
สถานศึกษา วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรี

บทคดั ยอ่

การดาเนนิ โครงการ กลว้ ยฉาบธญั พืช วตั ถปุ ระสงค์การศึกษา 1. เพื่อพัฒนาผลติ ภัณฑ์กล้วยฉาบ
ธญั พืช 2. เพื่อเพ่มิ มูลคา่ ผลิตภัณฑ์และบรรจุภณั ฑ์ 3. เพือ่ ศกึ ษาความพึงพอใจของกลมุ่ เปา้ หมายที่มีต่อ
ผลิตภัณฑ์กลว้ ยฉาบธัญพชื และบรรจภุ ัณฑ์ กลมุ่ เป้าหมายที่ใชใ้ นการศกึ ษาคร้งั นี้ไดแ้ ก่ นกั เรียน/นกั ศึกษา
ขา้ ราชการ/รฐั วสิ าหกิจ พนักงานบริษทั รบั จ้างท่ัวไป และอาชพี อื่น ๆ จานวน 30 คน ในชุมชนหนองรี
ซอยเขาดิน ตาบลหนองรี อาเภอเมือง จังหวดั ชลบุรี 20000 ซ่ึงไดม้ าจากการเลอื กแบบบังเอิญ
(Accidental sampling) เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวจิ ัย ไดแ้ ก่ แบบสอบถามโดยแบง่ แบบสอบถามออกเป็น 3
ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ข้อมูลแบบสอบถามเพือ่ ศกึ ษาความ
พึงพอใจตอ่ ผลิตภัณฑห์ ญ้ากล้วยฉาบธญั พืช แบง่ เปน็ 3 ด้าน คือ ด้านคุณภาพผลิตภณั ฑ์ ดา้ นคุณภาพ
บรรจุภัณฑ์ และดา้ นส่งเสรมิ การจดั จาหน่าย ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะและความคดิ เหน็ ประกอบดว้ ย 3
ด้าน คอื ด้านคณุ ภาพผลิตภัณฑ์ ด้านคณุ ภาพบรรจุภณั ฑ์ และด้านสง่ เสรมิ การจัดจาหน่าย สถติ ิท่ใี ช้ใน
การวจิ ัย คอื ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลยี่ เลขคณติ (Arithmetic Mean) และสว่ นเบีย่ งเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation S.D.)

ผลการดาเนนิ งานโครงการ
ด้านคณุ ภาพผลติ ภัณฑ์ โดยรวมมีความคิดพงึ พอใจในระดบั มากท่ีสุด มีคา่ เฉลยี่ 4.88 และเม่ือ
พิจารณาเป็นรายขอ้ แล้ว รูปลกั ษณ์ผลติ ภณั ฑ์มีความนา่ สนใจมีความพงึ พอใจในระดบั มาก มีคา่ เฉล่ีย 3.96
รองลงมาคือสว่ นผสมของผลิตภัณฑ์มคี วามหลากหลายมคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก ผลิตภณั ฑ์งา่ ยตอ่ การ

รับประทานมีความพงึ พอใจในระดับมาก คณุ ภาพของผลิตภัณฑโ์ ดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก และ
รสชาติ สีสนั กลนิ่ ของผลิตภัณฑ์มีความพึงพอใจในระดบั มาก

ด้านคณุ ภาพบรรจภุ ัณฑ์ โดยรวมมคี วามพงึ พอใจในระดบั มากท่สี ุด มีคา่ เฉลี่ย 4.93 และเมือ่
พจิ ารณาเปน็ รายข้อแล้ว บรรจุภัณฑม์ ีน้าหนกั เบาและขนาดทเ่ี หมาะสม มคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก
มคี ่าเฉล่ยี 4.13 รองลงมาคือบรรจุภณั ฑ์สามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั ผลติ ภณั ฑป์ ระเภทขนมที่มีลักษณะ
เดียวกันได้ มีความพึงพอใจในระดับมาก บรรจภุ ณั ฑ์มคี วามเหมาะสมกับสินคา้ มีความพึงพอใจในระดับ
มาก บรรจุภณั ฑ์พกพาสะดวกและเปิดใชง้ านงา่ ย มีความพงึ พอใจในระดับมาก และเก็บรักษาผลติ ภัณฑไ์ ด้
สะดวกในกรณีทีย่ ังรับประทานไม่หมด มคี วามพึงพอใจในระดับมาก

ด้านส่งเสริมการจัดจาหน่าย โดยรวมมคี วามพงึ พอใจในระดับมากที่สดุ มีค่าเฉล่ีย 4.86 และเมือ่
พิจารณาเป็นรายข้อแล้ว ผลติ ภัณฑม์ รี าคาเหมาะสม มคี วามพึงพอใจในระดับมาก มีคา่ เฉล่ยี 4.07
รองลงมาคือมีเอกลกั ษณ์ที่สามารถจดจาได้ง่าย มคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก ปรมิ าณของผลิตภัณฑ์
เหมาะสมกบั ราคา มคี วามพึงพอใจในระดับมาก มีความหลากหลายของราคาให้เลือก มีความพงึ พอใจใน
ระดบั มาก และมผี ลิตภณั ฑ์ให้ทดลองชิม มีความพึงพอใจในระดบั มาก

คาสาคัญ กล้วยหอม กล้วยฉาบ ธญั พืช

กิตตกิ รรมประกาศ

การศึกษาโครงการเร่ือง “กล้วยฉาบธัญพืช” ในคร้ังนี้ สามารถสาเร็จลุล่วงอย่างสมบูรณ์ด้วย
ความเมตตา จากอาจารยน์ ิพร จทุ ัยรัตน์ ท่ีปรึกษาโครงการท่ีใหค้ าปรึกษาแนะนาแนวทางที่ถูกต้อง และ
เอาใจใส่ด้วยดีตลอดระยะเวลาในการทาโครงการ ผู้จัดทาโครงการรู้สึกซาบซ้ึงเป็นอย่างย่ิง จึงขอกราบ
ขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งสงู มา ณ โอกาสน้ี

ขอขอบคณุ พระคณุ บิดา มารดา และเพ่ือนๆ ทกุ คนทไ่ี ด้ให้คาปรึกษาแนะนาช่วยเหลือสนบั สนุน
ผู้จัดทาโครงการมาตลอด โครงการจะสาเรจ็ ลุล่วงไม่ได้ หากไมม่ ีบุคคลดังกลา่ วในการจดั ทาโครงการ

คุณค่าและประโยชน์ของโครงการนี้ ผู้จัดทาขอมอบเป็นกตัญญูกตเวทิตาแด่บุพการี บูรพา-
อาจารย์และผมู้ ีพระคุณทกุ ทา่ นทั้งในอดตี และปัจจบุ ัน ท่ีได้อบรม ส่งั สอน ช้ีแนะแนวทางในการศึกษา จน
ทาให้ผ้จู ัดทาประสบความสาเรจ็ มาจนตราบทกุ วันน้ี

สภุ ัสรา ใจกล้า
จุรีรัตน์ พวงจันทร์

สารบญั ช

ใบรบั รองโครงการ หน้า
บทคัดย่อ
กิตตกิ รรมประกาศ ค
สารบัญ ง
สารบญั ตาราง ฉ
สารบัญภาพ ช
บทที่ 1 บทนา ฌ

1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1
2. วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษา 1
3. ขอบเขตของการศึกษา 1
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั 1
5. นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 2
บทที่ 2 เอกสาร ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้อง 2
1. จุดประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคาอธิบายรายวชิ า 4
2. แนวคิดการวิเคราะห์การตลาดแบบการจดั องคก์ รอุตสาหกรรม 4
3. แนวคิดเกยี่ วกบั การขอรับรองมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน 5
4. ทฤษฎกี ลยุทธก์ ารตลาด (4Ps) และ (8Ps),กลยทุ ธต์ ลาดออนไลน์ 7
5. การบริโภคและทฤษฎีพฤติกรรมผบู้ ริโภค 17
6. แนวคิดการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 24
7. ทฤษฎกี ลไกราคา 28
8. แนวความคิดของหลักการบัญชีตน้ ทนุ 33
9. งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง 35
36

สารบญั (ตอ่ ) ซ

บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ การศกึ ษา หน้า
1. ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง 38
2. เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้ในการศกึ ษา 38
3. ขน้ั ตอนในการสรา้ งเครือ่ งมอื 38
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 39
5. การวิเคราะห์ขอ้ มลู และสถติ ิทีใ่ ช้ในการศึกษา 40
40
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 41
1. ผลการดาเนนิ งานโครงการ/ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 41
2. การนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 41
52
บทท่ี 5 สรุปผลการดาเนินโครงการและข้อเสนอแนะ 52
1. สรปุ ผลการศึกษา 54
2. การอภิปรายผล 55
3. ขอ้ เสนอแนะ 56
58
บรรณานุกรม 59
ภาคผนวก 66
70
ภาคผนวก ก แบบขออนมุ ัติโครงการ/แบบเสนอโครงการ 78
ภาคผนวก ข แบบสอบถาม
ภาคผนวก ค เอกสารประกอบ
ประวัติผจู้ ดั ทา

สารบญั ตาราง ฌ

ตารางท่ี 1 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกล่มุ เปา้ หมายจาแนกตามเพศ หน้า
ตารางท่ี 2 แสดงความถีแ่ ละร้อยละของกลุ่มเปา้ หมายจาแนกตามชว่ งอายุ 42
ตารางที่ 3 แสดงความถ่ีและร้อยละของกลมุ่ เป้าหมายจาแนกตามอาชพี 43
ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลย่ี และเบี่ยงเบนมาตรฐานสรุปรายดา้ น 44
ตารางท่ี 5 แสดงค่าเฉลี่ย และเบย่ี งเบนมาตรฐานด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ 45
ตารางที่ 6 แสดงคา่ เฉลย่ี และเบ่ยี งเบนมาตรฐานดา้ นคณุ ภาพบรรจภุ ัณฑ์ 46
ตารางท่ี 7 แสดงค่าเฉลย่ี และเบี่ยงเบนมาตรฐานดา้ นสง่ เสรมิ การจดั จาหนา่ ย 48
50

สารบญั ภาพ หน้า
42
ภาพท่ี 1 แสดงความถี่และร้อยละของกลมุ่ เป้าหมายจาแนกตามเพศ 43
ภาพท่ี 2 แสดงความถแ่ี ละรอ้ ยละของกลมุ่ เป้าหมายจาแนกตามชว่ งอายุ 44
ภาพท่ี 3 แสดงความถี่และร้อยละของกลุ่มเป้าหมายจาแนกตามอาชพี 45
ภาพที่ 4 แสดงค่าเฉล่ยี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานสรุปรายดา้ น 47
ภาพที่ 5 แสดงค่าเฉล่ยี และเบี่ยงเบนมาตรฐานดา้ นคณุ ภาพผลติ ภัณฑ์ 49
ภาพท่ี 6 แสดงค่าเฉลย่ี และเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านคุณภาพบรรจุภัณฑ์ 51
ภาพท่ี 7 แสดงค่าเฉลย่ี และเบ่ียงเบนมาตรฐานดา้ นสง่ เสริมการจัดจาหนา่ ย 71
ภาพท่ี 8 จัดเตรยี มวัตถุดบิ 71
ภาพท่ี 9 นากล้วยมาปอกเปลอื ก แช่นา้ เปล่าทิ้งไว้ 20 นาที เพอ่ื ไม่ใหก้ ล้วยดา 72
ภาพท่ี 10 นากล้วยมาฝานเป็นแผ่น 72
ภาพที่ 11 เตรียมกลว้ ยทฝ่ี านเสรจ็ เพ่อื นาไปทอด 73
ภาพที่ 12 ตั้งน้ามนั ใหร้ ้อน นาใบเตยลงไปเพอ่ื ให้มีกลิ่นหอม 73
ภาพที่ 13 จากน้นั นากลว้ ยลงไปทอดในกระทะ 74
ภาพท่ี 14 นากล้วยที่ทอดข้ึนจากกระทะ นามาพักให้เยน็ 74
ภาพท่ี 15 นานา้ ตาลลงไปในหมอ้ ใส่นา้ เปล่าและนา้ มะนาวนิดเดียวลงไปเพอ่ื ไม่ใหน้ า้ ตาลตกผนกึ 75
ภาพท่ี 16 นาใบเตยใส่ลงไปเพอื่ ใหม้ กี ล่ินหอมและใสเ่ กลอื ลงไปนิดเดียว 75
ภาพท่ี 17 นาคาราเมลลงจากเตาและนาเนยมาผสมให้เข้ากัน 76
ภาพที่ 18 นาคาราเมลมาคลุกกับกลว้ ยทที่ อดไว้ 76
ภาพที่ 19 นาธัญพืชมาโรยบนแผน่ กล้วยที่คลุกกับคาราเมลไว้ 77
ภาพที่ 20 นามาใส่บรรจภุ ัณฑ์ แลว้ นาไปวางขาย

1

บทท่ี 1

บทนำ

ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ

ในแต่ละปีกลว้ ยมผี ลผลิตเป็นจำนวนมำกเกษตรกรจงึ ตอ้ งหำวิธีถนอมอำหำรไม่ให้กล้วยเน่ำเสีย
สำมำรถเก็บรกั ษำไดน้ ำนขึน้ โดยมกี ำรนำมำแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑท์ หี่ ลำกหลำย เชน่ กลว้ ยฉำบ ท่มี ี
ลักษณะเปน็ แผ่นบำง ๆ เป็นวธิ ีท่ีสำมำรถทำได้งำ่ ยไม่ยงุ่ ยำก กลว้ ยฉำบยังเป็นสินคำ้ โอทอปของหลำย ๆ
จงั หวัด ทีเ่ หน็ กันน้ันจะเป็นในรปู แบบท่นี ำมำเคลือบหรือคลุกน้ำตำลเป็นส่วนมำก

จงึ ไดแ้ นวคดิ กำรนำกลว้ ยฉำบมำพฒั นำ โดยกำรเปล่ียนจำกกำรใช้กล้วยน้ำว้ำเป็นกล้วยหอม และ
เพ่มิ วัตถดุ ิบลงไปจะเป็นกำรเพ่มิ คณุ คำ่ ใหแ้ กก่ ล้วยฉำบมำกขน้ึ โดยนำกล้วยทที่ อดเสร็จมำผสมกบั
คำรำเมลแลว้ โรยด้วยธญั พืช ธัญพืชนั้นจะประกอบไปดว้ ย เมลด็ ฝกั ทอง มีคุณค่ำทำงสำรอำหำรอุดมดว้ ย
วิตำมนิ และแร่ธำตุ เมล็ดทำนตะวนั ประกอบไปด้วยวติ ำมนิ และสำรอำหำรท่ีมีคณุ คำ่ หลำยชนดิ เช่น
วิตำมินอี วติ ำมนิ บี 3 เม็ดมะมว่ งหมิ พำนต์ ช่วยลดควำมเสย่ี งของกำรเกดิ โรคหัวใจและหลอดเลอื ด ผลไม้
อบแห้ง มีสำรอำหำรคงเดิม มีแคลเซยี มท่ีชว่ ยบำรุงกระดูกและฟนั กำรทีเ่ พม่ิ ธญั พชื ลงไปนน้ั ยังเพม่ิ
ประโยชน์ รสชำติ รสสัมผัสใหม่ให้ต่ำงจำกกล้วยฉำบแบบเก่ำ แถมยงั สำมำรถเพิม่ รำคำ ทำให้ผลิตภัณฑ์
น่ำรบั ประทำนมำกขน้ึ อีกดว้ ย

ดังน้ันคณะผู้จดั ทำโครงกำรจงึ พัฒนำผลิตภัณฑ์กล้วยฉำบใหม้ ปี ระโยชน์ คุณภำพ คุณค่ำ และ
ควำมน่ำรบั ประทำน โดยกำรเพ่ิมวัตถุดิบเข้ำไปคอื ธัญพืช จึงได้มำเป็น “กล้วยฉำบธัญพืช”

วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงกำร

1. เพอื่ พัฒนำผลิตภณั ฑก์ ล้วยฉำบธญั พชื
2. เพื่อเพ่ิมมลู ค่ำผลติ ภัณฑแ์ ละบรรจุภัณฑ์
3. เพื่อศึกษำควำมพึงพอใจของกลมุ่ เปำ้ หมำยท่ีมีต่อผลิตภัณฑก์ ล้วยฉำบธัญพชื และบรรจภุ ัณฑ์

ขอบเขตของกำรศกึ ษำ

1. ขอบเขตด้ำนเนอ้ื หำ ศกึ ษำทำงดำ้ นผลิตภณั ฑ์กลว้ ยฉำบธญั พืช โดยกำรนำกลว้ ยหอมมำใช้
แทนกลว้ ยน้ำว้ำ เสรมิ สว่ นประกอบเพ่อื ให้เกดิ รสชำติ และเพมิ่ ประโยชน์มำกขนึ้ ซึง่ สว่ นประกอบทีน่ ำมำ
เสรมิ นน้ั มีดงั น้ี เมลด็ ฝกั ทอง เมลด็ ทำนตะวนั เมด็ มะม่วงหิมพำนต์ ลูกเกด และผลไม้อบแห้ง

2

2. ดำ้ นกลุ่มเป้ำหมำย บคุ คลทัว่ ไปในชุมชนหนองรี ซอยเขำดิน ตำบลหนองรี อำเภอเมอื ง
จังหวดั ชลบรุ ี 20000 จำนวน 30 คน

3. ขอบเขตด้ำนเวลำและสถำนท่ี
3.1 ดำ้ นเวลำ ต้งั แต่วันที่ 1 มถิ นุ ำยน 2564 – 1 ตลุ ำคม 2564
3.2 ด้ำนสถำนท่ี ชมุ ชนหนองรี ซอยเขำดิน อำเภอเมอื ง จังหวดั ชลบรุ ี 20000

ประโยชน์ท่ีคำดวำ่ จะได้รบั

1. ไดผ้ ลิตภัณฑก์ ลว้ ยฉำบธัญพชื
2. ไดเ้ พมิ่ มูลคำ่ บรรจุภัณฑ์
3. ไดท้ รำบควำมพึงพอใจของกลมุ่ เปำ้ หมำยที่มีต่อผลิตภัณฑ์กล้วยฉำบธญั พืชและบรรจุภัณฑ์

นิยำมศัพทเ์ ฉพำะ

1. กลว้ ยหอม กลว้ ยหอมอดุ มไปด้วยแร่ธำตแุ ละสำรอำหำรต่ำงๆ ทีร่ ่ำงกำยควรไดร้ ับ และให้
พลงั งำนมำกถึง 100 กิโลแคลอรีตอ่ หนว่ ย เพรำะในกล้วยหอมมีน้ำตำลอยู่ 3 ชนดิ ได้แก่ ซโู ครส ฟรกุ โตส
และกลูโคส รวมทั้งเส้นใยอำหำร รำ่ งกำยเรำจะไดร้ ับพลังงำน และนำไปใช้ไดท้ นั ที

2. ธญั พืช คำท่เี อำไวเ้ รียกพชื ท่ีมีลักษณะเปน็ เมล็ดและอุดมุ ไปด้วยสำรอำหำรท่ีมีประโยชน์
อย่ำงเส้นใย วติ ำมนิ และไขมนั ดที มี่ ปี ระโยชน์ต่อร่ำงกำยคน ซึง่ ประโยชน์ของธญั พชื หลกั คือ ช่วยลดควำม
เสี่ยงของโรคหัวใจและไขมันในเส้นเลอื ด คมุ น้ำหนกั หำกทำนในปรมิ ำณท่พี อเหมำะ เพม่ิ ภูมิต้ำนทำนโรค

