หลักสูตรแกนกลางการงานอาชีพ 2564

ประกาศโรงเรียนบา้ นวงั ตาอินทร์
เรอื่ ง ให้ใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านวงั ตาอนิ ทร์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

………………………….......…….

โรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต ๒ ได้
ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 และเอกสารประกอบ
หลักสูตรขึ้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และฉบับปรับปรุง พุทธศักราช
2560 เพอ่ื กำหนดใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรยี นบ้านวังตาอนิ ทร์ เพ่ือให้การ
จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และ
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เป็นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
กำลังคนของชาติใหส้ ามารถเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ การยกระดับคุณภาพการศึกษาและ
การเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานสากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษที่ 21 และทัดเทียม
กับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดํารงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โดยโรงเรียนไดจ้ ดั ทำและพฒั นาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสตู รองิ มาตรฐาน คือ กำหนดมาตรฐานการ
เรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มี
จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การ
ประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถ
เรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ

ทั้งนี้ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช 2564 ได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖4 จึงประกาศให้ใช้หลักสูตร
โรงเรียนตั้งแต่บดั นเ้ี ป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖4

ลงช่ือ ลงชื่อ
(นายองอาจ เพชรขนุ ทด ) (นางวาสนา น้ำเพ็ชร )

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นวงั ตาอนิ ทร์
โรงเรียนบา้ นวงั ตาอินทร์

คำนำ

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช 2564 ได้จัดทำขึ้นตามแนวทางที่กำหนดไว้ใน
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเป็นไปตามมาตรา 27 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งกำหนดให้สถานศึกษามีหน้าที่จัดทำสาระของ
หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักการจุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดเพื่อตอบสนองต่อ
ความต้องการในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้
เยาวชนเปน็ สมาชิกท่ดี ขี องครอบครวั ชุมชน สังคมและประเทศชาติ

การศึกษาข้อมูลทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560 - 2564) ซึ่งเกิดข้ึนในช่วงเวลาของการปฏิรูปประเทศ และสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็
และเชอ่ื มโยงใกล้ชิดกันมากขน้ึ โดยจดั ทำบนพ้ืนฐานของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ซึ่งเป็น
แผนหลกั ของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายของการพัฒนาที่ย่ังยนื (Sustainable Development Goals :SDGs)
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมท้งั การปรบั โครงสร้างประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 ซ่ึงยทุ ธศาสตร์
ชาตทิ ่จี ะใช้เป็นกรอบแนวทางการพฒั นาในระยะ 20 ปี ต่อจากนี้ ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยทุ ธศาสตร์
ด้านความมั่นคง (2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้าง
ศักยภาพคน (4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ด้านการ
สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ท่ีเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อมและ (6) ยุทธศาสตรด์ ้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการ
บริหารจัดการภาครัฐ เพื่อมุ่งสู่วิสัยทัศน์ และทิศทางการพัฒนาประเทศ “ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เป็นประเทศ
พฒั นาแล้วด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เพื่อให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเตรียมความพร้อมคนให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดเป็นนโยบายสำคัญและเร่งด่วนให้มีการปรับปรุง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
สาระภมู ิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รวมทง้ั เทคโนโลยี ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยมอบหมายให้สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ดำเนินการปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และสาระเกีย่ วกับเทคโนโลยี
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี และมอบหมายให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดำเนินการปรับปรุงสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทั้งนี้ การดำเนินงาน
ประกาศใช้หลกั สตู รยงั คงอยู่ในความรับผดิ ชอบของ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ ยังคงหลักการและโครงสร้างเดิมของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 คือ ประกอบด้วย 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ และ
ภาษาต่างประเทศ แต่มุ่งเน้นการปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้า
ทางวิทยาการต่าง ๆ คำนึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียน มีทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นสำคัญ
เตรียมผู้เรียนให้มคี วามพร้อมที่จะเรยี นรู้ส่ิงต่าง ๆ พร้อมที่จะประกอบอาชีพ เมื่อจบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อ
ในระดับที่สูงข้ึน สามารถแข่งขนั และอยู่รว่ มกบั ประชาคมโลกได้

