ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 10 ประเทศ

โดยประเทศสมาชิกอาเซียนที่ใช้ระบบเศรษฐกิจนี้ ได้แก่ สาธารณรัฐสิงคโปร์

 

2. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม :

ระบบเศรษฐกิจแบบ สังคมนิยม หรือการวางแผนจากส่วนกลาง มีลักษณะสำคัญคือ 1. รัฐบาลเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตทั้งหมด เพื่อควบคุมและดำเนินการผลิตให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนส่วนใหญ่ 2. รัฐบาลจะเป็นผู้วางแผน ว่าจะผลิตอะไร เท่าใด ผลิตอย่างไร และผลิตเพื่อใคร และดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพื่อยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชากรให้ดี ขึ้น ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม


โดยประเทศสมาชิกอาเซียนที่ใช้ระบบเศรษฐกิจนี้ ได้แก่ สาธารณะรัฐประชาชนลาว และ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม


3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม :

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เป็นระบบเศรษฐกิจที่ผสมระหว่างแบบทุนนิยมและแบบวางแผนจากส่วนกลาง ขึ้นอยู่กับให้ความสำคัญรูปแบบใดมากกว่า มีลักษณะสำคัญคือ 1. รัฐและเอกชนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต 2. ใช้กลไกราคาและการแข่งขันโดยเสรีแก้ปัญหาเศรษฐกิจ แต่รัฐสามารถแทรกแซงและวางแนวทางการดำเนินการทางเศรษฐกิจ

 

โดยประเทศสมาชิกอาเซียนที่ใช้ระบบเศรษฐกิจนี้ ได้แก่ ราชอาณาจักรไทย ประเทศมาเลเซีย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เนการาบรูไนดารุสซาลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า


ท้ายที่สุดนี้แม้แต่ละประเทศจะเลือกใช้ระบบเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน แต่ทุกประเทศในอาเซียนก็ยังคงสามารถรวมเป็นหนึ่งเดียวกันได้

ดิ อีโคโนมิสต์ จัดอันดับประเทศที่ความมั่งคั่งของมหาเศรษฐีจากธุรกิจที่ได้รับประโยชน์จากความใกล้ชิดกับรัฐมากที่สุดในโลก ไทยติดอันดับ 9 รัสเซียเป็นเบอร์ 1 

วันที่ 14 มีนาคม 2565 ดิ อีโคโนมิสต์ เผยแพร่รายงานดัชนีทุนนิยมพวกพ้อง (The Crony-capitalism index) ประจำปี 2564 พร้อมกับระบุว่า การแพร่กระจายของลัทธิพวกพ้องในหลายประเทศผ่านการแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจ (rent-seeking) ของผู้ประกอบการที่สร้างสายสัมพันธ์กับรัฐ หรือ บุคคลในรัฐบาลเพื่อสร้างกำไรสูงสุดแก่ธุรกิจ เป็นพฤติกรรมที่กำลังกัดกินระบบเศรษฐกิจ

  • เปิดแผน ลับ ลวง พราง แคนดิเดตนายกฯ “พรรคทักษิณ”
  • เปิด 10 อันดับ เมืองที่ร่ำรวยที่สุดในโลก
  • อนุทิน เปิดเงื่อนไขจับขั้วรัฐบาล ทักษิณ-เพื่อไทย ไม่เกลียด แต่มีเส้นแบ่ง

เพื่อวัดว่า มีการใช้ระบบนี้แพร่หลายในโลกมากน้อยแค่ไหน ดิ อีโคโนมิสต์จึงจัดหมวดหมู่แหล่งความมั่งคั่งหลักของมหาเศรษฐี 2,755 คน โดยแบ่งภาคธุรกิจ-อุตสาหกรรมเป็น 2 หมวด ได้แก่ หมวดที่อาศัยความสัมพันธ์แบบพวกพ้อง และหมวดไม่อาศัยความสัมพันธ์แบบพวกพ้อง