3. เมลด็ ฟกั ทอง เนือ้ ฟักทองที่มำกคุณค่ำ สำมำรถนำมำประกอบอำหำรทั้งคำวและหวำน เมล็ด
ฟักทองยังนยิ มรับประทำนเปน็ อำหำรว่ำง หรอื จะนำมำสกัดเป็นน้ำมันจำกเมล็ดฟกั ทองก็ได้ ด้ำนคุณคำ่
ทำงสำรอำหำรนน้ั อุดมดว้ ยวิตำมนิ และแรธ่ ำตตุ ่ำง ๆ มำกมำย เช่น วิตำมนิ เอ วติ ำมนิ บี3 โปรตีน
แคลเซยี ม ธำตเุ หลก็ สังกะสี เสน้ ใยอำหำร และมคี อเลสเตอรอลเป็นศูนย์

4. เมลด็ ทำนตะวนั ประกอบไปดว้ ยวติ ำมินและสำรอำหำรท่มี ีคุณคำ่ หลำยชนดิ เช่น มที องแดง
แมงกำนสี และซีลีเนียมในปริมำณมำก มวี ติ ำมินอี วิตำมินบี 3 วิตำมนิ บี 5 วิตำมนิ บี 6 กรดโฟลกิ ธำตุ
เหล็ก ใยอำหำร และโปรตีน เมล็ดทำนตะวันยังมีไขมันสูงดว้ ย แต่สว่ นใหญ่กเ็ ปน็ ไขมันชนดิ ไม่อ่ิมตวั คำด
ว่ำกำรรับประทำนไขมันชนิดนี้ในปรมิ ำณท่พี อดี และรบั ประทำนทดแทนอำหำรท่มี ไี ขมนั อม่ิ ตัวหรือ
ไขมันทรำนสส์ ูง

3

5. บรรจภุ ัณฑ์ ใชเ้ พอ่ื กำรบรรจุสินค้ำโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมยั และทำให้เกดิ ควำมเสยี หำยกับ
ส่งิ แวดล้อม และบรรจภุ ัณฑน์ ้นั จะตอ้ งปกปอ้ งตวั สนิ คำ้ ใหอ้ ยู่ในสภำพทดี่ ีจำกแหล่งผลิตจนถึงมือลกู ค้ำโดย
ไม่ใหไ้ ด้รับควำมเสยี หำย ทั้งนบ้ี รรจภุ ัณฑน์ ้ัน ๆ จะตอ้ งมีตน้ ทุนของกำรผลิตทไี่ มส่ ูงจนเกินไป

4

บทที่ 2

เอกสาร ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง

การดาเนนิ การโครงการ กลว้ ยฉาบธญั พชื ณ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี และชมุ ชนหนองรี
วนั ท่ี 1 มถิ นุ ายน 2564 ถงึ วันที่ 1 ตุลาคม 2564 ผู้ดาเนนิ โครงการไดร้ วบรวมเอกสาร ทฤษฎี
และงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้องมหี ัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี

1. จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคาอธบิ ายรายวชิ า
2. แนวคิดการวิเคราะห์การตลาดแบบการจัดองค์กรอุตสาหกรรม
3. แนวคดิ เกี่ยวกับการขอรบั รองมาตรฐานผลติ ภัณฑช์ มุ ชน
4. ทฤษฎกี ลยุทธก์ ารตลาด (4Ps) และ (8Ps),กลยทุ ธต์ ลาดออนไลน์
5. การบรโิ ภคและทฤษฎีพฤตกิ รรมผู้บริโภค (Buyer Behavior’s Model)
6. แนวคดิ การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์
7. ทฤษฎกี ลไกราคา
8. แนวความคิดของหลกั การบัญชตี ้นทุน
9. งานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง

1. จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวิชา

1.1 จดุ ประสงค์รายวิชา
1.1.1 เข้าใจหลักการและกระบวนการวางแผนจัดทาโครงการสร้างและหรอื พัฒนา
1.1.2 ประมวลความร้แู ละทักษะในการสรา้ งและหรือพัฒนางานในสาขาวิชาชพี ตาม

กระบวนการวางแผน ดาเนนิ งาน แกป้ ัญหา ประเมินผล ทารายงานและนาเสนอผลงาน
1.1.3 มีเจตคติและกจิ นสิ ยั ในการทางานดว้ ยความรับผิดชอบ มวี นิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม

ความคดิ รเิ ร่ิม สรา้ งสรรค์และสามารถทางานรว่ มกับผอู้ นื่

5

1.2 สมรรถนะรายวิชา
1.2.1 แสดงความรู้เกย่ี วกบั การจัดทาโครงการและการนาเสนอผลงาน
1.2.2 ดาเนินการจดั ทาโครงการ
1.2.3 รายงานผลการปฏิบัติงาน

1.3 คาอธบิ ายรายวิชา
ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิเกีย่ วกบั หลักการจัดทาโครงการ การวางแผน การดาเนินงาน การแก้ไข

ปัญหา การประเมนิ ผล การจัดทารายงานและการนาเสนอผลงาน โดยปฏิบตั ิจดั ทาโครงสรา้ งและหรอื
พฒั นางานท่ใี ชค้ วามรแู้ ละทกั ษะในระดับฝมี อื สอดคลอ้ งกบั สาขาวิชาชีพทีศ่ ึกษา ดาเนนิ การเป็นรายบคุ คล
หรอื กลุ่มตามลักษณะของงานให้แล้วเสร็จในระยะเวลาท่กี าหนด

2. แนวคิดการวิเคราะหก์ ารตลาดแบบการจัดองค์กรอตุ สาหกรรม

การวเิ คราะห์การตลาดทาใหท้ ราบถึงสาเหตุของปัญหาและเห็นแนวทางในการแก้ไขสาหรบั
แนวทางในการวิเคราะหป์ ัญหาการตลาดมหี ลายวิธี ซ่งึ แตล่ ะวธิ ขี อบข่ายที่แตกต่างและมจี ดุ เนน้ แตกตา่ ง
กัน การใหป้ ระโยชนจ์ ากแนวคิดวิเคราะหแ์ บบการจดั องค์กรอุตสาหกรรม หรอื โครงสรา้ งการตลาด ได้
มุ่งเนน้ การวิเคราะห์เฉพาะส่วน Clarkson and Miller (1985) กลา่ วว่าการจดั องคก์ รอตุ สาหกรรมเป็น
แนวความคดิ ของ Bain (1996) การวเิ คราะหด์ งั กล่าวมีพื้นฐานทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ และความหมาย
ในการศึกษาเชงิ ประจกั ษ์ดา้ นสถาบันด้วย

การวิเคราะห์การจัดองคก์ รอตุ สาหกรรมหรือการวเิ คราะห์โครงสร้างการตลาดได้อาศัย
ความสัมพันธเ์ ชงิ เหตุและผลขององคป์ ระกอบอุตสาหกรรม 3 สว่ น คอื โครงสรา้ งการตลาด (Market
Structure) พฤติกรรมหรือการดาเนินงาน (Conduct) และผลการดาเนินงาน (Performance) โดยมีขอ้
สมมตุ ิวา่ โครงสร้างการตลาดมอี ิทธิพลต่อพฤติกรรมของหน่วยธรุ กิจและผลลัพธ์ คอื ผลการดาเนนิ งาน
อตุ สาหกรรม ซ่งึ คาจากัดความขององคป์ ระกอบมดี ังน้ี

โครงสรา้ งการตลาด คือ ลักษณะการจัดองคก์ รทชี่ ้ีให้เหน็ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งผูข้ ายในตลาดที่มี
ตอ่ กนั ความสัมพันธร์ ะหว่างผ้ซู ือ้ ในตลาด ระหวา่ งผ้ซู ื้อและผู้ขายและลกั ษณะของการจดั องคก์ รของตลาด
หนง่ึ ๆ ซึ่งมีอทิ ธิพลต่อธรรมชาตแิ ละราคาขายในตลาดนนั้

6

2.1 ปัจจยั ท่ีกาหนดลักษณะโครงสร้างการตลาดคือ
2.1.1 ความเขม้ ข้นของการกระจุกตัวของผ้ขู าย
2.1.2 ความเข้มขน้ ของการกระจกุ ตัวของผซู้ ือ้
2.1.3 ขีดความแตกตา่ งของสนิ ค้าระหวา่ งผลติ ภณั ฑ์ของผู้ขายในสายตาของผู้ซื้อ
2.1.4 เงื่อนไขในการเขา้ ออกตลาด
2.1.5 ความรูเ้ กยี่ วกบั ข้อมลู และข่าวสารการตลาดทก่ี ระจายไปสผู่ ูซ้ อ้ื และผขู้ าย
2.1.6 การเคลอื่ นย้ายสนิ ค้าโดยเสรี

พฤตกิ รรมของหน่วยธรุ กิจ หมายถงึ แบบแผนที่หน่วยธุรกิจจะปฏบิ ัติ เพ่อื ปรับตวั เองเข้ากบั ตลาด
ทตี่ นเป็นผูซ้ อื้ หรอื ผขู้ าย

2.2 พฤตกิ รรมการดาเนินงานของหน่วยธรุ กิจ ไดแ้ ก่
2.2.1 วิธีการท่ีหนว่ ยธุรกจิ หรอื กลุ่มธุรกจิ กาหนดราคาและปรมิ าณการผลติ
2.2.2 นโยบายเก่ยี วกับผลผลิต
2.2.3 นโยบายการส่งเสรมิ การขาย
2.2.4 การปรับตวั เองในดา้ นราคา นโยบายการผลิตและการสง่ เสรมิ การขายเมอื่ มีผแู้ ข่งขัน
2.2.5 กลยุทธใ์ นการรับมอื คแู่ ขง่ ขันและผู้ท่ีมแี นวโน้มจะเข้าสวู่ งการ

ผลการดาเนินงาน หมายถึง ผลพวงทางเศรษฐกิจจากอตุ สาหกรรม ซ่ึงไดม้ าจากผลรวมของหน่วย
อุตสาหกรรมน้ัน ๆ และมผี ลกระทบตอ่ สังคมในท่ีสุด

2.3 ผลการดาเนินงานในด้านตา่ ง ๆ มีดงั น้ี
2.3.1 ประสทิ ธภิ าพของการผลิตท่ีได้รับอิทธิพลจาพลจากขนาดของหน่วยธุรกจิ
2.3.2 ขนาดคา่ ใชจ้ ่ายในการสง่ เสรมิ การขายโดยเปรียบเทยี บกบั ต้นทนุ การผลิต
2.3.3 ลกั ษณะของสินค้า
2.3.4 อัตราความก้าวหน้าของหนว่ ยธุรกจิ และอุตสาหกรรมในการพัฒนาสินคา้ และวิธกี าร

ผลิตโดยเปรยี บเทยี บกับตน้ ทนุ ของความกา้ วหน้า

7

3. แนวคิดเก่ยี วกบั การขอรบั รองมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน

3.1 วัตถุประสงค์โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
สานกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม (สมอ.) ได้จดั ทาโครงการมาตรฐานผลติ ภัณฑ์

ชุมชนขนึ้ โดยมีระยะเวลาดาเนนิ การ 5 ปี วงเงินงบประมาณ 112,475,000 บาทเพ่อื รองรบั การพัฒนา
คณุ ภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนหรอื ระดบั พนื้ บ้านทีย่ งั ไม่ไดร้ ับการพัฒนาเท่าทค่ี วร ขณะเดยี วกนั รฐั บาลมี
นโยบายจดั ต้งั โครงการ หนึง่ ตาบล หน่ึงผลิตภัณฑ์ เพอ่ื เสรมิ สร้างให้แต่ละชมุ ชนได้ใช้ภูมิปญั ญาท้องถิ่น
พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ท่ีเปน็ เอกลกั ษณ์ของท้องถน่ิ เพ่อื ผลิตจาหนา่ ยสตู่ ลาดผูบ้ ริโภค ฉะน้นั โครงการ
มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชน (มผช.) จึงเป็นแนวทางที่สอดคล้องและสนับสนุนในด้านมาตรฐานและการ
รับรองคณุ ภาพของผลติ ภัณฑ์ทไี่ ด้จากโครงการหนง่ึ ตาบล หนึง่ ผลิตภณั ฑเ์ พอ่ื ให้ผลิตภัณฑเ์ ป็นทย่ี อมรบั
และสามารถประกันคุณภาพให้กบั ผู้บรโิ ภค ซึ่งเป็นแนวทางหนง่ึ ทเ่ี ช่ือมโยงผลิตภัณฑ์ จากชมุ ชนสู่ตลาด
ผู้บริโภคทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยมวี ัตถุประสงค์ทส่ี าคญั คอื (สมอ. 2546: 1)

3.1.1 สง่ เสริมและพัฒนาคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชนใหไ้ ด้รบั การรับรองและแสดง
เคร่ืองหมายการรบั รอง

3.1.2 เพอ่ื ส่งเสริมด้านการตลาดของผลติ ภณั ฑ์ให้เปน็ ท่ยี อมรบั อยา่ งแพร่หลายและสร้าง
ความมนั่ ใจใหก้ บั ผู้บริโภคในการเลือกซ้ือผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนท้ังในประเทศและต่างประเทศ

3.1.3 เพอื่ เนน้ ใหม้ กี ารพัฒนาแบบยงั่ ยนื อกี ทั้งสนบั สนุนนโยบายเรง่ ด่วนของรัฐบาลใน
โครงการหนง่ึ ตาบล หนึ่งผลติ ภณั ฑ์ มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน เปน็ การรับรองการพฒั นาคุณภาพ
ผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน ก่อนทีจ่ ะมีการพฒั นาปรับปรุงระดบั คณุ ภาพให้เข้าสู่มาตรฐานระดับประเทศและระดับ
สากลซง่ึ

3.1.3.1 แนวทางทเี่ ชือ่ มโยงผลติ ภัณฑ์จากชมุ ชนสตู่ ลาดผู้บรโิ ภคทัง้ ในประเทศและ
ตา่ งประเทศ มแี นวคดิ ดังน้ี (สมอ., 2546: 2-3)

1) เป็นการนาภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ ของไทยสู่สากล
2) เกิดมาจากหลกั การพง่ึ ตนเองและการคดิ อย่างสรา้ งสรรคข์ องชุมชนการ
ตดั สินใจและพฒั นาผลิตภัณฑร์ ว่ มกนั ให้เกิดเปน็ เอกลักษณข์ องท้องถนิ่ ทม่ี ีคุณค่าและสามารถสรา้ งรายได้
ให้แก่ชมุ ชน

8

3) เป็นการผลักดันผลิตภัณฑใ์ หเ้ ข้าสู่การผลิตที่มมี าตรฐานและไดร้ ับการ
รบั รองคณุ ภาพผลติ ภัณฑ์

4) เปน็ การสร้างผลติ ภัณฑโ์ ดยใช้แรงงานและทรพั ยากรในทอ้ งถนิ่ ตอ่ มา
กระทรวงอุตสาหกรรม โดยปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรมไดม้ อบหมายใหส้ านกั งานมาตรฐาน
ผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรมดาเนนิ การในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกบั การกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑช์ มุ ชนตาม
ความเหน็ ของคณะอนกุ รรมการวจิ ัยพฒั นาคุณภาพและพัฒนาเทคโนโลยี ในคณะกรรมการอานวยการ
หน่ึงตาบล หน่งึ ผลิตภัณฑแ์ ห่งชาติท่ไี ด้มอบหมายงานใหก้ ระทรวงอุตสาหกรรม เปน็ ผ้พู ิจารณาดาเนนิ การ
ท้ังนีไ้ ดเ้ สนอจดั สรรเงนิ งบประมาณปี 2546 ในจานวน 15 ลา้ นบาท

3.1.3.2 กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรมเป็นผปู้ ระสานงานและสนบั สนุนขอ้ มลู ของการ
ดาเนนิ การในเรอื่ งต่อไปน้ี

1) พิจารณากาหนด แก้ไข และยกเลกิ มาตรฐานผลิตภัณฑช์ มุ ชน
2) ให้การรับรองคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน โดยการออกใบรบั รองและการ
ตดิ ตามผลภายหลังทไี่ ด้รับรบั การรบั รองแลว้
3) ส่งเสรมิ พัฒนาและประชาสมั พนั ธ์ เพ่ือเพม่ิ ขีดความสามารถและขอ้ มูล
ใหก้ บั ผู้ผลติ ในชมุ ชน
4) แต่งตง้ั คณะอนกุ รรมการเพอื่ ชว่ ยเหลือดาเนินการตามทีไ่ ดร้ ับ
มอบหมาย
5) ติดตามประเมนิ ผลและรายงานความกา้ วหนา้ การดาเนนิ งานให้
คณะอนกุ รรมการวจิ ัยพฒั นาคุณภาพผลิตภณั ฑ์และเทคโนโลยี คณะกรรมการอานวยการหนึง่ ตาบลหนึ่ง
ผลติ ภัณฑ์แห่งชาติทราบทกุ ระยะ
6) ดาเนินการอ่นื ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั งานมาตรฐานผลิตภัณฑช์ ุมชนตามที่
ปลัดกระทรวงอตุ สาหกรรมมอบหมาย และใหค้ วามเหน็ ชอบแนวทางการดาเนนิ งานโครงการมาตรฐาน
ผลิตภัณฑช์ มุ ชน

9

3.1.3.3 สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม คือ
1) การกาหนดมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน สานกั งานมาตรฐาน

ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมจะกาหนดมาตรฐาน โดยมีขอ้ กาหนดที่เหมาะสมกบั สภาพของผลิตภัณฑ์เป็นที่
ยอมรบั ของทกุ ฝ่ายที่เกย่ี วขอ้ งมีแนวทางปฏบิ ัตไิ ม่ซับซ้อน เพอื่ ใหผ้ ผู้ ลิตเข้าถงึ มาตรฐานชุมชนได้ง่ายและ
คานงึ ถึงระยะเวลาในการกาหนดมาตรฐานโดยใช้ขอ้ มลู จากประชมุ สมั มนา เพื่อจัดทามาตรฐานโดย สมอ.
หรอื จดั จา้ งกลุ่มนกั วิชาการ และใหผ้ ่านการประชาพจิ ารณ์จากผเู้ ก่ยี วข้องทุกฝ่ายกอ่ นประกาศใช้

2) การรับรองมาตรฐานผลติ ภัณฑช์ มุ ชน
ก. ใชห้ ลักการรบั รองสากลซ่งึ พิจารณาทั้งคณุ ภาพสนิ ค้าและการ

ควบคมุ คุณภาพโดยเปดิ กวา้ งในเรอื่ งวธิ ีการตรวจสอบรบั รองเพ่อื ให้สามารถรองรบั ผลติ ภัณฑ์ท่ีหลากหลาย
เพื่อให้เกดิ ความคลอ่ งตวั ให้ทางปฏิบตั ิ