หลักสูตรสถานศึกษา ฉบับนี้ ประกอบด้วย ส่วนนำ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา คำอธิบายรายวิชา
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และเกณฑ์การจบการศึกษา ซึ่งทางโรงเรียนได้กำหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้ผู้ท่ี
เกี่ยวข้องและผู้ที่นำหลักสูตรไปใช้ได้เข้าใจ และสามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง และบรรลุผลตามที่ต้องการหลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช 2564 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับนี้ สำเร็จลุล่วงไป
ด้วยดี ด้วยความร่วมมือและช่วยเหลือจากบุคลหลายฝ่าย ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะครูและผู้ที่มีส่วน
เก่ยี วขอ้ งทุกภาคส่วนท่ีมสี ่วนร่วมดำเนนิ การ ทางโรงเรยี นจงึ ขอขอบพระคณุ ท่านมา ณ โอกาสน้ี

(นางวาสนา น้ำเพ็ชร)
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์

คำชีแ้ จง

ตามที่โรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต ๒ ได้ มอบหมายให้
คณะกรรมการจัดทำหลักสูตรสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ โดยได้วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางพุทธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖0) นั้นเพื่อจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖4 คณะทำงานได้ร่วมกันศึกษา
วิเคราะห์ และจัดทำคำอธิบายรายวิชา มาตรฐาน ตัวชี้วัด โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ทอ้ งถน่ิ สาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม การออกแบบการเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผลเพ่ือใหส้ อดคล้องกับความต้องการ
ของผู้เรียน โดยแยกเป็น ๒ ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา(ป.๑-๖) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) ซึ่ง
เอกสารหลักสตู รสถานศึกษา กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ เลม่ น้ีจะเป็นแนวทางใหค้ รูใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ตาม
แนวทางการปฏิรูปการศึกษาของโรงเรียนได้ชัดเจนตามวิสัยทศั น์ และคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ที่สถานศึกษาต้องการ
โดยนำหนว่ ยการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ไปออกแบบการเรยี นรู้ จดั ทำเป็นแผนการจดั การเรียนรู้ลงส่หู ้องเรียนคุณภาพอย่าง
มีประสิทธิภาพ เกิดประสทิ ธผิ ลกบั ผู้เรยี น ผ้เู รยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรม เกง่ ดแี ละมสี ขุ

สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ในหลักสูตรโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ฉบับนี้ประกอบด้วย ความนำ
คุณภาพผู้เรียน โครงสร้างเวลาเรียน สาระมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดรายปี คำอธิบายรายวิชา การจัดหน่วยการ
เรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สื่อการเรียน แหล่งเรียนรู้ ซึ่งทางโรงเรียนได้
กำหนดไว้ในสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ในหลักสูตรโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ฉบับนี้ เพื่อให้ผู้ที่เกีย่ วข้องได้เข้าใจ
และสามารถนำไปใช้ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและบรรลุผลตามทต่ี ้องการ

สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ในหลักสูตรโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ฉบับนี้ สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีก็ด้วย
ความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน คณะครูและผู้ที่มีส่วน
เกีย่ วข้องทุกภาคสว่ นที่มสี ่วนรว่ มดำเนินการ ทางโรงเรียนจึงขอขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี้

(นางเพญ็ จนั ทร์ ประสพสม)
ครผู สู้ อนวิชาการงานอาชีพ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

โรงเรยี นบ้านวังตาอนิ ทร์
สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลพบุรี เขต ๒

สารบัญ หนา้

ประกาศโรงเรยี น ก
คำนำ ค
คำช้ีแจง ง
สารบัญ 1
ส่วนท่ี 1 ความนำ 2
3
ความนำ 3
วิสัยทัศนห์ ลกั สุตรสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖4 3
เป้าประสงค์หลักสตู ร 4
วิสัยทัศน์ 4
พนั ธกจิ 4
เป้าประสงค์ 5
ตวั ชวี้ ดั 5
ค่านยิ มในองค์กร 6
อัตลักษณ์ เอกลกั ษณ์ คำขวัญของสถานศึกษา 6
กลยทุ ธ์ 7
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 8
ค่านยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช. 9
หลักสูตรตา้ นทุจริตศึกษา 10
ส่วนท่ี 2 โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรียนบา้ นวังตาอินทร์ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น 11
โครงสร้างหลกั สูตร โรงเรยี นบ้านวังตาอินทร์ 18
โครงสรา้ งเวลาเรียนของหลักสูตรสถานศกึ ษา พุทธศักราช ๒๕๖4
ส่วนท่ี 3 หลักสูตรโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ 19
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 19
สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี 19
ความนำ 20
ทำไมต้องเรียนการงานอาชพี 20
เรียนรอู้ ะไรในการงานอาชีพ 20
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 21
คณุ ภาพผู้เรยี น 22
โครงสร้างเวลาเรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี 23
สาระมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้วี ดั ช้นั ปี 29

ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ง
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2

สารบญั (ต่อ) หนา้

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 35
ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ 41
การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 42
เกณฑก์ ารตดั สินผลการเรียน 50
บรรณานกุ รม 51

ภาคผนวก 53
ภาคผนวก ก คำอภิธานศัพท์ 56
ภาคผนวก ข คำสง่ั โรงเรยี นบ้านวงั ตาอินทร์ 61
ภาคผนวก ค ประกาศ/คำสง่ั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 76

คณะผจู้ ัดทำ

สว่ นที่ 1
ความนำ

1

ความนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ.
๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสงั่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลง
วันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคำส่งั ใหโ้ รงเรียนดำเนินการใชห้ ลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้
ใช้ในชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ และ ๔ ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดย
กำหนดจดุ หมาย และมาตรฐานการเรียนรเู้ ปน็ เปา้ หมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี นมีพฒั นาการเต็ม
ตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายข อง
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

โรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ จึงได้ทำการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖0 ในกลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ
สาระภมู ศิ าสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพอ่ื นำไปใชป้ ระโยชน์และเปน็ กรอบในการ
วางแผนและพัฒนาหลกั สตู รของสถานศึกษาและจดั การเรยี นการสอน โดยมเี ปา้ หมายในการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น ให้
มีกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคั ญของผู้เรียน
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ัด โครงสรา้ งเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผล
ให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการ
เรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนอง
นโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสสู่ ังคมคณุ ภาพ มคี วามรู้อย่างแทจ้ รงิ และมีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุกระดับเห็นผ ล
คาดหวงั ท่ตี อ้ งการในการพฒั นาการเรียนรู้ของผู้เรยี นที่ชดั เจนตลอดแนว ซ่งึ จะสามารถชว่ ยให้หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องใน
ระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดทำหลักสูตรในระดับสถานศึกษามี
คุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และ
ช่วยแก้ปัญหาการเทยี บโอนระหว่างสถานศึกษา ดงั นน้ั ในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับต้ังแต่ระดบั ชาติจนกระท่ังถึง
สถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับ
การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

การจัดหลกั สูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ ทุกฝา่ ย ที่เก่ียวข้องท้ัง
ระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ในการ
วางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่คุณภาพ
ตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ ่กี ำหนดไว้

2

วิสยั ทศั นห์ ลกั สูตรสถานศกึ ษา พทุ ธศักราช ๒๕๖4

หลักสูตรโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็นบุคคลแห่งการ
เรียนรู้สู่มาตรฐานสากลและเป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งร่างกาย ความรู้คู่คุณธรรม มีความเป็นผู้นำของสังคมมี
จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลกโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยึดมั่นในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐานสามารถใช้นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีรวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาในการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ เมื่อจบการศึกษาตาม
หลกั สูตร จะได้รบั การพัฒนาคุณภาพ 3 มิติ ดังน้ี

1. ทักษะวชิ าการ
มีความรู้ความสามารถ ครบถ้วนทกุ กล่มุ สาระการเรยี นรู้

2. ทักษะชีวิต
ทกั ษะชวี ติ มี 4 ดา้ น ไดแ้ ก่
1. การจดั การกบั อารมณแ์ ละความเครยี ด
2. การสร้างสมั พนั ธภาพทด่ี กี บั ผู้อ่นื
3. การตระหนักรู้และเหน็ คณุ คา่ ในตนเองและผอู้ ่ืน
4. การคิดวิเคราะห์ตัดสนิ ใจและแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์

3. ทกั ษะอาชีพ
ส่งเสริมให้คนพบตัวเอง สามารถใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ในทุกขั้นตอน นอกจากจะช่วยให้คิดเป็น สร้าง
ความเข้มแข็งเพอื่ การประกอบอาชีพในอนาคตอยา่ งยง่ั ยนื

เปา้ ประสงคห์ ลักสูตร (Corporate objective)

๑. เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีการพัฒนาเต็ม
ตามศกั ยภาพ มีทักษะชวี ิต มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ดี นำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน็ แนวทางการ
ดำเนินชีวิต เป็นผู้นำที่ดีของสังคมและมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และการสื่อสารอย่าง
หลากหลาย ผู้เรยี นมศี กั ยภาพเป็นพลโลก (World Citizen)