ทั้งนี้ หมวดที่อาศัยความสัมพันธ์แบบพวกพ้อง ยังรวมถึงกลุ่มที่มีความเสี่ยงจะมีพฤติกรรมแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจจากความใกล้ชิดกับรัฐบาล ในภาคธุรกิจธนาคาร กาสิโน การป้องกันประเทศ และอุตสาหกรรมใช้ทรัพยากรสาธารณะสร้างผลประโยชน์

พร้อมกับวัดเปรียบเทียบสัดส่วนของทั้ง 2 หมวด เทียบกับจีดีพีของแต่ละประเทศ

โดยพบว่า รัสเซียติดอยู่ในรายชื่ออันดับ 1 ที่มีมหาเศรษฐี 70% ใน 120 คน หรือ 84 คน ตรงกับคำจำกัดความทุนนิยมพวกพ้องของดิ อีโคโนมิสต์ ส่วนอเมริกามีเพียง 20% ขณะที่อินเดียมีมหาเศรษฐีกลุ่มนี้เพิ่มขึ้นจาก 29% เป็น 43% ในช่วง 6 ปีที่ผ่านมา

อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นของมหาเศรษฐีจากแวดวงเทคโนโลยีทั่วโลก ยังส่งผลให้ระดับความมั่งคั่งจากระบบพวกพ้องลดลง หากพิจารณาจากภาพรวมทั้งหมด

ผู้สื่อข่าวรายงานเพิ่มเติมว่า ในการจัดอันดับดังกล่าวพบว่า ในปี 2564 ประเทศไทยอยู่ในอันดับ 9 ไต่ระดับขึ้นมาจากอันดับที่ 12 เมื่อปี 2559

ระบบเศรษฐกิจ ( Economic ) หมายถึง ความสัมพันธ์ของหน่วยเศรษฐกิจต่าง ๆ ภายใต้ระเบียบกฎเกณฑ์ และแนวทางการปฏิบัติของสังคมที่ยึดถือเป็นแนวทางในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มหลัก คือ ( 1 ) แบบทุนนิยมหรือเสรีนิยม ( Capitalism or Liberalism ) ( 2 ) ระบบเศษฐกิจแบบสังคมนิยม ( Socialism ) ( 3 ) แบบผสม ( Mixed Economy ) ระบบเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียน

 

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม :

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม มีลักษณะสำคัญ คือ 1. เอกชนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต 2. เอกชนมีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ 3. ใช้กลไกราคาและระบบตลาดเป็นเครื่องในการตัดสินใจแก้ปัญหาทางเศษฐกิจ 4. การแข่งขันทุกคนมีสิทธิและเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทำให้เกิดการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

 

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม :

ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 1. เอกชนมีเสรีภาพในการเลือกตั้ง เลือกตัดสินใจในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ 2. กำไรและระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเป็นแรงจูงใจในการทำงานทำให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

 

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม :

ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจทุนนิยม 1. ก่อให้เกิดปัญหาการเหลื่อมล้ำอันเนื่องมาจากความสามารถที่แตกต่างกันในแต่ละบุคคลโดยพื้นฐานทำให้การหารายได้ไม่เท่ากัน 2. ในหลาย ๆ กรณีกลไกทางการตลาดยังไม่ใช่เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพเพียงพอสำหรับการจัดหาสรรทรัพากรในระบบเศรษฐกิจ 3. การใช้ระบบการแข่งขันหรือกลไกราคาอาจทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจอย่างสิ้นเปลือง ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

 

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม :

ประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

 

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม :

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หรือการวางแผนจากส่วนกลาง มีลักษณะสำคัญคือ 1. รัฐบาลเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตทั้งหมด เพื่อควบคุมและดำเนินการผลิตให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนส่วนใหญ่ 2. รัฐบาลจะเป็นผู้วางแผน ว่าจะผลิตอะไร เท่าใด ผลิตอย่างไร และผลิตเพื่อใคร และดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพื่อยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชากรให้ดีขึ้น ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม

 

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม :

ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม 1. ช่วยลดปัญหาความเหลื่อมล้ำทางฐานะและหารายได้ของบุคคล เช่นเดียวกับระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ 2. เอกชนมีเสรีภาพและมีกรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สินบ้างพอสมควร ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม

 

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม :

ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม เนื่องจากปัจจัยการผลิตพื้นฐานอยู่ในการควบคุมของรัฐบาล ทำให้ขาดความคล่องตัว การผลิตถูกจำกัดเพราะต้องผลิตตามที่รัฐกำหนด โอกาสที่จะขยายผลิตหรือพัฒนาคุณภาพการผลิตเป็นไปค่อนข้างลำบาก ทำให้การใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพในลักษณะเดียวกับระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม

 

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม :

ประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ได้แก่ ลาว และ เวียดนาม ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม

 

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม :

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เป็นระบบเศรษฐกิจที่ผสมระหว่างแบบทุนนิยมและแบบวางแผนจากส่วนกลาง ขึ้นอยู่กับให้ความสำคัญรูปแบบใดมากกว่า มีลักษณะสำคัญคือ 1. รัฐและเอกชนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต 2. ใช้กลไกราคาและการแข่งขันโดยเสรีแก้ปัญหาเศรษฐกิจ แต่รัฐสามารถแทรกแซงและวางแนวทางการดำเนินการทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจแบบผสม

 

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม :

ข้อดีของระแบบเศรษฐกิจแบบผสม 1. เป็นระบบเศรษฐกิจที่ค่อนข้างมีความคล่องตัว ระบบเศรษฐกิจแบบผสม

 

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม :

ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบผสม 1. การมีกำไรและระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินอาจทำให้เกิดการเหลื่อมล้ำทางฐานะและรายได้ 2. การที่รัฐสามารถเข้าแทรกแซงตลาดโดยใช้กลไกรัฐอาจก่อให้เกิด 2.1 ปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง 2.2 ปัญหาเอกชนไม่กล้าลงทุนอย่างเต็มที่ เนื่องจากไม่แน่ใจในสถานการณ์ทางการเมือง และนโยบายของรัฐบาลซึ่งมีความผันผวนและเปลี่ยนแปลงได้ง่าย ระบบเศรษฐกิจแบบผสม

 

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม :

ประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ได้แก่ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน กัมพูชา พม่า ระบบเศรษฐกิจแบบผสม

ประเทศใดบ้างที่มีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น อังกฤษ สิงคโปร์

ประเทศใดบ้างที่มีระบบเศรษฐกิจแบบผสม

ประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เช่น ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน กัมพูชา พม่า เป็นต้น

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม มีอะไรบ้าง

ทุนนิยม (อังกฤษ: capitalism) เป็นระบบเศรษฐกิจซึ่งเจ้าของเอกชนเป็นผู้ควบคุมการค้า อุตสาหกรรมและวิถีการผลิต โดยมีเป้าหมายเพื่อทำกำไรในเศรษฐกิจแบบตลาด คุณลักษณะสำคัญของทุนนิยม ได้แก่ การสะสมทุน ตลาดแข่งขันและค่าจ้างแรงงาน ในเศรษฐกิจแบบทุนนิยม โดยทั่วไปภาคีในปฏิสัมพันธ์กำหนดราคาที่มีการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ สินค้าและบริการ

ระบบเศรษฐกิจของประเทศฟิลิปินส์เป็นแบบใด

2.1 ฟิลิปปินส์มีระบบเศรษฐกิจที่คล้ายคลึงกับไทย กล่าวคือ เป็นประเทศเกษตรกรรม ประชากร ร้อยละ 60 ประกอบอาชีพเกษตรกร อย่างไรก็ดี สภาพภูมิประเทศที่เป็นหมู่เกาะส่งผลให้พื้นที่เพาะปลูกมีน้อย โดยส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณที่ราบต่ำและเนินเขาที่ปรับให้เป็นขั้นบันไดในบริเวณเกาะลูซอน ขณะเดียวกันประชากรฟิลิปปินส์ส่วนใหญ่นิยมประกอบอาชีพใน ...