ข. ไม่นาขอ้ กฎหมายมาเป็นข้อจากดั ในการรับรองผลติ ภณั ฑ์
3) การส่งเสรมิ และสนับสนนุ ด้านวิชาการ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุดแก่
ทุกฝา่ ย จะต้องมุ่งเน้นการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื ใหว้ สิ าหกิจชุมชนมขี ีดความสามารถในการผลิตผลิตภัณฑใ์ ห้ได้
ตามมาตรฐานและรกั ษาคณุ ภาพผลิตภัณฑ์อยา่ งสม่าเสมอซึง่ นอกจากสง่ เสรมิ สนับสนุนใหว้ สิ าหกิจชุมชนท่ี
ยังไม่พรอ้ มในการดาเนนิ การตามขอ้ กาหนดของมาตรฐานใหม้ ีความรู้เรอ่ื งการมาตรฐานโดยการให้
คาปรึกษาแนะนา แต่ปจั จุบันยงั ขาดผู้เช่ียวชาญ จึงควรสร้างผ้เู ช่ยี วชาญไปพร้อม ๆ กนั โดยอาจได้จากการ
ระดมบุคลากรท่มี ปี ระสบการณ์ในสาขาต่าง ๆ และมีเวลาเพียงพอเพ่อื ทาหนา้ ทีเ่ ป็นทปี่ รึกษา
(Consultant) ใหค้ าแนะนาทางวชิ าการดา้ นต่าง ๆ เชน่ การควบคมุ การผลิต การควบคมุ คุณภาพ
ตลอดจนการปรบั ปรงุ พฒั นาคุณภาพผลติ ภณั ฑ์ พรอ้ มทง้ั สร้างบุคลากรรนุ่ ใหมเ่ พอ่ื ให้การพฒั นาเปน็ ไป
อยา่ งตอ่ เน่อื ง ซง่ึ จะทาใหเ้ กิดแรงขบั เคล่อื นให้วิสาหกจิ ชมุ ชนสร้างประสิทธิผลตอ่ การพัฒนาอย่างแท้จรงิ
4) การเผยแพรแ่ ละประชาสมั พันธ์ เพื่อสร้างความเชอ่ื มนั่ ใหก้ บั ผบู้ ริโภคใน
การเลอื กซื้อผลิตภัณฑช์ มุ ชน พร้อมสนับสนุนช่องทางการจัดจาหนา่ ยในเบอื้ งตน้ เพ่อื จงู ใจให้วิสาหกิจ
ชุมชนผลิตภณั ฑ์ทีม่ ีคณุ ภาพขอรับการรบั รองตามมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน

10

3.2 การดาเนนิ งานของสานักงานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม
3.2.1 ดาเนนิ การประชมุ คณะกรรมการมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน (กมช.) เมือ่ วนั ที่ 8 และ

วนั ที่ 28 พฤศจกิ ายน 2545 เพ่ือพจิ ารณากาหนดแนวทางขั้นตอนการปฏิบัติงานในด้านการกาหนด
มาตรฐานการรับรองคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์ หลักเกณฑ์และเงือ่ นไขการรบั รองเคร่ืองหมายมาตรฐาน
ผลติ ภัณฑช์ ุมชมรายชื่อท่ีเหน็ สมควรจัดทามาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชนปี 2546 จานวน 60 เรือ่ ง และอนื่ ๆ
ทเี่ ก่ียวข้อง

3.2.2 จัดใหม้ กี ารประชุมสมั มนาเชิงปฏบิ ตั กิ ารเร่ือง “ รับฟังขอ้ มูลและข้อคิดเห็นด้านการ
กาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน” จากผทู้ เ่ี กยี่ วข้อง 3 ฝา่ ย คอื ผู้ผลิตในชมุ ชน ผ้บู รโิ ภค และนักวิชาการ
ระหว่างวนั ท่ี 16 ถงึ 17 มกราคม 2546 ณ หอ้ งชลาลยั โรงแรมชลจันทรเ์ มอื งพัทยาจังหวดั ชลบุรี เพ่อื รบั
ฟงั ขอ้ มูลและข้อคิดเหน็ ที่เกยี่ วข้องกบั มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ ุมชนรายสนิ ค้าจานวน 13 เร่ือง กอ่ นท่ีจะมี
การประกาศเปน็ มาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน รายละเอยี ดของการสัมมนาเชิงปฏิบัตกิ ารฯ ดงั นี้ รายสาขา
ผลิตชุมชนท้งั 13 เร่ือง โดยให้ผู้เข้ารว่ มสัมมนาฯ แสดงขอ้ คิดเห็นได้อยา่ งอิสระเปน็ ไปตามท่ปี ฏิบตั ิจริง ซง่ึ
จะเนน้ ผผู้ ลติ ในชุมชนทเี่ ก่ยี วขอ้ งตามรายสาขาผลิตภณั ฑ์ชุมชนข้างตน้ เพือ่ นาข้อมูลท่ีไดม้ าดาเนินการ
จดั ทามาตรฐานผลติ ภัณฑช์ ุมชนให้มีข้อกาหนดทเี่ หมาะสมกบั สภาพผลิตภัณฑ์ชมุ ชนเป็นทีย่ อมรับของทุก
ฝ่ายทเี่ กยี่ วข้อง มแี นวทางปฏบิ ัติที่ไม่ซับซ้อนเพอื่ ให้ผผู้ ลติ ในชมุ ชนเข้าถงึ มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชนไดง้ า่ ย
กลุม่ บุคคลที่เขา้ รว่ มสมั มนาฯ : ผู้เข้ารว่ มสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ประกอบด้วยกลุ่มบุคคล 3 ฝา่ ย คือ ผูผ้ ลิต
ในชุมชน นกั วิชาการหรือผทู้ รงคณุ วฒุ ิ และผบู้ รโิ ภค จาก 42 จังหวดั หนว่ ยงานราชการ 34 ราย
หน่วยงานเอกชน 2 ราย ผู้ทรงคณุ วุฒเิ ฉพาะสาขา 3 ราย และคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน
11 ราย รวมทั้งส้ินประมาณ 180 คน

3.2.3 การเปิดให้บรกิ ารรบั รองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน เร่มิ ต้นการเปดิ รบั คาขอ
ใบรับรองเครือ่ งหมายมาตรฐานผลิตภัณฑช์ มุ ชนสาหรับมาตรฐานผลิตภัณฑช์ มุ ชน 13 เร่ืองดงั กล่าวได้
ตง้ั แตเ่ ดอื นกมุ ภาพันธ์ 2546 เปน็ ตน้ มา โดยผู้ยน่ื คาขอไมต่ ้องเสยี ค่าใช้จา่ ยใด ๆ ทัง้ ส้นิ ส่วนผลิตภัณฑ์
ชมุ ชนอ่นื ตามประกาศบญั ชรี ายชอ่ื ผลิตภัณฑ์ดเี ด่น สนิ ค้าชุมชนของคณะกรรมการอานวยการหน่งึ ตาบล
หนึ่งผลติ ภัณฑ์แหง่ ชาตจิ ะดาเนินการ ซงึ่ มหี ลักเกณฑแ์ ละเงอื่ นไขการรบั รองคุณภาพผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน ดงั น้ี

11

3.2.3.1 สง่ เสริมและพัฒนาคณุ ภาพของผลติ ภัณฑ์ชุมชน ให้ไดร้ บั การรบั รองและ
แสดงเครอ่ื งหมายการรบั รอง

1) เปน็ ผู้ผลติ ในชมุ ชนของโครงการหนงึ่ ตาบล หนึง่ ผลิตภัณฑ์ ไดร้ บั การ
คดั เลอื กจากคณะกรรมการอานวยการหนง่ึ ตาบล หนึ่งผลติ ภณั ฑ์แหง่ ชาติ

2) เปน็ กลมุ่ หรอื สมาชิกของกลุม่ เกษตรกร กลุ่มสหกรณ์ หรอื กลุม่ อน่ื ๆ
ตามกฎหมายวิสาหกิจชมุ ชน เชน่ กลุ่มอาชีพ กลมุ่ อาชพี ก้าวหน้า กลุ่มธรรมชาติ เป็นตน้

3.2.3.2 การรบั รองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชมุ ชน ประกอบด้วยการดาเนินการ ดังนี้
1) ตรวจสอบสถานทผ่ี ลิตและเก็บตวั อย่างจากสถานทีส่ ่งตรวจสอบ เพ่ือ

พิจารณาออกใบรับรอง
2) ตรวจติดตามผลคุณภาพผลิตภณั ฑช์ มุ ชนทไี่ ด้รับการรับรอง โดยส่มุ ซอ้ื

ตวั อย่างทไ่ี ด้รบั การรบั รองจากสถานท่จี าหนา่ ยเพื่อตรวจสอบ
3) การขอการรับรองให้ยน่ื คาขอตอ่ สานกั งานอตุ สาหกรรมจังหวดั หรือ

สานักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม หรือจังหวดั พร้อมหลกั ฐานและเอกสารต่าง ๆ ตามแบบที่
สานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรมกาหนด

4) เมื่อไดร้ ับคาขอแลว้ สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรมจะนดั
หมายการตรวจสอบสถานท่ีผลิตเก็บตัวอย่างส่งทดสอบ หรือทดสอบ ณ สถานที่ผลิต

5) ประเมนิ ผลการตรวจสอบว่าเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนท่ีได้
กาหนดไวห้ รือไม่

6) ใบรับรองผลติ ภัณฑ์ มีอายุ 3 ปี นับตั้งแต่วันท่รี ะบใุ นใบรบั รอง
7) การขอต่ออายใุ บรบั รองหรือการออกใบรบั รองฉบบั ใหมเ่ มื่อใบรบั รอง
ฉบบั เกา่ ส้ินอายุ
8) เงื่อนไขและการตรวจติดตาม

ก. ผ้ไู ดร้ ับการรับรองตอ้ งรักษาไวซ้ ง่ึ คุณภาพตามมาตรฐานผลติ ภัณฑ์
ชมุ ชนทกี่ าหนดไว้ ตลอดระยะเวลาทีไ่ ด้รบั การรับรอง

12

ข. การประเมินผลการตรวจสอบตัวอยา่ งทส่ี มุ่ ซื้อ เพือ่ ตรวจติดตามผล
ต้องเปน็ ไปตามมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนทก่ี าหนด

9) การตรวจตดิ ตามผลทาอยา่ งน้อยปีละ 1 ครัง้
10) การยกเลิกการรับรอง สานกั งานมาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรมจะ
ยกเลิกใบรบั รองกรณีใดกรณีหนง่ึ ดงั ตอ่ ไปนี้

ก. ผ้ไู ดร้ บั การรบั รองขอยกเลกิ ใบรับรอง
ข. มีการประกาศแกไ้ ขหรือยกเลกิ มาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชมุ ชนท่ีกาหนด
ไว้
ค. เมอ่ื ใบรับรองครบอายุ 3 ปี นับจากวนั ท่ไี ด้รับการรับรอง
ง. กรณีมีการกระทาอันเป็นการฝา่ ฝนื หรือไมป่ ฏิบัติตามหลักเกณฑ์
และเงื่อนไขต่าง ๆ ทีก่ าหนด เช่น การอวดอ้างเกินความเปน็ จรงิ โฆษณาการไดร้ บั การรบั รองครอบคลมุ
รวมถึงผลติ ภณั ฑ์ที่ไม่ไดร้ ับการรบั รอง
11) อื่น ๆ
ก. ในกรณที ่ียกเลกิ ใบรับรองผูไ้ ด้รับการรับรองตอ้ งยุติการใชส้ ง่ิ พมิ พ์
สือ่ โฆษณาที่มกี ารอ้างองิ ถงึ การได้รบั การรบั รองทงั้ หมด
ข. สานกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไมร่ บั ผดิ ชอบในการ
กระทาใด ๆ ของผู้ไดร้ บั การรบั รองท่ไี ด้กระทาโดยไมส่ ุจริต หรือไม่ปฏิบตั ิตามหรือฝ่าฝืนหลักเกณฑแ์ ละ
เงื่อนไขทีก่ าหนด
3.3 ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากโครงการมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ ุมชน
3.3.1 เปน็ การสนบั สนนุ ผู้ผลิตรายย่อยใหท้ าผลติ ภัณฑท์ ่มี ีคุณภาพ และสนับสนนุ ดา้ น
การตลาดโดยการให้เคร่อื งมอื รับรองซงึ่ จะเปน็ การพัฒนาทยี่ ัง่ ยนื และยกระดับการผลติ ต่อไป
3.3.2 เปน็ การสนองตอบนโยบายเร่งด่วนของรฐั บาลในโครงการหนงึ่ ตาบล หนง่ึ ผลิตภัณฑ์
ในด้านคณุ ภาพผลิตภัณฑห์ นง่ึ ตาบล หน่งึ ผลติ ภัณฑ์ ให้ผา่ นการรบั รองเพื่อสามารถแสดงสัญลกั ษณ์

13

3.3.3 เป็นการส่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพผลิตภณั ฑ์ เพ่อื ยกระดบั ให้มกี ารปรบั ปรุงการ
ผลติ ให้ดยี งิ่ ขน้ึ เพอื่ เพ่ิมศกั ยภาพในการแขง่ ขนั ของธุรกจิ โดยเฉพาะในโครงการหนงึ่ ตาบล หนึ่งผลติ ภณั ฑ์
ท่วั ประเทศ

3.3.4 เปน็ การสง่ เสรมิ ด้านการตลาดให้เป็นทย่ี อมรับ และเพ่ิมความเชอ่ื ถอื ของผู้ซื้อใน
ประเทศและตา่ งประเทศ

3.4 หลักเกณฑม์ าตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน
3.4.1 ผลติ ภัณฑ์ประเภทอาหาร และผลติ ภณั ฑป์ ระเภทเคร่ืองด่ืม ไดก้ าหนดหลักเกณฑ์

มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ ดงั นี้
3.4.1.1 สถานที่ เครอ่ื งมอื และวตั ถุดบิ ท่ีใช้ในการผลติ ผลิตภัณฑ์เหมาะสม และ

สะอาด
3.4.1.2 กรรมวธิ ีการผลติ ถูกสขุ ลักษณะ
3.4.1.3 ผลติ ภัณฑ์ไมม่ สี ว่ นผสมที่เป็นสง่ิ แปลกปลอม
3.4.1.4 สว่ นผสมของผลติ ภัณฑ์อยใู่ นปริมาณทก่ี าหนด และไมเ่ ปน็ อันตรายต่อ

ผ้บู ริโภค
3.4.1.5 สที ่เี ป็นสว่ นผสมผลิตภณั ฑ์ เปน็ สีผสมอาหารตามชนดิ และอยใู่ นปริมาณท่ี

กาหนด
3.4.1.6 บรรจภุ ัณฑ์ต้องสะอาดปดิ มิดชิด สามารถป้องกันความชนื้ ไม่มรี อยรว่ั ซมึ ไม่

มสี นิม และไม่มรี อยบบุ หรอื บวม
3.4.1.7 ผลติ ภัณฑต์ อ้ งมีสี กล่นิ รสท่ดี ีตามธรรมชาติของวัตถดุ ิบและปราศจากกล่ิน

ที่ไม่พึงประสงค์
3.4.2 ผลติ ภณั ฑ์ชุมชนประเภทผ้า และเครือ่ งแต่งกายมหี ลกั เกณฑม์ าตรฐาน ดังน้ี
3.4.2.1 ผลิตภัณฑ์อยใู่ นสภาพเรยี บรอ้ ย ประณีต และสวยงาม
3.4.2.2 ผลติ ภัณฑท์ ม่ี ีกรรมวธิ ที ีผ่ ลิตดว้ ยมอื ตอ้ งมขี ้อบกพรอ่ งน้อยทส่ี ุด และ

ข้อบกพร่องนน้ั ต้องเป็นทย่ี อมรบั ได้
3.4.2.3 ผลิตภัณฑ์ตอ้ งอยู่ในสภาพเรียบร้อยตลอดทัง้ ผืน

14

3.4.2.4 ผ้ผู ลติ ตอ้ งศึกษารายละเอียดแหล่งทม่ี าของวตั ถดุ บิ และขนั้ ตอนการแปรรปู
ผลิตภัณฑ์

3.4.2.5 ผ้าและผลติ ภัณฑ์จากผา้ ต้องมีเอกลักษณ์เฉพาะทางตามชนดิ ของผลิตภัณฑ์
3.4.2.6 เสน้ ดา้ ยทใี่ ช้ในการทอต้องระบุชนดิ ของด้ายในการทอให้ชัดเจน
3.4.2.7 ผลิตภัณฑ์จากผา้ ต้องมฝี ีเย็บเรียบรอ้ ยประณตี
3.4.2.8 ผลติ ภัณฑ์ตอ้ งมีขนาดกวา้ งและยาวไม่นอ้ ยกว่าที่ระบุไวใ้ นฉลาก
3.4.3 ผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทเคร่อื งใช้ ของประดับตกแตง่ ศิลปะประดิษฐ์ และของที่
ระลกึ มีหลักเกณฑ์มาตรฐาน ดังน้ี
3.4.3.1 ผลิตภัณฑต์ อ้ งอยใู่ นสภาพเรียบร้อย ประณีตและเก็บรายละเอยี ดของ
ผลิตภัณฑไ์ ดด้ สี วยงาม
3.4.3.2 วัตถดุ ิบที่ใช้ในการผลติ ผลิตภัณฑม์ คี ุณสมบัติท่เี หมาะสมกับผลติ ภัณฑ์
3.4.3.3 ผลิตภัณฑไ์ มฉ่ ีกขาด ไมม่ เี ช้อื ราและส่งิ สกปรก
3.4.3.4 สว่ นประกอบหรือตกแต่งผลติ ภัณฑด์ ว้ ยวัสดอุ น่ื ต้องประณีต คงทนสวยงาม
สม่าเสมอ กลมกลืนเหมาะสมกับชิ้นงาน
3.4.3.5 นาผลิตภัณฑไ์ ปใชง้ านได้ตามวตั ถุประสงค์
3.4.3.6 ผลติ ภัณฑ์ตอ้ งมขี นาดกวา้ งและยาวไม่น้อยกว่าท่ีระบไุ วใ้ นฉลาก
3.4.3.7 สที ่ใี ช้ในการทา ตกแตง่ ผลติ ภัณฑต์ ้องมคี ุณภาพ ไมล่ อกเป็นคราบและตอ้ ง
ทาดว้ ยความประณตี เรียบร้อย สม่าเสมอ
3.4.3.8 การต่อลวดลายของผลิตภัณฑต์ อ้ งแนบเนียนสมา่ เสมอ
3.4.3.9 การเคลือบเงาผลติ ภณั ฑต์ อ้ งเรียบรอ้ ย สมา่ เสมอ ไม่เป็นเม็ดเป็นคราบ
3.4.4 ผลิตภัณฑ์ชมุ ชนประเภทสมุนไพรท่ีไมใ่ ชอ่ าหารและยา มมี าตรฐาน ดงั นี้
3.4.4.1 สถานท่เี ครอื่ งมอื และวตั ถุดบิ ท่ีใช้ในการผลติ เหมาะสมและสะอาด กรรมวธิ ี
การผลิตถูกสขุ ลักษณะ
3.4.4.2 ผลติ ภัณฑต์ อ้ งไม่มีสงิ่ แปลกปลอมเป็นสว่ นผสม
3.4.4.3 สว่ นผสมของผลติ ภัณฑ์ต้องเปน็ เนื้อเดียวกัน