2. เพื่อให้สถานศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาด้วยระบบคุณภาพ ( Quality System
Management) เพ่อื รองรับการกระจายอำนาจอย่างทวั่ ถึง

3. เพอ่ื ให้บคุ ลากรทุกคนมีทักษะวิชาชีพในการพฒั นาการเรยี นการสอนและใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ยกระดบั การจัดการเรยี นการสอนเทยี บเคียงมาตรฐานสากล (Worle Class standard)

4. เพือ่ ให้การใชง้ บประมาณและทรัพยากรของทุกหนว่ ยงานเป็นไปตามเป้าหมายได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและ
ประสิทธิผลสงู สดุ

วิสัยทัศน์ (Vision)

โรงเรียนบ้านวงั ตาอินทร์ สรา้ งคุณภาพผูเ้ รียน สมู่ าตรฐานสากล
ชุมชนมีส่วนรว่ มจัดการศกึ ษา น้อมนำปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3

พันธกจิ (Mission)

1. พัฒนานกั เรยี นใหม้ ผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นสงู ข้นึ
2. ส่งเสริมนักเรียนใหร้ ู้จกั แสวงหาความรดู้ ้วยตนเองอยา่ งเตม็ ศักยภาพ
3. สง่ เสริมนกั เรียนให้มคี ุณธรรม จริยธรรม ประพฤติตนตามวถิ ีไทย
4. สง่ เสริมนกั เรียนใหม้ ีทักษะอาชพี และนำเอาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชวี ิตประจำวัน
5. ส่งเสริมให้ครูจดั การเรียนการสอน โดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย เทคนิคการสอนต่างๆ เพื่อให้นักเรียนมี
คณุ ภาพ
6. ส่งเสรมิ ใหค้ รทู กุ คนไดร้ บั การพฒั นาใหเ้ ปน็ ครมู ืออาชพี
7. ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้ปกครอง ชมุ ชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เข้ามามสี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา
8. พฒั นาโรงเรียนใหม้ ีการบริหารงานจดั การที่มคี ุณภาพให้เปน็ โรงเรียนมาตรฐานสากล
9. พัฒนาโรงเรยี นให้มกี ารพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ต่างๆท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี นทที่ ันสมัยมาใชใ้ นการ
จดั การเรยี นการสอน

เปา้ ประสงค์ (Goal )

1. นักเรียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสูงขนึ้
2. นักเรยี นร้จู กั แสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างเตม็ ศกั ยภาพ
3. นกั เรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ประพฤติตนตามวถิ ไี ทย
4. นกั เรียนมที กั ษะอาชีพและนำเอาหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชีวิตประจำวนั
5. ครูจดั การเรียนการสอน โดยใช้ส่อื เทคโนโลยที ท่ี ันสมยั เทคนิคการสอนต่างๆ เพ่อื ใหน้ กั เรียนมคี ุณภาพ
6. ครทู ุกคนไดร้ บั การพัฒนาใหเ้ ป็นครมู อื อาชีพ
7. ผปู้ กครอง ชมุ ชน และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ เข้ามามสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา
8. โรงเรยี นมกี ารบรหิ ารงานจดั การทีม่ ีคุณภาพใหเ้ ปน็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล
9. โรงเรยี นมีการพฒั นาแหล่งเรียนร้ตู า่ งๆทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนทท่ี ันสมยั มาใช้ในการจดั การเรียน
การสอน

ตวั ช้วี ดั

1. รอ้ ยละของนักเรียนที่ไดผ้ ลการเรยี นระดับ 3 ข้นึ ไปในระดบั ชั้น ป.1-ม.3 ทุกกลมุ่ สาระ
2. คะแนนเฉลีย่ ทุกรายวิชาจากการทดสอบระดบั ชาติ O-NET, NT, RT สงู กว่าคา่ เฉล่ียระดับประเทศ
3. ร้อยละ 80 ของนกั เรียนรจู้ กั แสวงหาความรูด้ ้วยตนเองอย่างเต็มศกั ยภาพ
4. ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติตนตามวิถีไทยและสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคม
อย่างมีความสุข
5. รอ้ ยละ 90 ของนกั เรยี นทีจ่ บชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 มีพฤตกิ รรมดา้ นทกั ษะอาชีพ
6. รอ้ ยละ 90 ของนักเรยี นทป่ี ฏิบตั ิตนตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั
7. ร้อยละ 80 ของครูจัดการเรียนการสอน โดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย เทคนิคการสอนต่ างๆ เพื่อให้
นกั เรยี นมีคณุ ภาพ
8. ร้อยละ 100 ของครูทุกคนไดร้ บั การพฒั นาให้เปน็ ครมู ืออาชีพ