15

3.4.4.5 วตั ถดุ บิ และอุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการผลิตตอ้ งสะอาด
3.4.4.6 ผ้ผู ลิตต้องมีสขุ ลกั ษณะที่ดี
3.4.4.5 กรรมวิธีการผลติ ต้องถูกสขุ ลกั ษณะ การกวนสว่ นผสมไปในทางเดยี วกนั
สม่าเสมอ
3.4.5.6 ผลิตภัณฑ์ทม่ี ีส่วนผสมของไขมนั พชื ถูกต้องตามสัดส่วน
3.5 การควบคมุ คณุ ภาพผลิตภัณฑ์ชมุ ชน
ด้วยพฤติกรรมการเลือกซอื้ หรือแนวโน้มความต้องการของผบู้ ริโภคทงั้ ในประเทศและ
ตา่ งประเทศส่วนใหญ่ต้องการความมน่ั ใจว่าสนิ ค้าทีซ่ อ้ื ไปจะปลอดภยั ต่อการใช้งานหรือการบริโภค มี
คณุ ภาพสม่าเสมอหรือไม่ดอ้ ยไปกวา่ เดมิ นอกจากน้ีผู้บรโิ ภคยังต้องการสินค้าท่มี ีคุณภาพมีการควบคมุ
กระบวนการผลติ ท่ีดี จงึ ถอื เป็นการสร้างความมั่นใจใหก้ บั ผู้บรโิ ภคได้ ซ่ึงไมเ่ พียงแต่การ “ยกระดับ” ของ
สินค้า แตห่ มายถงึ “การอยู่รอด” ของกิจการในอนาคตดว้ ย
ดงั นนั้ การนาเทคนิคการควบคมุ คณุ ภาพไปใชใ้ นกระบวนการผลิต เชน่ การคดั เลือกวตั ถุดิบ
การควบคมุ กระบวนการผลิต เพ่อื ให้ได้ผลิตภณั ฑ์ทมี่ ีคณุ ภาพ เป็นอีกทางเลือกหน่งึ ทผี่ ู้ผลิตชุมชนสามารถ
สรา้ งความพึงพอใจ สรา้ งความมนั่ ใจ และสร้างความนา่ เชื่อถอื ให้กับผู้บรโิ ภคคุณภาพคือ คณุ สมบัติตา่ ง ๆ
ของผลิตภัณฑ์ทีท่ าให้ผู้บริโภคเกดิ ความพึงพอใจ
3.5.1 คุณภาพของผลิตภณั ฑ์ท่ีผูบ้ ริโภคใชเ้ ป็นเกณฑ์ มดี ังนี้
3.5.1.1 คณุ ภาพทสี่ ังเกตได้ คอื ลักษณะทผ่ี ู้บรโิ ภคเหน็ ไดด้ ้วยตนเอง เช่น ความ
สวยงาม ความเรียบร้อย ขนาดสม่าเสมอ
3.5.1.2 คุณภาพซอ่ นเร้น คือ ลักษณะที่ผู้บรโิ ภคไม่สามารถเหน็ ไดด้ ้วยตนเองต้องใช้
เคร่ืองมือในการวิเคราะห์ ทดสอบ เชน่ ความชื้น ความเป็นกรด-ด่าง ความบริสุทธข์ิ องเงิน เปน็ ต้น
3.5.2 คุณภาพที่ผบู้ รโิ ภคสว่ นใหญต่ ้องการ มดี งั นี้
3.5.2.1 ตอ้ งมีความปลอดภัย
3.5.2.2 มีลกั ษณะเฉพาะที่สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผบู้ ริโภค
3.5.2.3 ความสะดวกในการบรโิ ภคเทา่ นัน้
3.5.2.3 ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากผลิตภัณฑ์

16

3.5.3 สาเหตุทตี่ ้องมกี ารควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต เพราะปัจจยั ตา่ ง ๆ ดงั น้ี
3.5.3.1 ผลติ ภัณฑ์มคี ุณภาพดี
3.5.3.2 ผบู้ ริโภคพงึ พอใจ
3.5.3.3 ของเสยี น้อยลง
3.5.3.4 ลดต้นทนุ การผลติ
3.5.3.5 มีชอื่ เสยี งเป็นทีย่ อมรบั
3.5.3.6 เพิ่มรายได้สร้างแรงงาน
3.5.3.7 ยกระดบั ผลิตภัณฑ์

3.5.4 การควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
การควบคุมคุณภาพ คอื กระบวนการที่ทาให้คุณภาพของผลติ ภณั ฑ์เป็นไปตาม

มาตรฐานทกี่ าหนดไว้ มาตรฐาน คอื ขอ้ กาหนดหรือสง่ิ ทีน่ ามาใชใ้ นการเปรียบเทียบ ซ่ึงอาจเปน็
ขอ้ กาหนดข้อเดียวหรอื หลายขอ้ โดยทีข่ อ้ กาหนดนน้ั ตอ้ งเปน็ ทย่ี อมรับของผทู้ เ่ี กี่ยวขอ้ งทง้ั หมดขอ้ กาหนด
ที่กาหนดข้นึ สาหรบั ใช้ในการควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลติ ดงั น้ี

3.5.4.1 ข้อกาหนดคุณภาพ
1) มาตรฐานของวัตถุดบิ แตล่ ะชนดิ
2) มาตรฐานของผลิตภณั ฑท์ ่ีสาเร็จรูป

3.5.4.2 ข้อกาหนดการตรวจสอบ
1) วิธีการตรวจสอบวัตถดุ บิ กระบวนการผลติ และผลิตภัณฑ์สาเร็จรปู

ขอ้ กาหนดการสมุ่ ตัวอยา่ ง
2) ตรวจสอบทุกช้นิ หรือสมุ่ ตวั อย่างมาตรวจสอบ โดยกาหนดจดุ ท่ีจะต้อง

สุม่ ตวั อยา่ งจานวนของตวั อยา่ ง การยอมรับหรอื ปฏบิ ัติส่งิ ท่ีตรวจว่าอยา่ งไรจงึ ยอมรับไดอ้ ย่างไรจึงไม่
ยอมรบั

3.5.5 มาตรการในการควบคุมคุณภาพในระบบการผลติ ท่ตี ้องทาเปน็ ประจาเพอื่ ให้
ผลติ ภัณฑม์ ีคุณภาพตรงตามท่ตี อ้ งการ คุณภาพสม่าเสมอและมขี องเสียน้อยท่สี ดุ มดี งั น้ี

17

3.5.5.1 ควบคุมวัตถุดบิ ด้วยการตรวจสอบวัตถดุ ิบทุกชนิด โดยการตรวจสอบทกุ ชิน้
หรือสุ่มตัวอย่างมาตรวจตามวิธีทดสอบท่กี าหนดไว้ วา่ มคี ุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานทกี่ าหนดไว้หรอื ไม่
หากพบว่ามขี อ้ บกพรอ่ งให้ดาเนนิ การแกไ้ ขก่อนท่ีจะนาเขา้ สกู่ ระบวนการผลิต

3.5.5.2 ควบคมุ กระบวนการผลติ ด้วยการควบคุมกระบวนการผลิตเพอ่ื ให้ได้
ผลิตผลในแต่ละขั้นตอนทีม่ ีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานคณุ ภาพทกี่ าหนดไว้ หากพบว่ามขี ้อบกพร่องให้
ดาเนินการแก้ไขก่อนทจ่ี ะทาการผลิตขน้ั ตอนต่อ ไป

3.5.5.3 ตรวจสอบผลติ ภัณฑ์สาเร็จรูป ด้วยการตรวจสอบผลติ ภัณฑส์ าเร็จรูปทกุ ชนิ้
หรือส่มุ ตัวอยา่ งมาตรวจสอบตามวิธที ดสอบทก่ี าหนดไว้ วา่ มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานทก่ี าหนดไว้
หรือไม่ หากพบขอ้ บกพรอ่ งใหด้ าเนินการแก้ไขกอ่ นท่ีจะนาไปจาหนา่ ย

3.5.6 ประโยชนข์ องการควบคมุ คุณภาพ มดี งั นี้
3.5.6.1 ลดค่าใช้จ่าย
3.5.6.2 ยกระดบั ผลติ ภัณฑ์
3.5.6.3 ผู้บรโิ ภคพอใจ
3.5.6.4 ขายสนิ ค้าได้ตามราคาท่กี าหนด
3.5.6.5 ของเสยี น้อยลง
3.5.6.6 ทุกคนมีสว่ นร่วมในการทางาน
3.5.6.7 คุณภาพผลิตภัณฑ์ดีขึ้น
3.5.6.8 เพ่มิ รายได้
3.5.6.9 มีชอื่ เสียงเปน็ ท่ียอมรบั ของผู้บริโภค

4. ทฤษฎีกลยุทธก์ ารตลาด (4Ps) และ (8Ps),กลยทุ ธ์ตลาดออนไลน์

4.1 กลยุทธก์ ารตลาด 4Ps เกดิ จากหลักแนวคดิ ที่ว่า ก่อนทจี่ ะมาทาธุรกิจหรอื การตลาด ควรที่
จะต้องมคี วามสนใจให้ความสาคญั ในการกาหนดหัวเรอ่ื งสาคญั ท่ีธุรกิจควรนามาพิจารณาถึงความพร้อม
และใช้เป็นแนวก่อนเริ่มดาเนนิ การทางธุรกจิ โดยได้ใช้ P ซึ่งเป็นตัวหน้าของเรอื่ งทสี่ นใจคอื (Product-
Price-Promotion-Place) โดยมีรายละเอียดดังน้ี

18

4.1.1 กลยุทธผ์ ลิตภณั ฑ์ (Product Strategy) คือ สนิ คา้ บริการที่ธุรกิจสร้างข้นึ เพือ่ ตอบ
ความตอ้ งการหรือทจ่ี ะสง่ มอบให้แก่ลูกค้าหรอื ผ้บู รโิ ภค ต้องคานงึ ถึงกล่มุ เปา้ หมายท่ีเหมาะสมและชัดเจน
ดวู ่ากลุม่ ลกู คา้ เป้าหมายเขาตอ้ งการอะไรบา้ งใหใ้ ส่ใจในรายละเอยี ดนน้ั สินค้าหรือการบริการท่ีมแี ตกตา่ ง
อย่างไรทาใหล้ กู ค้าเกิดความสะดดุ ตาสะดดุ ใจในรปู ลักษณ์ รวมถงึ การใชง้ าน ความทนทาน และความ
ปลอดภัย ตลอดจนการสร้างความประทบั ใจใหแ้ ก่ลกู คา้ ทาให้ลกู ค้าเกิดความสนใจและเลือกซ้อื สินคา้
หรอื บรกิ ารของเรา และมีการบอกกนั ปากตอ่ ปาก เป็นตน้

4.1.2 กลยุทธร์ าคา (Price Strategy) คือ ราคาหรือสิง่ ท่ีลูกคา้ ตอ้ งจ่ายเพ่อื แลกกบั การได้
สินคา้ และบริการ อาจจะไม่ใช่เพยี งแคเ่ งินเทา่ นน้ั อาจรวมถึงเวลาหรือการกระทาบางอย่าง ดังนั้นการตั้ง
ราคาจึงต้องให้เหมาะสม คานวณเรอ่ื งราคาต้นทุนกับกาไรว่า มีความคุ้มค่าหรือไม่ มกี าไรมากนอ้ ย
เพียงไร อีกหนง่ึ กลยุทธ์การขายสนิ คา้ ทีน่ ยิ มนามาใชก้ ัน อย่างแพรห่ ลาย ได้แก่ การใหส้ ่วนลด (Discount)
การขายเชอื่ (Credit) และการฝากขาย (Consignment) และยังมีการใชน้ โยบายการตัง้ ราคามาใชอ้ ีกดว้ ย
นโยบายการตงั้ ราคาแบ่งออกเป็น

4.1.2.1 นโยบายราคาเพียงราคาเดียว (One Price Policy) เป็นการเสนอขายสนิ ค้า
หรือบริการในราคามาตรฐานเดยี วกัน ไม่ว่าจะซ้อื มากหรอื นอ้ ยกต็ าม เช่น ราคานา้ มนั ค่าขนส่งสนิ ค้า คา
ตามนา้ หนัก หรือธุรกิจขายสนิ คา้ ราคาเดียวทัง้ รา้ น (ทุกอยา่ ง 20 บาท)

4.1.2.2 นโยบายราคาทีแ่ ตกต่างกนั (Variable Price Policy) มเี หตุมากจากความ
แตกต่างในด้านคุณลักษณะเฉพาะของสนิ คา้ หรือตัวบริการ และการเจรจาต่อรองของลูกค้า นน่ั จงึ เปน็ เหตุ
ให้มีการต้นราคาขายแตกต่างกนั เช่น สินค้าทีม่ ีคุณภาพดกี วา่ จะมีราคาทส่ี ูงกวา่ สินคา้ ท่ีคณุ ภาพรองลงมา
เชน่ ราคาตัว๋ ชมภาพยนตรท์ ่นี ่ังธรรมดา กับทน่ี ่งั พเิ ศษ เสอ้ื ผา้ แบรนดด์ ังกับเสอ้ื ผา้ ไมม่ แี บรนด์

4.1.2.3 นโยบายกาหนดราคาขายแบบแพ็กเกจ (Multiple Unit Package Pricing
Policy) เปน็ การกาหนดราคาขายโดยเปรยี บเทยี บความแตกต่างในดา้ นปรมิ าณสินคา้ ท่ซี อ้ื อธบิ ายง่ายๆ
คือถ้าซอื้ ในจานวนมากราคาจะถกู กวา่ ซ้อื ในจานวนน้อย เช่น เครื่องดมื่ บะหมี่กง่ึ สาเรจ็ รูป สนิ คา้ ประเภท
อปุ โภคบริโภค

19

4.1.2.4 นโยบายกาหนดราคาตามสายราคา (Price Lining-Policy) เปน็ รูปแบบการ
กาหนดราคาสินค้า แบบต่อเนอื่ งตามขนาด และปริมานของสน้ิ คา้ โดยแบ่งตามขนาด ใหญ่ กลาง เล็ก
ทั้งนีเ้ พ่ือความสะดวกแก้พนกั งานขาย และตวั ลกู คา้ เอง เช่น นายาบ้วนปาก ยาสีฟนั

4.1.2.5 นโยบายกาหนดราคาเชงิ จติ วทิ ยา (Psychological-Pricing Policy) ธรุ กจิ
อาจจะใช้วิธกี ารกาหนดราคาใหน้ ่าสนใจ โดยอาศัยหลกั จติ วิทยาซ่ึงเช่ือว่ามีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมการซ้อื
สินคา้ ของลูกค้า หรอื ผู้บรโิ ภค เช่น สนิ คา้ ท่ีมรี าคาลงท้ายเหมือนกัน 59, 89, 99 หรือสินค้าท่มี ปี ้ายกากบั
เช่นสนิ ค้าขายดี

4.1.2.6 นโยบายกาหนดราคาจามจานวน (Unit Pricing-Policy) เป็นรูปแบบการ
ตน้ ราคาใหแ้ ตกต่าง โดยอ้างอิงจากนา้ หนกั ของสนิ คา้ ตอ่ หนว่ ยเปน็ เกณฑ์ เชน่ ซอื้ สินค้าทม่ี นี ้าหนกั ที่
แตกตา่ งกนั 100 ,50 และ 30 กรมั ตัวสินคา้ จะมีราคาไม่เท่ากนั

4.1.3 กลยุทธช์ อ่ งทางการจดั จาหน่าย (Place Strategy) คือ ชอ่ งทางท่ีลูกค้าจะสามารถ
เขา้ ถงึ สินค้าและบริการของเราไดเ้ ชน่ ช่องทางการจัดจาหนา่ ย ช่องทางการใหบ้ รกิ าร รวมถึงทาเลในการ
จัดจาหน่ายสนิ ค้าและบรกิ ารใหแ้ กล่ ูกคา้ ควรจะตอ้ งมคี วามสะดวก ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และเขา้ ถึง
ไดอ้ ย่างรวดเร็ว สามารถทาให้เกิดผลกาไรจากการกระจายสินค้าไปส่กู ลุ่มลกู ค้าให้ตรงกบั กลุ่มเป้าหมาย
มากท่สี ดุ

4.1.4 กลยุทธก์ ารสง่ เสรมิ การตลาด (Promotion Strategy) คือ การขายสนิ คา้ หรือ
บริการให้ได้มากท่สี ุด แต่มกั จะปัญหาวา่ ตอ้ งทาอย่างไร การส่งเสรมิ การขาย จึงมีบทบาทสาคญั ที่ช่วยให้
ยอดขายเพ่มิ มากข้ึน กจิ กรรมดงั กลา่ วประสบความสาเร็จ และมีประสิทธภิ าพ เมื่อธรุ กิจทราบว่าลกู คา้
ต้องการอะไร มีรสนิยมแบบไหน เพอื่ ท่จี ะสามารถสร้างโปรโมชัน่ ที่ตอบสนองความต้องการของลกู ค้าได้
โดยตรง แต่การสง่ เสริมการขายนั้นมีความสมั พนั ธใ์ กล้ชดิ กับงบประมาณ ด้านค่าใช้จา่ ยอย่างมาก และ
ควรจะตอ้ งพยายามใหไ้ ด้ผลลัพธ์กลบั คืนอยา่ งคุ้มคา่ ที่สุด ซึ่งมีอยูห่ ลายวิธีท่ีสามารถช่วยไดท้ ้ังทางตรง และ
ทางอ้อม เช่น

4.1.4.1 การโฆษณา (Advertsing) อาจจะใช้คาพดู หรอื ข้อความ โดยมีความหมาย
ที่จะใหล้ ูกค้ามคี วามรู้สึกดีต่อตอ่ สินค้า หรอื บรกิ ารนน้ั รวมท้ังจงู ใจใหเ้ กดิ ความตอ้ งการอยากทดลองสนิ คา้
หรอื บรกิ ารของเรา

20

4.1.4.2 การขายโดยตรง (Direct Sales) เปน็ การขายโดยเข้าไปติดต่อถึงตวั ลกู คา้
โดยตรง โดยการอธิบายรายละเอียดต่างๆ ของสนิ คา้ ให้ลูกค้าได้ทราบ หรือที่เรียกวา่ การเสนอขาย โดย
ตอ้ งอาศัยเทคนคิ และวธิ กี ารทน่ี ่าสนใจ

4.1.4.3 การสง่ เสรมิ การขายทางด้านลูกค้า (Consumer Promotion) เปน็ รปู แบบ
ในการสรา้ งสิง่ ดึงดดู ใจให้กบั ตวั ลูกค้าโดยตรง เชน่ การลด แลก แจก แถม หรอื การเลน่ เกมเพ่อื ชงิ รางวัล
เป็นการกระตุ้นให้ลุกค้าเกิดความสนใจ และมีความหวังในประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากตัวสนิ คา้ หรือบริการของ
เรา

4.1.4.4 การบริการ (Service) เปน็ รปู แบบการใหบ้ ริการทั้งกอ่ น และหลังการขาย
(การอธิบายคณุ ลักษณะท่ดี ี และการใช้สินค้าก่อนลกู คา้ จะทาการซอื้ เพื่อเปน็ การเชอ้ื เชญิ ใหเ้ กดิ สนใจ)
การบรกิ ารขณะขาย (การสาธติ ให้ลกู ค้าได้ชมกอ่ นทจ่ี ะตดั สนิ ใจซ้ือสินคา้ หรืออาจจะเป็นการให้ลกู ค้า
ทดลองดว้ ยตวั เองกอ่ น) และบรกิ ารหลงั การขายสินคา้ ให้กบั ลูกคา้ (เช่นการซ่อมบารุง หรือตรวจสอบ
สนิ ค้าเมื่อลกู ค้าได้ซื้อไปแลว้ โดยทาอยา่ งต่อเน่ือง เพอื่ สร้างความประทบั ใจระยะยาว)

4.2 ทฤษฏกี ลยุทธก์ ารตลาด (8Ps) กลยทุ ธ์ทางการตลาดสมัยใหมซ่ ง่ึ เป็นส่วนผสมทางการตลาด
(Marketing Mix) หรอื ทเี่ รยี กส้ันๆ วา่ 8P’s ต้องมแี นวทางความคดิ ทางการสื่อสารการตลาด(IMC)โดย
อาศัยเครอ่ื งมอื การตดิ ตอ่ สื่อสารกับผ้บู ริโภคแบบสมัยใหม่ซ่ึงแบง่ ส่วนขยายเพม่ิ เตมิ จากเดมิ อกี หลายส่วน
โดยเนน้ การสร้างผลกาไรสูงสดุ บนความพอใจของผูบ้ ริโภค เปน็ การทา ธรุ กจิ ระยะยาว (Long-Term
Business) พรอ้ มกบั พฤตกิ รรมที่เปลีย่ นไปของผบู้ รโิ ภคสมยั ใหม่ซึง่ เปล่ียนไปอย่างมากโดยเฉพาะการแบ่ง
ส่วนการตลาด (Segmentation) ไม่สามารถแบง่ ส่วนการตลาดแบบเดิม ๆ ได้แล้ว

4.2.1 กลยุทธผ์ ลติ ภัณฑ์ (Product Strategy) กลยทุ ธใ์ นสว่ นแรกน้จี ะเป็นเร่อื งท่เี กี่ยวข้อง
กบั การ ตดั สินใจในส่วนทเี่ ก่ียวเนอื่ งกับตัวผลิตภณั ฑ์ท้งั หมด ไมว่ ่าจะเป็นสว่ นของคณุ สมบัติสว่ นตวั ท่ีตอ้ ง
ตั้งเป้าว่าจะสามารถตอบสนองต่อความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคไดใ้ นระดับความพึงพอใจขนาดไหน การนา
สนิ คา้ ไปเปรียบเทยี บ กับผลิตภัณฑข์ องคแู่ ข่งขันในทอ้ งตลาดว่ามีจุดเด่นและ จุดดอ้ ยอย่างไร นอกจากน้ี
ยงั มใี นสว่ นของวัตถดุ บิ และสายงานการผลติ ดว้ ย

4.2.2 กลยุทธร์ าคา (Price Strategy) การกาหนดราคาของผลติ ภณั ฑ์สินคา้ ถอื เป็นกลยทุ ธ์
สาคญั ของแผนงานทางการตลาดทจี่ ะช่วยสร้างความได้เปรยี บมากขึน้ โดยการกาหนดราคาจะตอ้ ง

21

คานึงถึงปัจจัย ของตน้ ทุนการผลิตบวกกับผลกาไรที่ต้องการจะไดจ้ ากการขายผลิตภัณฑ์แล้วจึงทาการ
กาหนดราคาขายออกมา โดยต้องคานงึ สภาพการแขง่ ขนั ของตลาดสนิ ค้า นอกจากนก้ี ารกาหนดราคายงั มี
นัยทบ่ี ง่ บอกถงึ ตาแหนง่ ทีต่ อ้ งการจะ ใหส้ นิ คา้ ไปยืนอย่ดู ว้ ย ซึ่งการตงั้ ราคาอาจจะตั้งให้ใกลเ้ คยี ง กับสนิ ค้า
ประเภทเดยี วกันบนทอ้ งตลาด หรอื น้อยกว่าถ้า ต้องการแย่งชิงฐานลูกคา้ และมากกว่าถ้าต้องการวาง
ตาแหนง่ ผลิตภณั ฑ์ให้อยู่เหนอื กวา่ ผลิตภัณฑ์ทว่ั ไป

4.2.3 กลยุทธช์ อ่ งทางการจัดจาหนา่ ย (Place Strategy) ชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ยเปน็ หนึ่ง
ในยุทธศาสตรส์ าคญั ของการวางกลยุทธ์ทางการตลาด เพราะถ้าสามารถหาช่องทางการกระจายสินค้า
ไปสู่มอื ผ้บู ริโภคได้มากเท่าไหร่ ผลกาไรกจ็ ะเพิม่ สูงข้นึ มากเทา่ น้ัน โดยช่องทางการจัดจาหนา่ ยท่ีนิยมใช้กัน
ในปจั จบุ ันมอี ยู่ดว้ ยกนั สองรูปแบบ คือ การขายไปสู่มือของผบู้ ริโภคโดยตรงและการขายผ่าน พ่อค้าคน
กลาง ซึ่งสองวิธนี ี้จะมีขอ้ แตกต่างอย่ตู รงทว่ี ่า การขายตรงไปสมู่ ือผู้ใชส้ นิ คา้ จะไดก้ าไรทม่ี ากกวา่ ในขณะที่
การขายผา่ นพ่อค้าคนกลางจะชว่ ยในเรือ่ งของยอด การจาหนา่ ยทีส่ งู ข้ึนอนั มผี ลมาจากเครือข่ายท่พี ่อคา้
คนกลางไดว้ างเอาไวน้ ัน่ เอง

4.2.4 กลยุทธก์ ารสง่ เสริมการตลาด (Promotion Strategy) ในบรรดาการใชย้ ารักษาโรค
นน้ั การฉดี ยาจะเปน็ วธิ ที ่มี ีประสิทธภิ าพสูงสุดเนอ่ื งจากสามารถสง่ ยาเข้าสภู่ ายในร่างกาย ได้โดยตรง การ
สง่ เสรมิ การตลาดก็เช่นเดยี วกัน หากโปรโมชนั่ ท่อี อกมาตรงใจผูบ้ ริโภค ยอดขายและกาไรก็จะเพิม่ ข้นึ
อยา่ ง รวดเรว็ โดยกลยทุ ธก์ ารตลาดน้จี ะต้องใช้ส่งเสรมิ และสอดคล้องไปกันไดก้ ับกลยทุ ธ์อยา่ งอน่ื ด้วย
โดยการสง่ เสริมการ ตลาดน้สี ามารถทาไดห้ ลายวิธี ไมว่ ่าจะเปน็ การลด แลก แจก แถม เป็นตน้

4.2.5 กลยุทธบ์ รรจภุ ณั ฑ์ (Packaging Strategy) ในเลอื กซือ้ สนิ ค้าสิ่งทีป่ รากฏต่อสายตา
ของผ้บู ริโภคเปน็ อยา่ งแรกก็คือ บรรจุภัณฑ์ จงึ สามารถกล่าวไดว้ า่ บรรจภุ ัณฑ์เป็นหนา้ ตาของสนิ คา้
ดังน้นั การออกแบบดไี ซนร์ ปู ลักษณ์ บรรจภุ ณั ฑจ์ ึงเปน็ เรื่องหนง่ึ ท่สี าคญั โดยหลกั สาคญั คือจะตอ้ ง มีความ
สวยงามเหมาะสมกบั ผลติ ภัณฑอ์ ีกทง้ั ความโดดเด่น เมือ่ นาไปวางบนช้ันสนิ คา้ เปรยี บเทยี บกันกบั ของคแู่ ขง่
จะต้อง มีความเหนือชนั้ กว่าจึงจะประสบความสาเร็จตามแผนงานนี้

4.2.6 กลยุทธก์ ารใช้พนักงานขาย (Personal Strategy) พนกั งานขายเปน็ หน่งึ ในปจั จัย
สาคัญทีไ่ มเ่ พียงจะสง่ ผลตอ่ การตัดสินใจซ้อื แต่ยงั ส่งผลต่อทัศนคติของผ้บู รโิ ภค ที่มตี ่อสินค้าของคุณอีก
ดว้ ย เพราะพนกั งานเปน็ ผทู้ ท่ี าการติดตอ่ ส่อื สารกบั ผูบ้ ริโภค ดังน้ัน พนกั งานขายทม่ี คี วามสามารถและ

22

เอาใจใส่ลกู คา้ เปน็ อยา่ งดี จะทาใหผ้ ู้บริโภคมีทศั นคติท่ดี ี ต่อสนิ ค้าของคุณไปดว้ ย และสามารถนาไปสกู่ าร
ซ้ือซา้ หรือ การบอกตอ่ ได้อีกดว้ ย

4.2.7 กลยุทธข์ า่ วสาร (Public Relation Strategy) ในปัจจบุ นั เปน็ ยุคแหง่ การสือ่ สาร
ผู้บรโิ ภคมกั จะหาข้อมูล ผลติ ภัณฑ์กอ่ นจะตดั สินใจซ้อื ดงั น้นั ยิง่ ผลติ ภณั ฑ์ของคณุ มขี ้อมลู รายละเอียด
ปรากฏตามสอ่ื ต่างๆ มากเท่าใด ผบู้ รโิ ภค ก็สามารถตดั สนิ ใจซ้อื ไดง้ า่ ยขึ้นเทา่ นัน้

4.2.8 กลยุทธ์การใชพ้ ลัง (Power Strategy) เป็นเรื่องที่แน่นอนวา่ คุณจะไมใ่ ชผ่ ู้เดียวทท่ี า
ธรุ กิจในตลาด การตอ่ รองแลกเปล่ยี นผลประโยชน์กับผเู้ ล่นรายอน่ื จึงเป็น เร่ืองทีไ่ มอ่ าจหลกี เล่ียงได้ ดังนัน้
การแสวงหาหรือสร้างอานาจ ในการตอ่ รองจงึ เป็นเรือ่ งจาเปน็ เพือ่ ใหบ้ ริษัทได้รบั ข้อเสนอ ที่ดีท่ีสุดในกรณี
ที่ไมส่ ามารถตกลงกนั ตามแบบได้อยา่ งลงตวั

4.3 กลยทุ ธ์ตลาดออนไลน์ จะเริม่ เข้ามามีบทบาทกับการทาธรุ กิจมากข้ึน ไมว่ า่ จะเปน็ ธุรกิจ
ขนาดเล็ก หรือใหญแ่ คไ่ หนเพราะ การส่ือสารของคนไทย ไดเ้ ริ่มเปลี่ยนรูปแบบไปแลว้ ปีนี้ ดิจิตอลจะมี
บทบาทมากขน้ึ และจะทาให้เปล่ยี นพฤติกรรมมาใช้ช่องทางการสื่อสารออนไลน์เป็นหลกั มากขึน้ อย่าง
ต่อเน่อื ง

4.3.1 ช่องทางการขายหรือจาหน่ายสินคา้ (Channels) มีบทบาทต่อการเลือกซือ้ สินคา้ เป็น
อย่างมาก ไม่วา่ จะเป็น Facebook Page ที่มีฟังกช์ นั รายการสินค้าให้ลูกค้าเลือกได้, Line ชอ่ งทางในการ
ตดิ ตอ่ รวมถงึ สามารถสง่ ลงิ ค์ให้ลูกคา้ ได้ E-Marketplace รปู แบบต่างๆ ท่ีสามารถลงขายสินคา้ ได้ เชน่
Lazada, Shopee เปน็ ต้น, หรือเว็บไซตท์ ่ีมกี ารสร้างเป็น E-Commerce ของธรุ กจิ ถือเป็นตัวแปรสาคญั
ในการเลือกซอื้ ของลูกคา้ เน่ืองจากการที่มีตัวเลอื กของสินค้าหลากหลาย ลกู ค้าสามารถเลือกซื้อผ่าน
ช่องทางใดกไ็ ด้ทส่ี ะดวก ดงั น้ันการเลอื กชอ่ งทางการขายนน้ั สาคญั เพราะจะไดร้ กู้ ลมุ่ เปา้ หมายหลกั ของ
ธุรกิจ แต่ก็สามารถทาควบคกู่ ันไปไดใ้ นทกุ ชอ่ งทางได้อีกด้วย

4.3.2 การส่ือสารกบั ลกู ค้าหรอื ผู้ติดตามบนชอ่ งทางออนไลนข์ องคณุ เปน็ อีกหน่ึงกลยุทธ์ทดี่ ี
เพราะนอกจากจะชว่ ยดา้ นสัมพนั ธท์ ่ีดกี ับลกู ค้า ยังมคี วามสาคัญในการบรกิ ารที่ดีได้ดว้ ย การสอื่ สารกบั
ลกู ค้านัน้ อาจจะเป็นการทาคอนเทนต์ในลกั ษณะคาถาม เชิญชวนให้คนมาคอมเมนต์หรือแสดงความ
คิดเหน็ รวมถงึ การตอบคาถามผ่าน Chat message กับลูกคา้ โดยตรง ความเรว็ การให้ขอ้ มลู กับลกู ค้า
เปน็ สิ่งสาคญั ก็ถอื เปน็ กลยุทธ์การตลาดอกี วธิ หี น่ึง

23

4.3.3 Omni Channel Marketing อกี หน่ึงกลยุทธ์ทไ่ี ม่ควรมองข้าม เพราะเป็นกลยทุ ธท์ ่ี
นาการตลาดทางออนไลน์ (Online) เช่ือมโยงกับช่องทางออฟไลน์ (Offline) พดู อยา่ งง่ายๆคอื เมื่อเรามี
ทง้ั หน้ารา้ นและชอ่ งทางออนไลนใ์ นการขายสินคา้ จงึ สามารถเพิม่ บทบาทของท้งั สองชอ่ งทางเข้าดว้ ยกนั
ได้ เชน่ รา้ นอาหาร มีโปรโมชั่นบนช่องทางออนไลนใ์ หล้ กู คา้ สามารถสแกน QR Code หรือนาโคด้ ไป
แสดงหนา้ รา้ นเพอ่ื รบั สว่ นลดได้ เปน็ ต้น ซึง่ การทา Omni channels เปน็ ที่นยิ มเป็นอยา่ งมากใน
ต่างประเทศ สามารถเพม่ิ โอกาสในการเติบโตและเพิม่ ยอดขายไดเ้ ปน็ อย่างมาก

4.3.4 การซือ้ โฆษณาบน Search Engine อยา่ ง Google และ Social Media รูปแบบ
ตา่ งๆชว่ ยเพ่มิ โอกาสในการสร้างยอดขายไดเ้ ป็นอยา่ งมาก ทง้ั ยงั ชว่ ยเพ่ิม Traffic รวมถงึ เพ่ิม Brand
Awareness การรับรถู้ อื เป็นสงิ่ สาคญั ในการสรา้ งธรุ กจิ ในระยะยาวไดอ้ กี ด้วย

4.3.5 กลยุทธก์ ารกาหนดราคา (Price Strategic) เปน็ สิง่ สาคญั ทตี่ ้องคานึงในกรณีท่มี ี
สนิ คา้ หรือบริการเฉพาะธรุ กิจของคุณ การกาหนดราคาตอ้ งพิจาณาในเร่อื งความเหมาะสมของราคาว่า
ค้มุ คา่ ตอ่ ประโยชนท์ ลี่ ูกคา้ ได้รบั จากสินค้าหรือบรกิ ารของคณุ หรือไม่ และสนิ คา้ นน้ั เป็นทต่ี ้องการของ
ตลาดมากแค่ไหน เพราะหากเป็นสินคา้ ท่ัวไปกต็ ้องตั้งราคาต่ากวา่ ตลาด หรือการมโี ปรโมชั่นสว่ นลดมา
ดงึ ดดู ลูกค้าให้ได้มากที่สุด และกรณีท่ีตั้งราคาสงู กวา่ ตลาด ตอ้ งมคี ณุ ภาพท่ีสูงกว่าคู่แข่งอย่างไรนนั่ เป็นอีก
หน่งึ สิ่งในการกาหนด

4.3.6 คอนเทนต์ (Content) ท่ดี สี อดคลอ้ งกับสนิ ค้าและบรกิ าร แน่นอนวา่ การเลอื กซื้อ
สนิ คา้ ของผู้ใชง้ านบนออนไลน์ในปจั จบุ ันน้นั อาศัยการดึงดูดดว้ ยรวี ิว (review) ซงึ่ การเขียนรีวิวสนิ คา้ นั้นมี
ความหลากหลาย แตส่ ่งิ ที่ต้องคานึงถึงคือความสอดคล้องเกี่ยวข้องกบั ธรุ กจิ

4.3.7 Online Influencer มีบทบาทกบั ธรุ กจิ ที่ต้องการกระแสนยิ ม ก่อนหน้านี้ได้มีการ
พดู คยุ ถึงการมีบทบาทของอนิ ฟลูเอนเซอร์หรือผมู้ ีอทิ ธพิ ลบนออนไลน์กบั การทาตลาดออนไลนไ์ ปแล้ว ซงึ่
อนิ ฟลเู อนเซอรม์ อี ทิ ธิพลบน Social Media เช่น Twitter, Instagram เป็นหลกั และจะเนน้ การโปรโมท
สินคา้ ในลกั ษณะการทาให้เกดิ กระแสนยิ ม หรือเกดิ เทรนด์ เพิม่ โอกาสในการขายและเปน็ ท่ีรู้จักมากขน้ึ
แตส่ ิง่ สาคัญทส่ี ุดของการทาการตลาดรูปแบบน้ี คือการเลอื ก Influencer ทตี่ รงกลุ่มเป้าหมายของแบรนด์
สินคา้ หรอื บรกิ ารให้เหมาะสมน่นั เอง

24

4.3.8 กลยุทธ์การศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย (Customer Behavior) การ
วเิ คราะห์กลมุ่ เป้าหมายเป็นกลยุทธ์พนื้ ฐานในการทาการตลาดออนไลน์ เพราะเป็นสิง่ สาคัญในการกาหนด
ชอ่ งทางขายหลัก การทาคอนเทนตใ์ นรูปแบบท่ีเหมาะสมกบั ช่องทางน้นั ๆ ซง่ึ การวเิ คราะห์นีย้ งั เปน็ สง่ิ
สาคัญในการสรา้ งหรือปรับเปล่ียนขอ้ มลู การให้บรกิ ารในอนาคตไดอ้ ีกดว้ ย เช่น การศกึ ษาพฤติกรรมของ
ผู้ใช้ทเ่ี ข้ามาเวบ็ ไซต์ มกั จะเข้าอ่านคอนเทนตป์ ระเภทโปรโมชนั่ มากท่สี ุด กส็ ามารถนามาปรับใชใ้ นการ
อพั เดทขอ้ มลู ขา่ วสารของธุรกจิ ได้ เป็นตน้

4.3.9 การอัพเดทขอ้ มลู ที่สดใหม่ (Information Updates) นอกจากจะยังเป็นตัวแปร
สาคญั ในการเลือกซ้ือสินค้า ยังเป็นสิง่ สาคัญในการจัดอันดบั การค้นหาบน Google อกี ดว้ ย ตามมาด้วย
โอกาสในการขายที่เพ่มิ ข้ึน ดังนน้ั การทาคอนเทนตต์ ้องมกี ารอพั เดทอยา่ งสมา่ เสมอในทกุ ๆวันมปี ระโยชน์
ตอ่ ลูกค้า ผู้ท่ีสนใจ และตวั ธุรกจิ ของเราด้วย

5. การบรโิ ภคและทฤษฎีพฤติกรรมผบู้ รโิ ภค (Buyer Behavior’s Model)

5.1 การบริโภค (Consumption) หมายถึง มนษุ ยก์ ็เช่นเดยี วกบั สัตวโ์ ลกโดยทั่วไป ที่มีความหวิ
และความต้องการ แตม่ นุษยจ์ ะระงับความหวิ และความต้องการนั้นด้วยการอปุ โภคและบริโภคสนิ ค้าและ
บรกิ ารท่ีมนุษย์นนั้ เองเป็นผู้ผลติ ข้ึน ลักษณะทั่วไปของผู้บริโภค

5.1.1 ส่งิ เร้า (stimuli) ในทางทางการตลาด ได้แก่ ส่ิงทเ่ี ราเรียกวา่ สว่ นประสมทาง
การตลาดหรือ 4'Ps อันไดแ้ กผ่ ลติ ภณั ฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจาหน่ายและการส่งเสรมิ การตลาดน่นั เอง
สง่ิ แวดล้อมอืน่ ๆ ทางการตลาด ทีอ่ ยู่อยลู่ อ้ มรอบผู้บริโภคไดแ้ ก่ เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สงั คม การเมือง /
กฎหมาย และวัฒนธรรม ซึ่งมีอิทธพิ ลตอ่ การตัดสนิ ใจของผู้บริโภค ส่งิ เรา้ เหล่านนี้ ับเปน็ ตัวนาเขา้ หรือ
input ท่จี ะเขา้ ไปยังกลอ่ งดาของผู้บรโิ ภค และสง่ ผลใหม้ ีการตอบสนองออกมาเปน็ output

5.1.2 กล่องดา (black box) คาคานเ้ี ป็นนามธรรม โดยสมมตวิ ่ากล่องดาเปน็ ที่รวมเอา
ปัจจยั ต่างๆ ท่วี ่าน้ไี ด้แก่ วฒั นธรรม สังคม ลักษณะ สว่ นบุคคล และลกั ษณะทางจิตวิทยาของผ้บู ริโภคแต่
ละคนเอาไว้ นอกไปจากนี้ในกล่องดายงั มีกระบวนการตดั สินใจซ้อื อยู่อีกด้วย สิ่งเร้าเม่ือมาถึงกลอ่ งดาจะ
ถกู ปจั จัยต่าง ๆ ดังกลา่ วตกแต่งขัดเกลาแปรรปู ออกมาเป็นการตอบสนอง ถา้ การตอบสนองเป็นไปใน

25

ทางบวก กระบวนการตดั สนิ ใจซอื้ ทางาน จนกระท่ังมีการซอ้ื เกดิ ขนึ้ ตามมา ถ้าตอบสนองเป็นไปในทางลบ
ผบู้ รโิ ภคคงไมล่ งมือซ้ือ

5.1.3 การตอบสนอง (response) เป็นผลลัพธ์จากอทิ ธพิ ลของปัจจยั และกลไกการทางาน
ของกระบวนการตดั สินใจซ้อื ทอี่ ยใู่ นกลอ่ งดาของผู้บริโภค ถ้าการตอบสนองเป็นไปในทางบวก จะ
สังเกตเหน็ ผบู้ ริโภคไปเลอื กผลติ ภัณฑ์ทจี่ ะซอื้ เลือกตราผลิตภัณฑท์ ่ีจะซ้ือเลือกรา้ นคา้ ที่จะซอ้ื เลือกจงั หวะ
เวลาท่ีจะซือ้ และเลือกจานวนท่จี ะซอ้ื เป็นต้น

5.2 พฤติกรรมของผู้บริโภค (Consumer Behavior) หมายถงึ การแสดงออกของแตล่ ะบุคคลท่ี
เก่ยี วขอ้ งโดยตรงกับการใชส้ ินคา้ และบริการทางเศรษฐกิจ รวมทั้งกระบวนการในการตดั สนิ ใจท่มี ีผลตอ่
การแสดงออก

5.2.1 ประโยชนข์ องการศึกษาพฤติกรรมผบู้ รโิ ภค
5.2.1.1 ชว่ ยให้นกั การตลาดเข้าใจถึงปัจจัยที่มีอทิ ธพิ ลต่อการตดั สินใจซือ้ สินค้าของ

ผบู้ ริโภค
5.2.1.2 ช่วยให้ผเู้ ก่ยี วข้องสามารถหาหนทางแก้ไขพฤติกรรมในการตดั สินใจซ้อื

สินคา้ ของผบู้ ริโภคในสงั คมไดถ้ กู ตอ้ งและสอดคล้องกับความสามารถในการตอบสนองของธุรกจิ มากย่งิ ขึน้
5.2.1.3 ช่วยให้การพัฒนาตลาดและการพัฒนาผลติ ภัณฑส์ ามารถทาไดด้ ีขน้ึ
5.2.1.4 เพ่อื ประโยชน์ในการแบ่งสว่ นตลาด เพ่อื การตอบสนองความต้องการของ

ผบู้ รโิ ภค ใหต้ รงกับชนดิ ของสินคา้ ทตี่ อ้ งการ
5.2.1.5 ชว่ ยในการปรับปรุงกลยุทธก์ ารตลาดของธุรกจิ ต่าง ๆ เพือ่ ความได้เปรยี บ

คแู่ ขง่ ขัน
5.2.2 กระบวนการพฤตกิ รรมผบู้ ริโภค (Process of Behavior)
5.2.2.1 พฤติกกรมเกดิ ขนึ้ ได้ตอ้ งมสี าเหตุทาใหเ้ กดิ
5.2.2.2 พฤติกรรมเกดิ ขนึ้ ไดจ้ ะต้องมีสิ่งจูงใจหรือแรงกระตนุ้
5.2.2.3 พฤติกรรมทีเ่ กดิ ขน้ึ ย่อมมุ่งไปสเู่ ปา้ หมาย
5.2.3 ปัจจยั ทม่ี ีผลต่อพฤตกิ รรมการซอื้ ของผู้บรโิ ภค

26

5.2.3.1 ปจั จัยทางวฒั นธรรม เปน็ ปัจจยั ข้นั พ้นื ฐานทส่ี ดุ ในการกาหนดความตอ้ งการ
และพฤติกรรมของ มนษุ ย์ เช่น การศกึ ษา ความเช่ือ ยงั รวมถงึ พฤติกรรมส่วนใหญ่ท่ไี ดร้ บั การยอมรบั
ภายในสังคมใดสังคมหนง่ึ โดยเฉพาะ ลกั ษณะชนั้ ทางสงั คม ประกอบด้วย 6 ระดบั

1) ชนั้ ท่ี 1 Upper-Upper Class ประกอบดว้ ยผู้ทมี่ ชี ่อื เสียงเกา่ แกเ่ กิดมา
บนกองเงนิ กองทอง

2) ชั้นที่ 2 Lower –Upper Class เปน็ ชน้ั ของคนรวยหนา้ ใหม่ บุคคล
เหลา่ นี้เป็นผู้ยิ่งใหญ่ในวงการบริหาร เปน็ ผู้ทมี่ ีรายไดส้ ูงสดุ ในจานวนช้นั ทง้ั หมด จัดอยู่ในระดับมหาเศรษฐี

3) ชั้นท่ี 3 Upper-Middle Class ประกอบด้วยชายหญิงท่ีประสบ
ความสาเรจ็ ในวิชาอ่ืน ๆ สมาชกิ ชั้นนส้ี ่วนมากจบปริญญาจากมหาวิทยาลยั กลมุ่ นี้เรียกกนั วา่ เปน็ ตาเปน็
สมองของสังคม

4) ชั้นท่ี 4 Lower-Middle Class เป็นพวกทีเ่ รียกวา่ คนโดยเฉลี่ย
ประกอบด้วยพวกท่ีไมใ่ ชฝ่ ่ายบรหิ าร เจ้าของธรุ กิจขนาดเลก็ พวกทางานน่ังโต๊ะระดบั ตอ่

5) ชนั้ ท่ี 5 Upper-Lower Class เป็นพวก จนแตซ่ ่อื สตั ย์ ได้แก่ชนช้ัน
ทางานเปน็ ชน้ั ทใ่ี หญท่ ่ีสุดในชั้นทางสังคม

6) ชัน้ ที่ 6 Lower-Lower Class ประกอบดว้ ยคนงานทีไ่ มม่ คี วามชานาญ
กล่มุ ชาวนาทไ่ี ม่มที ่ีดนิ เป็นของตนเองชนกลุ่มน้อย

5.2.3.2 ปัจจยั ทางสังคม เปน็ ปัจจยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ งในชีวติ ประจาวนั และมอี ิทธพิ ลต่อ
พฤติกรรมการซึง่ ประกอบด้วยกลุ่มอ้างองิ ครอบครวั บทบาท และสถานะของผ้ซู ื้อ

1) กลุม่ อ้างอิง หมายถึงกลมุ่ ใด ๆ ทมี่ ีการเก่ียวขอ้ งกนั ระหวา่ งคนในกลมุ่
แบง่ เป็น 2 ระดบั คอื กล่มุ ปฐมภูมิ ไดแ้ ก่ครอบครัว เพอื่ นสนทิ มักมีขอ้ จากัดในเรอื่ งอาชพี ระดบั ชัน้ ทาง
สงั คม ช่วงอายุ และกลุ่มทุตยิ ภมู ิ เปน็ กลุ่มทางสงั คมท่ีมีความสัมพนั ธ์แบบตัวตอ่ ตวั แตไ่ มบ่ ่อย มคี วาม
เหนยี วแน่นน้อยกวา่ กลมุ่ ปฐมภมู ิ

2) ครอบครัว เป็นสถาบนั ที่ทาการซอื้ เพ่ือการบรโิ ภคทส่ี าคญั ท่สี ุด นกั การ
ตลาดจะพจิ ารณา ครอบครวั มากกว่าพิจารณาเป็นรายบุคคล

27

3) บทบาททางสถานะ บุคคลท่จี ะเกี่ยวขอ้ งกบั หลายกลุ่ม เชน่ ครอบครวั
กลุ่มอ้างองิ ทาให้ บุคคลมีบทบาทและสถานภาพท่ีแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะกลุ่ม

5.2.3.3 ปัจจยั ส่วนบคุ คล การตัดสนิ ใจของผ้ซู ือ้ มกั ไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากคุณสมบัติสว่ น
บุคคลตา่ ง ๆ เช่น อายุ อาชพี สภาวการณท์ างเศรษฐกิจ การศึกษา รูปแบการดาเนนิ ชีวิต วฏั จักรชีวิต
ครอบครวั

5.2.3.4 ปัจจยั ทางจิตวทิ ยา การเลือกซื้อของบคุ คลไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากปจั จัยทาง
จติ วทิ ยา ซง่ึ จดั ปัจจัยในตวั ผูบ้ ริโภคท่ีมีอทิ ธิพลต่อพฤติกรรมการซอื้ และใช้สินค้า ปัจจยั ทางจิตวทิ ยา
ประกอบดว้ ยการจูงใจ การรับรู้ ความเช่ือและเจตคติ บุคลิกภาพและแนวความคดิ ของตนเอง

5.2.4 กระบวนการตัดสนิ ใจของผู้ซ้อื
5.2.4.1 ข้นั ที่ 1 การรับรถู้ ึงปัญหา กระบวนการซ่ือจะเกิดขนึ้ เมือ่ ผซู้ ือ้ ตระหนกั ถงึ

ปญั หาหรือความต้องการของตนเอง
5.2.4.2 ข้นั ท่ี 2 การคน้ หาข้อมูล ในข้ันนี้ผู้บรโิ ภคจะแสวงหาข้อมูลเพอ่ื ตดั สนิ ใจ ใน

ข้นั แรกจะค้นหาข้อมูลจากแหลง่ ภายในกอ่ น เพือ่ นามาใชใ้ นการประเมินทางเลือก หากยังได้ข้อมลู ไม่
เพียงพอก็ต้องหาขอ้ มลู เพ่ิมจากแหลง่ ภายนอก

5.2.4.3 ขั้นท่ี 3 การประเมินผลทางเลอื ก ผู้บรโิ ภคจะนาข้อมูลที่ได้รวบรวมไวม้ า
จดั เปน็ หมวดหมู่และวิเคราะหข์ อ้ ดี ข้อเสยี ทัง้ ในลักษณะการเปรียบเทียบหาทางเลอื กและความคมุ้ ค่ามาก
ทสี่ ดุ

5.2.4.4 ข้ันที่ 4 การตัดสินใจเลอื กทางเลือกทดี่ ีที่สดุ หลังการประเมนิ ผู้ประเมนิ จะ
ทราบขอ้ ดี ขอ้ เสีย หลงั จากน้ันบคุ คลจะตอ้ งตัดสนิ ใจเลอื กทางเลอื กที่ดีที่สุดในการแกป้ ญั หา มักใช้
ประสบการณใ์ นอดตี เป็นเกณฑ์ ทงั้ ประสบการณ์ของตนเองและผอู้ นื่

5.2.4.5 ขั้นที่ 5 การประเมินภายหลังการซอื้ เปน็ ขัน้ สุดทา้ ยหลังจากการซ้ือ
ผู้บรโิ ภคจะนาผลิตภัณฑ์ทซ่ี อื้ นน้ั มาใช้ และในขณะเดียวกนั กจ็ ะทาการประเมินผลติ ภัณฑ์นั้นไปด้วย ซึง่ จะ
เห็นไดว้ ่า กระบวนการตดั สนิ ใจซอื้ ของผู้บริโภคเป็นกระบวนการตอ่ เน่ือง ไมไ่ ด้หยดุ ตรงท่กี ารซอื้

28

6. แนวคิดการออกแบบบรรจุภณั ฑ์

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Packaging Design) หมายถึง การกาหนดรปู แบบและโครงสรา้ งของ
บรรจุภณั ฑใ์ หส้ ัมพนั ธ์กับหนา้ ที่ใช้สอยของผลิตภัณฑ์ เพ่อื การค้มุ ครองป้องกนั ไม่ใหส้ นิ คา้ เสียหายและเพ่มิ
คณุ ค่าด้านจิตวิทยาตอ่ ผ้บู รโิ ภค โดยอาศัยท้ังศาสตร์และศลิ ป์ในการสรา้ งสรรค์

6.1 วัตถปุ ระสงคข์ องการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์
6.1.1 เพื่อช่วยปกป้องค้มุ ครองและรักษาคุณภาพสนิ คา้
6.1.2 เพอ่ื เปน็ ตัวชี้บง่ และส่ือสารรายละเอียดสินค้า ดงึ ดูดผูบ้ ริโภค ให้แสดงถงึ ภาพลกั ษณ์
6.1.3 เพ่อื สร้างบรรจุภณั ฑใ์ หส้ ามารถเอ้ือประโยชน์ดา้ นหน้าทีใ่ ช้สอยไดด้ ี มีความปลอดภัย

ประหยัดและมีประสทิ ธิภาพ
6.1.4 เพื่อสร้างบรรจุภณั ฑใ์ หส้ ามารถสื่อสาร และสร้างผลกระทบตอ่ ผบู้ ริโภคโดยใช้ความรู้

แขนงศิลปะเขา้ มาสร้างคณุ ลักษณะ เชน่ มีเอกลกั ษณ์ลกั ษณะพเิ ศษทด่ี งึ ดดู และสรา้ งการจดจา ตลอดจน
เขา้ ถึงความหมายและคุณประโยชนข์ องผลติ ภณั ฑ์

6.2 ความสาคัญของบรรจภุ ัณฑ์
6.2.1 รกั ษาคุณภาพ และปกปอ้ งตวั สนิ ค้าเริ่มตง้ั แต่การขนส่ง การเกบ็ ให้ผลผลติ หรอื

ผลติ ภัณฑ์เหล่านน้ั มใิ หเ้ สียหายจากการปนเป้ือนจากฝุน่ ละออง แมลง คน ความชืน้ ความรอ้ น แสงแดด
และการปลอมปนอืน่ ๆ เป็นต้น

6.2.2 ใหค้ วามสะดวกในเรือ่ งการขนสง่ การจัดเก็บมคี วามรวดเร็วในการขนส่ง เพราะ
สามารถรวมหนว่ ยของผลิตภัณฑเ์ หล่าน้ันเป็นหนว่ ยเดียวได้ เช่น ผลไม้หลายผลนาลงบรรจุในลังเดียวหรือ
เครอื่ งดม่ื ที่เป็นของเหลวบรรจุลงในกระป๋องหรอื ขวดได้ เปน็ ต้น

6.2.3 สง่ เสริมทางดา้ นการตลาด บรรจภุ ัณฑเ์ พือ่ การจดั จาหนา่ ยเปน็ สิง่ แรกท่ีผบู้ รโิ ภคเห็น
ดังนัน้ บรรจุภณั ฑจ์ ะต้องจะทาหนา้ ทีบ่ อกกลา่ วส่งิ ตา่ ง ๆ ของตัวผลิตภณั ฑโ์ ดยการบอกขอ้ มูลท่ีจาเป็น
ทัง้ หมดของตัวสินคา้ และนอกจากนัน้ จะต้องมีรูปลกั ษณท์ ่สี วยงามสะดดุ ตาเชิญชวนใหเ้ กดิ การตดั สินใจซ้ือ
ซง่ึ การทาหน้าทดี่ งั กลา่ วของบรรจุภณั ฑ์นน้ั เป็นเสมอื นพนกั งานขายทไ่ี ร้เสียง (Silent Salesman)

6.3 หนา้ ทแ่ี ละประโยชน์ของบรรจภุ ัณฑ์
6.3.1 การทาหนา้ ท่ีบรรจุใส่สนิ ค้า เชน่ ใส่ห่อสินค้า ด้วยการชงั่ ตวงวัดหรอื นับ

29

6.3.2 การทาหนา้ ที่คมุ้ ครองป้องกนั ตวั ผลิตภัณฑ์ ไม่ใหส้ นิ ค้าเสยี รูปแตกหกั ไหลซึม
6.3.3 ทาหน้าทรี่ ักษาคุณภาพอาหาร เชน่ ป้องกันอากาศซึมผา่ น ป้องกนั แสง และปอ้ งกนั
ความช้นื เปน็ ตน้
6.3.4 ทาหนา้ ทเี่ ปน็ ฉลากแสดงขอ้ มลู รายละเอยี ดของสินคา้ เชน่ เคร่อื งหมายการคา้ ข้อมูล
ส่วนผสม และแหลง่ ผลิต เป็นตน้
6.3.5 ทาให้ต้ังราคาขายได้สูงขึน้ เน่ืองจากความสวยงามของบรรจุภณั ฑจ์ ะสร้างมูลค่าเพิ่ม
ใหแ้ ก่สินคา้
6.3.6 เพ่อื อานวยความสะดวกในการจดั วางขนสง่ และจดั แสดง
6.3.7 สรา้ งความน่าสนใจและดึงดูดผู้บริโภค เปน็ การส่งเสริมการขายและเพ่มิ ยอดขาย
6.4 ประเภทของบรรจภุ ัณฑ์
6.4.1 แบง่ ตามวิธกี ารบรรจุและวิธีการขนถา่ ย

6.4.1.1 บรรจุภณั ฑเ์ ฉพาะหน่วย (Individual Package) คอื บรรจุภัณฑท์ ี่สัมผัสอยู่
กบั ผลิตภัณฑ์ชัน้ แรก เป็นสิง่ ทบ่ี รรจุผลิตภัณฑเ์ อาไวเ้ ฉพาะหนว่ ย โดยมีวัตถุประสงคข์ น้ั แรก คือเพิ่มคณุ ค่า
ในเชิงพาณชิ ย์ เช่น การกาหนดใหม้ ีลักษณะพเิ ศษเฉพาะหรอื ทาให้มีรปู รา่ งทเี่ หมาะแกก่ ารจบั ถอื และ
อานวยความสะดวกต่อการใช้ผลิตภัณฑ์ พรอ้ มท้งั ทาหนา้ ทีใ่ ห้ความปกปอ้ งแก่ผลติ ภัณฑโ์ ดยตรงอกี ดว้ ย

6.4.1.2 บรรจภุ ัณฑช์ ้นั ใน (Inner Package) คือบรรจภุ ณั ฑ์ท่ีอยูถ่ ัดออกมา เปน็ ช้ันท่ี
สอง มหี น้าท่ีรวบรวมบรรจุภัณฑ์ขั้นแรกเขา้ ไว้ดว้ ยกันเป็นชดุ ในการจาหนา่ ยรวม ต้งั แต่ 2–24 ชิน้ ขึ้นไป
โดยมีวัตถุประสงค์ขน้ั แรก คือ การป้องกนั รักษาผลิตภัณฑจ์ ากน้า ความช้ืน ความรอ้ น แสง แรง
กระทบกระเทอื น และอานวยความสะดวกแก่การขายปลีกย่อย เป็นตน้ โดยตัวอย่างของบรรจภุ ัณฑ์
ประเภทนี้ ได้แก่ กลอ่ งกระดาษแข็งทีบ่ รรจุเครอื่ งดมื่ จานวน 1 โหล และสบู่ 1 โหล เป็นตน้

6.4.1.3 บรรจภุ ัณฑช์ น้ั นอกสดุ (Out Package) คือบรรจุภัณฑ์ท่เี ป็นหนว่ ยรวม
ขนาดใหญ่ท่ใี ช้ในการขนสง่ โดยปกตแิ ลว้ ผซู้ อื้ จะไม่ไดเ้ หน็ บรรจุภณั ฑป์ ระเภทนี้มากนกั เน่ืองจากทาหนา้ ที่
ป้องกนั ผลิตภณั ฑ์ในระหวา่ งการขนส่งเทา่ นั้น ลกั ษณะของบรรจภุ ณั ฑ์ประเภทน้ี ไดแ้ ก่ หีบ ไม้ ลงั กล่อง
กระดาษขนาดใหญท่ ่ีบรรจสุ นิ ค้าไวภ้ ายใน ภายนอกจะบอกเพยี งขอ้ มูลทจ่ี าเปน็ ตอ่ การขนส่งเท่านัน้ เชน่
รหสั สินค้า (Code) เลขที่ (Number) ตราสนิ ค้า และสถานที่สง่ เปน็ ตน้

30

6.4.2 แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้
6.4.2.1 บรรจุภัณฑ์เพื่อการขายปลีก (Consumer Package) เป็นบรรจภุ ณั ฑท์ ี่

ผบู้ ริโภคซอ้ื ไปใชไ้ ป อาจมีชนั้ เดียว หรือหลายช้ันก็ได้ ซึง่ อาจเป็น Primary Package หรือ Secondary
Package ก็ได้

6.4.2.2 บรรจุภณั ฑเ์ พ่อื การขนสง่ (Transportation Package) เปน็ บรรจุภณั ฑ์ท่ี
ใช้รองรับหรือหอ่ หมุ้ บรรจุภัณฑข์ ้ันทตุ ิยภมู ิ ทาหน้าทร่ี วบรวมเอาบรรจุภณั ฑ์ขายปลีกเขา้ ด้วยกันใหเ้ ปน็
หนว่ ยใหญ่ เพอื่ ความปลอดภยั และความสะดวกในการเกบ็ รกั ษา และการขนสง่ เช่น กล่องกระดาษลกู ฟกู
ทใ่ี ช้บรรจุยาสฟี นั กลอ่ งละ 3 โหล

6.4.3 แบง่ ตามความคงรปู
6.4.3.1 บรรจภุ ัณฑ์ประเภทรปู ทรงแขง็ ตัว (Rigid Forms) ไดแ้ ก่ เครือ่ งแกว้

(Glass Ware) เซรามิก (Ceramic) พลาสตกิ จาพวก Thermosetting ขวดพลาสตกิ สว่ นมากเป็น
พลาสติกฉีด เครอ่ื งปนั้ ดินเผา ไม้ และโลหะ มีคณุ สมบตั ิแข็งแกร่งทนทานเอือ้ อานวยตอ่ การใช้งาน และ
ปอ้ งกนั ผลติ ภัณฑ์จากสภาพแวดล้อมภายนอกไดด้ ี

6.4.3.2 บรรจุภณั ฑ์ประเภทรูปทรงกึ่งแขง็ ตวั (Semi Rigid Forms) ได้แก่ บรรจุ
ภัณฑ์ที่ทาจากพลาสติกออ่ น กระดาษแขง็ และอะลมู ิเนยี มบาง คุณสมบัติทั้งดา้ นราคา น้าหนกั และการ
ป้องกนั ผลิตภณั ฑจ์ ะอยูใ่ นระดับปานกลาง

6.4.3.3 บรรจภุ ณั ฑป์ ระเภทรูปทรงยืดหยุ่น (Flexible Forms) ไดแ้ ก่ บรรจุภณั ฑ์ท่ี
ทาจากวัสดอุ ่อนตัว มลี ักษณะเปน็ แผ่นบาง ได้รบั ความนิยมสูงมาก เนื่องจากมีราคาถกู หากใชใ้ นปรมิ าณ
มาก และระยะเวลานาน น้าหนักนอ้ ย มีรูปแบบ และโครงสร้างมากมาย

6.4.4 แบง่ ตามวสั ดบุ รรจภุ ัณฑ์ทใ่ี ช้
การจัดแบง่ และเรียกชอื่ บรรจภุ ัณฑ์ในทรรศนะของผู้ออกแบบ ผู้ผลติ หรอื นักการตลาดจะ
แตกตา่ งกนั ออกไป บรรจุภัณฑแ์ ต่ละประเภทกต็ ง้ั อยูภ่ ายใตว้ ัตถุประสงค์หลกั ใหญ่ที่คลา้ ยกนั คอื เพ่ือ
ปอ้ งกันผลติ ภณั ฑ์ เพื่อจาหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ และเพื่อโฆษณาประชาสมั พนั ธ์ผลติ ภัณฑ์
6.5 องคป์ ระกอบทอ่ี อกแบบไว้บนบรรจุภัณฑ์ เป็นปจั จัยสาคญั ในการเลือกซอื้ สนิ ค้านน้ั
รายละเอยี ด หรือส่วนประกอบบนบรรจุภัณฑจ์ ะแสดงออกถึงจติ สานึกของผ้ผู ลิตสนิ ค้าและสถานะของ

31

บรรจภุ ณั ฑ์ สามารถขยับเปน็ ส่อื โฆษณาระยะยาว ส่วนองค์ประกอบทีส่ าคญั บนบรรจุภัณฑอ์ ย่างน้อยที่สุด
ควรมี ดังนี้

6.5.1 ช่ือสนิ ค้า
6.5.2 ตราสนิ ค้า
6.5.3 สญั ลักษณท์ างการค้า
6.5.4 รายละเอยี ดของสนิ คา้
6.5.5 รายละเอียดส่งเสรมิ การขาย
6.5.6 รูปภาพ
6.5.7 สว่ นประกอบของสนิ ค้า
6.5.8 ปรมิ าตรหรอื ปรมิ าณ
6.5.9 ชื่อผู้ผลิตและผู้จาหนา่ ย
6.5.10 รายละเอียดตามข้อบงั คับของกฎหมาย เชน่ วนั ผลิต และวันหมดอายุ เปน็ ต้น
หลงั จากทมี่ กี ารเกบ็ ข้อมลู รายละเอียดตา่ ง ๆ ดงั กล่าวมาแลว้ จงึ เริ่มกระบวนการออกแบบดว้ ยการเปล่ยี น
ข้อมลู ท่ไี ด้รับมาเปน็ กราฟฟกิ บนบรรจุภัณฑ์
6.6 ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลต่อราคาของบรรจุภณั ฑ์ ในกระบวนการสร้างสรรคบ์ รรจภุ ณั ฑ์ มีองคป์ ระกอบ
ทเ่ี ข้ามาเก่ยี วข้องทีส่ ง่ ผลต่อราคาของการพฒั นาบรรจุภัณฑท์ ัง้ ตอ่ ราคารวมและราคาต่อหนว่ ย ดังน้ี
6.6.1 ราคาต้นทุนของวสั ดุบรรจุภณั ฑ์
6.6.2 ราคาของกรรมวิธีการผลิตบรรจุภณั ฑ์
6.6.3 ราคาของการเกบ็ รักษาและการขนสง่
6.6.4 ราคาของเคร่ืองมือเครื่องจักรท่ีใช้ในการผลิตและบรรจภุ ณั ฑ์
6.6.5 ราคาของการใชแ้ รงงานท่ีเกยี่ วข้อง
6.7 ขอ้ พจิ ารณาในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ บรรจุภณั ฑ์ท่ีดีนน้ั จะตอ้ งสามารถผลิต และนาไป
บรรจุไดด้ ว้ ยวธิ กี ารท่ีสะดวก ประหยัด และรวดเร็ว การเลือกบรรจุภัณฑม์ ีขอ้ พจิ ารณา ดงั ต่อไปน้ี
6.7.1 ลักษณะของสนิ คา้ คณุ สมบตั ทิ างกายภาพประกอบดว้ ย ขนาด รูปทรง ปริมาตร
สว่ นประกอบหรือส่วนผสม ของแข็ง ของเหลว ผู้ออกแบบต้องทราบความเหนยี วขน้ ในกรณีเป็นของเหลว

32

และต้องรูน้ า้ หนกั หรอื ปรมิ าณหรอื ความหนาแน่นสาหรับสินค้าทเี่ ป็นของแหง้ ประเภทของสนิ ค้าคุณสมบตั ิ
ทางเคมี คอื สาเหตุทีท่ าให้สนิ ค้าเนา่ เสียหรือเสื่อมคณุ ภาพจนไมเ่ ป็นที่ยอมรับได้ และปฏกิ ริ ยิ าอ่นื ๆ ที่
อาจจะเกดิ ขนึ้ คุณสมบัติพเิ ศษอ่นื ๆ เช่น กล่ิน การแยกตัว เปน็ ต้น สนิ ค้าทีจ่ าหน่ายมีลกั ษณะเป็นอยา่ งไร
มคี ุณสมบตั ิทางฟสิ ิกส์ หรือทางเคมอี ย่างไร เพอ่ื จะไดเ้ ลอื กวสั ดุในการทาบรรจภุ ัณฑ์ท่ีปอ้ งกันรกั ษาได้ดี

6.7.2 ตลาดเป้าหมา ตอ้ งศึกษาความต้องการของลูกค้าเป้าหมายเพ่อื จะไดเ้ ลอื กบรรจภุ ัณฑ์
ท่ีตรงกับความต้องการของตลาดหรอื กลุ่มลูกค้าการพฒั นาบรรจภุ ณั ฑ์ ใหส้ นองกบั ความต้องการของ
กลุ่มเปา้ หมาย ต้องวเิ คราะหจ์ ดุ ยืนของสินค้าและบรรจภุ ัณฑเ์ ทียบกับคู่แขง่ ขันทมี่ กี ลมุ่ เปา้ หมายเดยี วกัน
เช่น ข้อมลู ปรมิ าณสนิ ค้าท่จี ะบรรจขุ นาด จานวนบรรจุภณั ฑ์ ตอ่ หนว่ ยขนสง่ และอาณาเขตของตลาด
เป็นต้น

6.7.3 วธิ จี ดั จาหน่าย การจาหน่ายโดยตรงจากผูผ้ ลิตไปสู่ผบู้ ริโภคยอ่ มต้องการบรรจภุ ณั ฑ์
ลกั ษณะหน่งึ แตห่ ากจาหนา่ ยผา่ นคนกลาง เปน็ คนกลางประเภทใด มีวธิ ีการซ้ือของเขา้ ร้านอย่างไร
วางขายสินคา้ อย่างไร เพราะพฤติกรรมของรา้ นคา้ ยอ่ มมอี ทิ ธพิ ลต่อโอกาสขายของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ รวมทง้ั
พจิ ารณาถึงผลติ ภณั ฑข์ องคู่แข่งขนั ทีจ่ าหนา่ ยในแหล่งเดียวกนั ด้วย

6.7.4 การขนสง่ มีหลายวธิ ี และใช้พาหนะต่างกัน รวมท้งั ระยะในการขนส่ง ความทนทาน
และความแข็งแรงของบรรจุภณั ฑ์ การคานึงถึงวธิ ที ่ีจะใช้ในการขนส่งก็เพ่ือพจิ ารณาเปรยี บเทยี บให้เกิดผล
เสียนอ้ ยที่สุด รวมถงึ ประหยดั และปัจจยั เรื่องดินฟ้าอากาศ ในปจั จุบนั นิยมการขนส่งด้วยระบบต้บู รรทกุ
สาเร็จรปู

6.7.5 การเก็บรักษา การเลอื กบรรจภุ ณั ฑ์จะต้องพิจารณาถึงวธิ ีการเก็บรกั ษา สภาพของ
สถานที่เก็บรักษา รวมทั้งวธิ กี าร เคลอื่ นย้ายในสถานท่ีเกบ็ รกั ษาดว้ ย

6.7.6 ลักษณะการนาไปใชง้ าน ตอ้ งนาไปใชง้ านไดส้ ะดวกเพอื่ ประหยดั เวลา แรงงาน และ
ค่าใช้จ่าย

6.7.7 ตน้ ทนุ ของบรรจุภัณฑ์ เปน็ ปจั จัยทีจ่ ะตอ้ งคานงึ ถึงเปน็ อย่างมาก และต้องคานงึ ถึง
ผลกระทบทมี่ ตี ่อยอดขาย หรือความสญู เสียค่าใช้จา่ ยอนื่ ๆ บรรจุภัณฑด์ อี าจตอ้ งจา่ ยสูงแตด่ งึ ดูดความ
สนใจของผซู้ ื้อยอ่ มเป็นส่งิ ชดเชยท่ีควรเลอื กปฏบิ ัติ รวมถึงผลการชดเชยในกระบวนการผลติ การบรรจุที่
สะดวก รวดเร็ว เสียหายนอ้ ย ประหยัด และลดต้นทุนการผลติ ได้

33

6.7.8 ปญั หาด้านกฎหมาย บทบญั ญตั ดิ า้ นกฎหมายเกี่ยวกับบรรจุภัณฑท์ ่ีปรากฏชันเจน
คือ กฎระเบียบและขอ้ บงั คับเกี่ยวกบั ฉลากการออกแบบกราฟกิ ของผลิตภัณฑ์ตอ้ งเป็นไปตามขอ้ บงั คับ
นอกจากนี้ยังต้องศึกษาการใช้สัญลกั ษณเ์ กย่ี วกับส่ิงแวดล้อม เป็นต้น และกฎระเบียบและขอ้ บงั คับ
เก่ียวกบั สิ่งแวดลอ้ ม เปน็ ตน้

7. ทฤษฎีกลไกราคา

7.1 ราคาสนิ ค้า คอื มูลคา่ ของสินค้าและบรกิ ารท่ีผปู้ ระกอบการทาการผลิตได้และนามา
จาหนา่ ยให้แก่ผบู้ รโิ ภค เชน่ นาย ก. ผลิตปากกาออกขายให้แกน่ ักเรียนในราคาด้ามละ 5 บาท เป็นตน้
ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม หรอื ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซึง่ การผลิตการบรโิ ภคส่วนใหญเ่ ปน็ เรือ่ ง
ของภาคเอกชน โดยผ่านกลไกของราคา นน้ั ราคาสินคา้ และบรกิ ารจะทาหนา้ ท่ี 3 ประการ คือ

7.1.1 กาหนดมูลคา่ ของสนิ ค้า ในการซ้อื ขายแลกเปลี่ยนท่ใี ช้เงินเปน็ สือ่ กลาง ราคาจะทา
หนา้ ท่ีกาหนดมูลค่า เพ่ือใหผ้ ู้ซอ้ื ตัดสินใจทจี่ ะซอื้ สนิ ค้าในมลู คา่ ที่คุ้มหรือไมค่ ุ้มกบั เงนิ ท่เี ขาจะต้องเสยี ไป
ราคาสินค้าบางแห่งก็กาหนดไว้แนน่ อนตายตัว แตบ่ างแห่งกต็ ง้ั ไวเ้ ผือ่ ต่อ เพ่อื ให้ผซู้ อื้ ต่อรองราคาได้

7.1.2 กาหนดปริมาณสินค้า ในการซอ้ื ขายแลกเปล่ียนกันนน้ั ถา้ สินค้ามรี าคาถูก ผ้ซู ้ือจะ
ซ้อื ปรมิ าณมากขน้ึ ส่วนผูข้ ายจะเสนอขายในปรมิ าณน้อยลง แต่ถ้าสินคา้ มรี าคาแพงผูซ้ ือ้ จะซือ้ ปริมาณ
น้อยลงสว่ นผขู้ ายจะขายในปรมิ าณมากข้นึ ราคาจึงเป็นตวั กาหนดปรมิ าณสนิ ค้าท่ีจะซื้อขายกนั

7.1.3 กาหนดปรมิ าณการผลิตของผู้ประกอบการ ในระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซึง่ การ
ผลิตส่วนใหญเ่ ปน็ เรอ่ื งของเอกชนนัน้ จะมปี ัญหาว่าผผู้ ลิตควรจะผลิตในปริมาณสกั เท่าใดจงึ จะพอดีกับ
ความตอ้ งการของผ้บู ริโภค เพอื่ ให้เขาได้กาไรสูงสุดตามท่ีต้องการ โดยสังเกตความตอ้ งการซ้ือ (อุปสงค์)
และความต้องการขาย (อุปทาน) ของสนิ ค้าที่เราทาการผลิตในระดบั ราคาต่างๆ กนั เพอ่ื หา ดลุ ยภาพ ซ่งึ
เปน็ ระดบั ทผ่ี ซู้ อื้ และผู้ขายจะทาการซอ้ื ขายกนั ในปรมิ าณและราคาที่ตรงกัน ปริมาณทีม่ กี ารซื้อขาย ณ
จดุ ดลุ ยภาพ เรียกว่า ปริมาณดุลยภาพ และผู้ซ้ือมคี วามตอ้ งการซอ้ื ส่วนราคาท่ีดุลยภาพ เรียกว่า ราคา
ดลุ ยภาพ อนั เป็นราคาท่ีผู้ผลติ ควรพิจารณาในการตัง้ ราคาขาย

7.2 กลไกราคา (price mechanism) หมายถงึ ตัวกาหนดการจดั สรรทรพั ยากรในระบบ
เศรษฐกิจทีมีปัจจยั สาคญั ในการกาหนดราคา คือ อปุ สงค์ (demand) และอปุ ทาน (supply)

34

7.2.1 อุปสงค์ (Demand) คือ ปริมาณความต้องการซอ้ิ สนิ คา้ และบริการของผ้ซู ้อื ใน
ระยะเวลาใดเวลาหนึง่ ณ ระดับราคาตา่ งๆ กนั ความต้องการซ้อื จะแตกตา่ งจากความต้องการทว่ั ไป
(want) แตจ่ ะต้องรวมอานาจซอื้ (purchasing power) คอื เต็มใจและมีเงนิ เพยี งพอท่จี ะจ่ายซื้อสินค้า
นัน้ ดว้ ย อย่างไรก็ตามปรมิ าณความตอ้ งการซื้อนจี้ ะเปลีย่ นแปลงเม่อื มปี ัจจัยกาหนดอปุ สงค์ตัวอนื่ ๆ
เปลยี่ นแปลงดว้ ย เช่น รายได้ของผู้ซือ้ รสนยิ ม ราคาสินคา้ ชนิดท่ีใช้ทดแทนกนั ได้ เชน่ เนือ้ หมกู บั เนื้อไก่
เป็นต้น

7.2.2 อุปทาน (supply) คือ ปรมิ าณความต้องการเสนอขายสินค้าและบริการของผู้ขายใน
ระยะเวลาใดเวลาหนึง่ ณ ระดับราคาตา่ งๆ กนั โดยผขู้ ายเต็มใจจะขาย กล่าวคือ ถา้ ราคาต่าปรมิ าณที่
เสนอขายกจ็ ะลดตา่ ลงดว้ ย และในทางตรงกนั ข้าม หากระดบั ราคาสงู ขึ้นกจ็ ะมีปรมิ าณเสนอขายเพ่ิมข้นึ
ซ่งึ เปน็ ไปตาม กฎของอุปทาน (Law of Supply) ปัจจัยท่ีทาให้อุปทานเปลย่ี นแปลง เชน่ การ
เปลยี่ นแปลงเทคโนโลยีในการผลิต ราคาของปัจจัยท่ใี ช้ในการผลิตสนิ ค้าและบรกิ าร การเปลี่ยนแปลง
ฤดกู าล การคาดคะเนราคาสนิ คา้ และบรกิ ารของผูข้ าย

ตลาดในความหมายทางเศรษฐศาสตร์ จะกวา้ งกวา่ ความหมายทั่วๆ ไปทีเ่ ปน็ สถานทท่ี ี่มีผ้ขู าย
จานวนมากนาสนิ ค้ามาวางขาย แต่ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์จะเกดิ ขน้ึ ทนั ท่ีทีม่ กี ารตกลงซ่ือขายกัน
ต่อรองราคาหรือมีการแลกเปลีย่ นสินคา้ และบริการ โดยไม่จาเปน็ ตอ้ งมสี ินคา้ และบรกิ ารปรากฏอยู่ ณ
สถานท่นี ั้น

องคป์ ระกอบของตลาดจะประกอบดว้ ย ผูซ้ ้อื ผขู้ าย สินคา้ และ ราคา ซงึ่ อาจจะมพี ่อคา้ คน
กลางร่วมด้วย ปัจจุบันความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยขี อ้ มลู ข่าวสารได้ทาให้ผ้ซู อ้ื และผขู้ ายใกลช้ ิดกนั มาก
ข้นึ โดยอาศยั คนกลางนอ้ ยลง นอกจากน้คี วามสะดวกสบายรวดเรว็ ของสอ่ื ท่ีใช้ในการชาระค่าสินค้าก็ทา
ไดค้ ล่องตัวข้นึ เชน่ ระบบเครดิต เป็นตน้

ระบบตลาดขึน้ อยู่กบั กลไกราคา ซึง่ ราคาตลาดถูกกาหนดโดยปฏสิ มั พนั ธ์ (Interaction)
ระหวา่ งผ้ซู ้ือจานวนมาก ผู้ขายจานวนมาก ณ ช่วงเวลาหนง่ึ เช่น ช่วงต้นฤดูทุเรยี นหมอนทอง ราคา
กิโลกรมั ละ 40 บาท ผู้ซื้อต้องการซอ้ื 200 ล้านกิโลกรมั / สัปดาห์ ในขณะที่ผูข้ ายต้องการขาย 200
ล้านกิโลกรัม / สัปดาห์ เชน่ กัน ไม่มีของเหลอื ของขาด ทั้งผซู้ อื้ และผ้ขู ายต่างพอใจในภาวการณ์ท่ีเป็นอยู่

35

ราคาตลาดดงั กล่าวเปน็ ราคาดุลยภาพ และราคาตลาดนจ้ี ะเปล่ยี นแปลงไปถา้ อุปสงคห์ รอื อปุ ทานเปลี่ยน
หรือเปลี่ยนทง้ั อุปสงค์และอุปทาน

8. แนวความคิดของหลักการบญั ชีตน้ ทุน

ต้นทนุ เป็นมูลคา่ ของทรพั ยากรทใ่ี ชใ้ นการผลติ หรือการใหบ้ ริการ เปน็ ส่วนที่เรียกวา่ มูลค่าของ
ปัจจยั เข้า (Input Value) ของระบบ ต้นทุนจงึ เป็นเงินสดหรอื คา่ ใชจ้ ่ายในรปู แบบอ่นื ที่จา่ ยไปเพ่อื ให้ได้มา
ซึง่ บริการหรอื ผลผลติ ในทางธุรกจิ ต้นทุน คอื ค่าใชจ้ ่ายสว่ นท่จี ่ายไฟเพ่อื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ ซึ่งผลตอบแทนหรือ
รายได้ ต้นทนุ จงึ เปน็ สว่ นสาคัญในการตัดสนิ ใจทางธุรกิจตา่ งๆ ตน้ ทุน คา่ ใช้จ่าย และความสญู เสยี โดย
แทจ้ ริงเป็นสง่ิ เดยี วกัน แต่จะมคี วามหมายท่ีแตกต่างกนั ในดา้ นความหมายในการใชง้ าน ตน้ ทุนและความ
สูญเสียต่างก็เปน็ คา่ ใช้จ่ายทงั้ ส้นิ คา่ ใชจ้ ่ายไมว่ ่าจะอยใู่ นรูปแบบของเงนิ สดหรอื สงิ่ แลกเปลี่ยนใดๆ ยอ่ มถือ
ได้ว่าเปน็ สงิ่ ทจ่ี า่ ยไปเพือ่ ใหไ้ ด้ผลผลิต

7.1 คา่ ใช้จ่าย (Expense) หมายถึง ต้นทนุ ในการใหไ้ ด้รายไดส้ าหรบั ช่วงระยะเวลาใดๆ เชน่
เงินเดือนในสานกั งาน ค่าใชจ้ ่ายเป็นจานวนเงินหรอื สง่ิ แลกเปลย่ี นท่ีจ่ายไปเพ่ือใช้ในการบรกิ ารซง่ึ
ตัดลดทอนจากส่วนในรายได้ในงวดบัญชใี ดๆ จงึ มักจะใชใ้ นด้านรายได้ทางการเงินมากกวา่ ใช้ในระบบ
บัญชีทรพั ย์สิน

7.2 ต้นทนุ (Cost) หมายถึง คา่ ใช้จ่ายที่จา่ ยไปสาหรบั ปัจจยั ทางการผลิตเพื่อใหเ้ กดิ ผลผลิต
ตน้ ทนุ จงึ เปน็ สว่ นท่ใี ช้สาหรับนิยาม อัตราผลติ ภาพหรอื ผลติ ภาพ (Productivity) ซง่ึ เท่ากบั ผลผลิต
(Output) หารด้วยปัจจยั นาเขา้ (Input) ตน้ ทนุ จงึ เปน็ มูลค่าทวี่ ัดไดใ้ นเชิงเศรษฐศาสตร์ของทรัพยากรที่ใช้
และตน้ ทุนมีลกั ษณะทใ่ี ชจ้ า่ ยไปเพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลิตภณั ฑ์หรือการบริการท่ถี อื เป็นสนิ ทรพั ย์ได้ เช่น คงคลังของ
วสั ดุ งานระหวา่ งทา และสินค้าสาเรจ็ รปู ตน้ ทนุ (Cost) กับ ความสูญเสีย (Lost) ความจริงแล้วมี
ความหมายในเชิงเป็นค่าใช้จา่ ยท้งั คู่เหมือนกนั แต่ถ้าจะพิจารณาความแตกต่างของความหมายพอจะสรปุ
งา่ ยๆ ไดด้ ังน้ี

7.2.1 ตน้ ทนุ คือ ค่าใช้จา่ ยท่ีจ่ายไปแลว้ เกิดผลผลติ หรือบรกิ าร่ที่เป็นสนิ ทรัพย์
7.2.2 ต้นทุน คอื ขอ้ มูลทางบญั ชี เพือ่ ใช้ในการวางแผนและควบคุมการดาเนนิ งาน ในด้าน
การวางแผน ข้อมลู ตน้ ทนุ ท่ไี ดจ้ ะช่วยในการทางบประมาณและประมาณการตน้ ทุนการผลิต กาหนดราคา

36

ขาย ประมาณการผลกาไร และใชใ้ นการตัดสนิ ใจการลงทนุ และการขยายงาน ในดา้ นการควบคุม จะใช้ใน
การเปรียบเทยี บผลการดาเนนิ งานกบั งบประมาณตน้ ทุนที่กาหนดไวเ้ พอ่ื ชว่ ยใหฝ้ า่ ยบริหารรับรถู้ ึงการ
ปฏิบัตทิ ไี่ ม่มปี ระสิทธิภาพเม่อื สิน้ รอบระยะเวลาบญั ชี

7.3 ความสูญเสีย คอื คา่ ใชจ้ ่ายท่ีจา่ ยไปแล้วเกิดผลไดน้ อ้ ยกวา่ หรือค่าเสียหายท่ีต้องจา่ ยโดยไม่มี
ผลตอบแทน และเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยท่ีถกู ตดั ออกจากส่วนของผ้ถู อื หุ้นมากกวา่ ท่จี ะหกั จากส่วนของการลงทนุ
ความสูญเสยี ที่เกิดข้นึ ได้จากการตัดสนิ ใจทผ่ี ิดพลาดหรอื เกิดจากส่งิ ผิดปกติตามธรรมชาติ เช่น ไฟไหม้ ตกึ
ถล่ม เป็นตน้ ตน้ ทุนกับความสญู เสียเปน็ สง่ิ เดียวกัน เพียงแต่มเี ส้นแบ่งเขตซ่งึ ทาให้ตนทุนกลายเปน็ ความ
สูญเสียเม่ือผลได้น้อยกวา่ คา่ ใชจ้ า่ ย เมอื่ ปรับค่าใช้จ่ายให้เกิดผลประโยชนม์ ากข้นึ ทาให้สร้างผลไดม้ ากกว่า
ความสญู เสยี จะกลายเป็นตน้ ทุนไป การเพ่ิมข้นึ ของค่าใช้จ่ายในเชิงตน้ ทุนจึงเป็นสง่ิ ท่ีไม่น่ากังวลเนอ่ื งจาก
จะไดผ้ ลประโยชน์เพิม่ ขึน้ ในขณะเดียวกนั ถ้าสามารถลดค่าใชจ้ า่ ยซึ่งเปน็ ตน้ ทุนลงไดโ้ ดยผลผลิตเท่าเดิม
หรอื มากกวา่ กจ็ ะเปน็ การดี

9. งานวิจยั ท่เี กีย่ วข้อง

เจนยุทธ ศรหี ริ ัญ (2559) การออกแบบบรรจุภณั ฑก์ ล้วยแผ่นทอดกรอบสาหรับกลมุ่ รฐั วิสาหกิจ
ชมุ ชนเพอื่ การส่งออกสู่สาธารณรัฐประชาชนจีน งานวจิ ัยนผี้ ลแสดงให้เหน็ ว่าการออกแบบโครงสร้างบรรจุ
ภัณฑ์โดยใช้ถงุ ลามเิ นตตงั้ ได้แบบมีซิปล็อกนน้ั สามารถรักษากล่ินและรสชาติไดด้ ี ส่งผลทาใหบ้ รรจภุ ัณฑท์ ี่
ออกแบบใหมน่ ี้มปี ระสิทธภิ าพทง้ั ในดา้ นการใชง้ านและด้านการตลาด

นายจักรกฤษณ์ ศรีธง และคณะผูจ้ ดั ทา สาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี าหารคณะ
อตุ สาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ (2561) ศกึ ษาการออสโมซิสของโปรตีนและปรมิ าณสารแอนติ
ออกซแิ ดนท์ในผลไม้หลงั การอบแห้ง ในปัจจบุ นั ผู้คนหันมาใส่ใจการดูแลรกั ษาสขุ ภาพมากขึน้ ไมว่ า่ จะเปน็
การออกกาลงั กาย การเลือกบรโิ ภคอาหาร เพื่อให้รา่ งกายแข็งแรงและห่างไกลจากโรคต่าง ๆ แตม่ ีบุคคล
อยู่กลมุ่ หนึง่ ซง่ึ ออกกาลงั กายอย่างหนกั เพอ่ื เนน้ สรา้ งกลา้ มเนื้อ ซง่ึ บคุ คลกลุ่มน้ีจะเนน้ ออกกาลังอย่าง
หนกั และบริโภคแต่อาหารทมี่ ีโปรตนี เช่น อกไก่ ไข่ไก่ นม เป็นตน้ เพอ่ื ไปชว่ ยซ่อมแซมกลา้ มเนือ้ ทซ่ี ึก
หรอ ซึง่ การท่ีร่างกายย่อยสลายโปรตนี ใช้ ทาให้เกิดปฏกิ ิรยิ าออกซิเดชนั ซึ่งปฏิกิริยานี้จะทาให้เกดิ สาร
อนุมลู อิสระภายในรา่ งกายและสรา้ งความเสยี หายใหก้ บั เซลล์ตา่ งๆ กลายเป็นอาการเจ็บปว่ ยและ โรค

37

เชน่ โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคปอด โรคตับแข็ง และโรคเบาหวาน เป็นต้น การที่จะกาจดั สารอนุมูลอสิ ระ
ได้นน้ั ต้องใชส้ ารตน้ อนมุ ลู อสิ ระ ซงึ่ จะสามารถพบไดใ้ นผักผลไม้ เช่น สตรอเบอรี่ กีว่ี สับปะรด เปน็ ตน้
การศกึ ษาครั้งนี้จะเนน้ การเสริมโปรตีนทน่ี ักเพาะกายต้องการ และรกั ษาสารตา้ นอนุมลู อสิ ระท่ีมีในผลไม้
ไม่ให้สูญหาย เพอ่ื เป็นทางเลือกใหบ้ ุคคลทต่ี อ้ งการโปรตีนและบคุ คลที่ร่างกายอาจขาดสารต้านอนุมลู
อิสระ

38

บทท่ี 3

วธิ ีการดาเนนิ การศึกษา

การดาเนนิ โครงการกล้วยฉาบธัญพืช เป็นการพฒั นาผลติ ภัณฑก์ ลว้ ยฉาบธญั พชื เพื่อเพ่มิ มูลคา่
ผลติ ภัณฑแ์ ละบรรจภุ ณั ฑ์ และศกึ ษาความพึงพอใจของกล่มุ เป้าหมายที่มีตอ่ ผลิตภณั ฑก์ ลว้ ยฉาบธัญพชื
และบรรจภุ ัณฑ์ โดยผูว้ ิจัยดาเนินงานตามลาดบั ขั้นตอนดงั ตอ่ ไปนี้

1. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง
2. เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการศึกษา
3. ข้ันตอนในการสรา้ งเคร่อื งมือ
4. การเก็บรวบรวมข้อมลู
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถิตทิ ีใ่ ช้ในการศึกษา

1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา ขา้ ราชการ/รฐั วิสาหกจิ พนักงาน

บริษทั รบั จ้างท่ัวไป และอาชีพอื่น ๆ จานวน 30 คน ในชมุ ชนหนองรี ซอยเขาดนิ ตาบลหนองรี อาเภอ
เมอื ง จงั หวัดชลบุรี 20000 ซง่ึ ได้มาจากการเลือกแบบบงั เอิญ (Accidental sampling)

2. เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการศึกษา
เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาครั้งนีเ้ ปน็ แบบสอบถาม ซ่ึงประกอบด้วยแบบตรวจรายการ แบบ

มาตราส่วนประมาณ และแบบสอบถามปลายปิดและปลายเปิด จานวน 3 ตอนมีรายละเอยี ด ดงั นี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 ศกึ ษาความพึงพอใจผลติ ภัณฑก์ ล้วยฉาบธัญพชื ลักษณะแบบสอบถามเปน็ แบบมาตรา

ส่วนประมาณ 5 ระดบั
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะและความคิดเหน็

39

3. ขัน้ ตอนในการสรา้ งเคร่ืองมือ

การสรา้ งเครอื่ งมือจากแบบสอบถาม ซงึ่ มีรายละเอียดแบง่ เปน็ 3 ตอน ดังน้ี

ตอนที่ 1 ข้อมูลพน้ื ฐานทวั่ ไป

ข้อ 1 เพศ

ข้อ 2 อายุ

ข้อ 3 สถานะ

ตอนท่ี 2 ศึกษาความพงึ พอใจผลิตภัณฑก์ ล้วยฉาบธญั พืช ลักษณะแบบสอบถามเปน็ แบบมาตรา

ส่วนประมาณ 5 ระดบั ดังนี้

ระดับ 5 หมายถงึ ระดับมีความพอใจมากที่สดุ

ระดบั 4 หมายถงึ ระดับมีความพงึ พอใจมาก

ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั มคี วามพอใจปานกลาง

ระดบั 2 หมายถึง ระดบั มคี วามพึงพอใจน้อย

ระดบั 1 หมายถึง ระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ยท่สี ดุ

โดยกาหนดเกณฑ์การแปลความหมายข้อมลู ท่ีเป็นคา่ เฉลีย่ ตา่ งๆ คือ

คะแนนค่าเฉลี่ย ระดบั การแปลผล

4.51 – 5.00 หมายถงึ มีความพงึ พอใจมากที่สุด

3.51 – 4.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจมาก

2.51 – 3.50 หมายถงึ มีความพงึ พอใจปานกลาง

1.51 – 2.50 หมายถงึ มีความพงึ พอใจนอ้ ย

1.00 – 1.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจน้อยที่สุด

ตอนท่ี 3 เปน็ แนวคาถามปลายเปิดสาหรบั ผูต้ อบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ เพิม่ เติมและให้

ขอ้ เสนอแนะตา่ งๆ

40

4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
ผู้จัดทาโครงการไดด้ าเนินการเก็บรวบรวมข้อมลู ตามลาดับขั้นตอน ดงั น้ี
4.1 ดาเนนิ การแจกแบบสอบถาม กลว้ ยฉาบธัญพืช โดยแจกแบบสอบถามให้กลุ่มเป้าหมายด้วย

ตนเอง และขอรบั แบบสอบถามคนื ดว้ ยตนเอง
4.2 เก็บรวบรวมแบบสอบถาม กลว้ ยฉาบธญั พชื เพ่ือนาขอ้ มูลทไี่ ดม้ าวิเคราะห์ตอ่ ไป

5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการศึกษา

คะแนนที่ไดม้ าจากแบบสอบถาม หาค่ารอ้ ยละ(Percentage) คา่ เฉลย่ี (Arithmetic Mean) ส่วน

เบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation S.D.) โดยใชส้ ูตร ดังนี้

5.1 ค่ารอ้ ยละ

P = 100

เม่ือ p แทน ร้อยละ

F แทน ความถ่ที ีต่ ้องการแปลงคา่ ให้เป็นร้อยละ

n แทน จานวนความถท่ี ้ังหมด

5.2 ค่าเฉล่ยี

̅ = ∑

เมื่อ ̅
แทน ค่าเฉล่ยี

แทน ผลรวมของคะแนนทงั้ หมดในกลุ่ม
N
แทน จานวนคะแนนในกล่มุ

5.3 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน √ ∑ 2 − (∑ )2

S.D. = ( −1)
เม่อื S.D.
แทน ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
∑ แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตัว
แทน จานวนคะแนนในกลุ่ม
N