4

10. ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมทุกครั้งในการจัดการศึกษา หรือ
ประชมุ หาแนวทางการจดั การศึกษา

11. โรงเรียนมกี ารบรหิ ารงานจัดการที่มคี ุณภาพใหเ้ ป็นโรงเรยี นมาตรฐานสากล ระดบั ดีขึ้นไป
12. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ต่างๆทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
อย่างมีคณุ ภาพ

ค่านยิ มในองค์กร

โรงเรียนบา้ นวังตาอินทร์ ได้กำหนดค่านยิ มซึ่งเปน็ วฒั นธรรมองค์กร ในการปฏิบัตงิ าน คอื SMART มี
ความหมาย ดังนี้

“SMART”

• Skill

S • มคี วามรู้ ทกั ษะและความสามารถในการปฏิบัตงิ าน

• Moral

M • มคี ุณธรรม จรยิ ธรรรม ปฏิบตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

• Altruism

A • คานงึ ถงึ ประโยชน์ของผู้เรียนและส่วนรวมเป็นทต่ี ้ัง

• Relation

R • สร้างความสัมพันธท์ ด่ี ใี นองค์กรและชุมชน

• Technology

T • กา้ วทันเทคโนโลยที ่ีทนั สมัย

อตั ลักษณข์ องสถานศกึ ษา

คณุ ธรรม นำความรู้ อย่อู ยา่ งพอเพยี ง

เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา

เรียนดี กฬี าเดน่ เนน้ คุณธรรม น้อมนำเศรษฐกจิ พอเพยี ง

คำขวญั ของโรงเรยี น

ประพฤติดี มีวชิ า สามัคคี มวี นิ ยั

5

กลยทุ ธ์

จากวิสัยทัศน์ของโรงเรียน “โรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ สร้างคุณภาพผู้เรียน สู่มาตรฐานสากลชุมชนมี
ส่วนร่วมจดั การศกึ ษา น้อมนำปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง” โรงเรยี นบ้านวังตาอินทร์ จงึ กำหนดกลยทุ ธ์ ดงั ต่อไปนี้

กลยทุ ธ์ระดับโรงเรียน
โรงเรยี นบ้านวงั ตาอนิ ทร์ มีกลยุทธใ์ นการจดั การศกึ ษา ทัง้ หมด 5 กลยทุ ธ์ ดังน้ี
กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน
กลยทุ ธท์ ี่ ๒ พฒั นาศักยภาพครูและบุคลากรสู่มืออาชีพ
กลยุทธ์ท่ี ๓ พฒั นาโรงเรียนใหม้ ีคณุ ภาพสู่มาตรฐานสากล
กลยทุ ธ์ที่ 4 ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของชมุ ชน
กลยทุ ธ์ที่ 5 สร้างสถานศึกษาและชมุ ชนเปน็ แหล่งเรียนรู้

สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรโรงเรียนบ้านว)ังตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้
ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคญั และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดงั นี้

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปน็ ความสามารถในการรบั และสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการใช้ภาษาถา่ ยทอด
ความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะ
เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถู กต้อง
ตลอดจนการเลอื กใชว้ ธิ กี ารสื่อสาร ทีม่ ีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคิด อยา่ งสรา้ งสรรค์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
เกีย่ วกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง
ถกู ต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใชใ้ นการป้องกนั และแก้ไขปัญหา และมีกาตัดสินใจ
ที่มปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่เกิดขนึ้ ต่อตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ สร้าง
เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับ
การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง
และผู้อื่น

6

๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ และมีทักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหา
อย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์

หลักสูตรโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมี
ความสุข ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้

๑. รักษช์ าติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต
๓. มวี ินยั
๔. ใฝเ่ รียนรู้
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง
๖. มงุ่ มั่นในการทำงาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มจี ิตเป็นสาธารณะ

ค่านยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช.

1. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
2. ซ่ือสตั ย์ เสยี สละ อดทน มอี ดุ มการณใ์ นสิง่ ทีด่ งี ามเพื่อส่วนรวม
3. กตัญญูต่อพอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
4. ใฝห่ าความรู้ หมั่นศกึ ษาเลา่ เรียนทั้งทางตรง และทางออ้ ม
5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มีศลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวังดีต่อผู้อ่นื เผือ่ แผ่และแบ่งปนั
7. เข้าใจเรียนรกู้ ารเปน็ ประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ที่ถกู ต้อง
8. มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่
9. มสี ตริ ตู้ วั รู้คิด ร้ทู ำ รูป้ ฏบิ ตั ิตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั
10. รู้จักดำรงตนอยโู่ ดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11. มีความเข้มแข็งทง้ั ร่ายกาย และจติ ใจ ไมย่ อมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ หรือกิเลสมีความละอายเกรง กลัวต่อ
บาปตามหลกั ของศาสนา
12. คำนงึ ถงึ ผลประโยชน์ของสว่ นรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง

7

หลักสตู รต้านทจุ ริตศกึ ษา

หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา สำนักงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาต(ิ ป.ป.ช.) ร่วมกบั
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้จัดทำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา สำหรับใช้ในทุกระดับ
การศึกษา ในส่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทำหลักสูตร้านทุจริตศึกษา รายวิชาเพ่ิม
เติม “การป้องกันการทุจริต” ขึ้นและคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม
2561 และให้หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ งนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา
โดยมุ่งเน้นการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความหมายและขอบเขตของการกระทำทุจริตในลักษณะต่าง
ๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อมความเสียหายที่เกิดจากการทุจริตความสำคัญของการต่อต้านการทุจริตรวมทั้งจัดให้มีการ
ประเมินผลสมั ฤทธิ์ของการจัดหลักสูตรในแต่ละชว่ งวยั ของผู้เรียนด้วย หลักสูตรต้านทจุ รติ ศึกษา (Anti – Corruption
Education) รายวชิ าเพม่ิ เติม “การป้องกนั การทจุ ริต” ประกอบดว้ ย 4 หน่วยการเรยี นรู้ ได้แก่

1) การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
2) ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ
3) STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจริต
4) พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
ที่สถานศึกษาจัดให้กับผู้เรียนเพื่อปลูกฝังป้องกันการทุจริตไม่ให้เกิดขึ้นและโดยเริ่มปลูกฝังผู้เรียนตั้งแต่ชั้น
ปฐมวัยจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการ มีสมรรถนะที่สำคัญและมี
คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์

8

สว่ นที่ 2

โครงสร้างหลักสูตร ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
โรงเรียนบา้ นวังตาอินทร์

9

โครงสร้างหลกั สูตรโรงเรียนบ้านวงั ตาอนิ ทร์

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการ
เรยี นรู้ตามหลักสตู รของสถานศึกษามีแนวปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

ระดบั การศกึ ษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ )พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน

พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จดั การศกึ ษา ดงั นี้
ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-6) การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเนน้

ทักษะพน้ื ฐานด้านการอ่าน การเขียน การคดิ คำนวณ ทักษะการคิดพ้ืนฐาน การตดิ ต่อสอ่ื สาร กระบวนการเรียนรู้ทาง
สังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา
อารมณ์ สงั คม และวัฒนธรรม โดยเน้นจดั การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓) เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นให้
ผ้เู รียนได้สำรวจความถนัดและความสนใจของตนเอง สง่ เสรมิ การพัฒนาบุคลิกภาพสว่ นตน มีทักษะในการคดิ วิจารณญาณ
คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ มี
ความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจน
ใช้เปน็ พ้นื ฐานในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อ

การจัดเวลาเรยี น
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอนิ ทร์ (ฉบ)ับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖4) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้จดั เวลาเรียนตามกลุม่ สาระการเรยี นรู้ 8 กล่มุ สาระ และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น โดย
จัดให้เหมาะสมตามบรบิ ท จดุ เน้นของโรงเรยี น และสภาพของผูเ้ รยี น ดังน้ี

ระดับประถมศึกษา (ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑-๖) จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมเี วลาเรียนวันละ ๖ ชว่ั โมง
ระดับมัธยมศกึ ษา (ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑-3) จดั เวลาเรยี นเป็นรายภาค โดยมเี วลาเรียนวันละ ๖ ชั่วโมง

โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกอบดว้ ยโครงสร้างเวลาเรียนและโครงสรา้ งหลกั สูตรช้ันปี ดงั น้ี

1. โครงสร้างเวลาเรียน เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของแต่ละกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระ ที่เป็นเวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนรายวิชาเพิ่มเติม และเวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
จำแนกแต่ละช้นั ปี ในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ดงั น้ี

10

โครงสร้างเวลาเรยี นโรงเรียนบ้านวงั ตาอินทร์ พุทธศักราช ๒๕๖4

1. หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นวงั ตาอนิ ทร์ พุทธศกั ราช 2564 กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนระดับ

มัธยมศึกษาตอนต้น ดังนี้

เวลาเรียน

กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

ม.๑ ม.๒ ม.๓

กล่มุ สาระการเรียนรู้

ภาษาไทย ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

คณติ ศาสตร์ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วทิ ยาการคำนวณ 80 80 80

๔๐ ๔๐ 40

สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

 ศาสนาศลี ธรรม จริยธรรม
 หนา้ ทพี่ ลเมือง วฒั นธรรมและการดำเนนิ ชวี ิตในสงั คม
 ภมู ศิ าสตร์
 เศรษฐศาสตร์

ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐

สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๘๐ ๘๐ ๘๐

ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐

การงานอาชพี ๘๐ ๘๐ ๘๐
ภาษาต่างประเทศ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐
รวมเวลาเรยี น (รายวิชาพ้นื ฐาน)

รายวิชาเพิ่มเตมิ

หน้าทพี่ ลเมือง (เพิ่มเตมิ ) ๔๐ ๔๐ ๔๐

คณิตศาสตร์ (เพิ่มเตมิ ) ๔๐ ๔๐ ๔๐

ภาษาตา่ งประเทศ (เพ่ิมเติม) ๔๐ ๔๐ ๔๐

วิทยาศาสตร์ (เพ่ิมเตมิ ) ๔๐ ๔๐ ๔๐
สาระการเรียนรเู้ พ่ิมเตมิ หลกั สูตรต้านทุจริตศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐
๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐
รวมเวลาเรียน (รายวิชาเพิม่ เติม)

กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน

 กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐

 กิจกรรมนกั เรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐
- ลกู เสือ-เนตรนารี

- ชมุ นุม* ๒๕ ๒๕ ๒๕

 กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๕ ๑๕ ๑๕

รวมเวลาเรียน (กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน) 120 120 120
รวมเวลาเรยี น
........๑,20๐........ชัว่ โมง/ปี

หมายเหตุ

1. ผู้เรียนปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ ในกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี และชมุ นุม

2. กจิ กรรมชมุ นมุ นกั เรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ดงั น้ี 1) ชุมนมุ คลีนิครกั การอา่ น ๒) ชุมนมุ ยุวเกษตร

3) ชมุ นมุ นาฎศลิ ป์ 4) ชมุ นุมหรีดสร้างสรรค์จากวัสดุเหลอื ใช้ และ 5) ชมุ นุมคอมพิวเตอร์

11

๒. โครงสร้างหลกั สตู รชน้ั ปี เปน็ โครงสร้างทแี่ สดงรายละเอยี ดเวลาเรยี นของรายวชิ าพื้นฐาน รายวชิ า/กิจกรรม
เพิม่ เติม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นจำแนกแต่ละชัน้ ปี ดงั นี้

โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านวังตาอินทร์

ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น
ชวั่ โมง/ภาคเรียน ช่ัวโมง/สัปดาห์

รหัสวชิ า รายวชิ าพ้นื ฐาน 440 22

ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๖๐ ๓

ค๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ ๖๐ ๓

ว๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑ 40 2

ว๒๑๑๐๓ วทิ ยาการคำนวณ ๑ ๒๐ ๑

ส๒๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ ๖๐ ๓

ส๒๑๑๐๓ ประวตั ิศาสตร์ ๑ ๒๐ ๑

พ๒๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๑ ๔๐ ๒

ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๔๐ ๒

ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ 40 2

อ๒๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ ๖๐ ๓

รหัสวิชา รายวชิ าเพม่ิ เติม ๑๐๐ ๕

ค๒๑๒๐๑ เสรมิ ทักษะคณิตศาสตร์ 1 ๒๐ ๑

ว๒๑๒๐๑ เสรมิ ทักษะวิทยาศาสตร์ 1 ๒๐ ๑

อ๒๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 1 ๒๐ ๑

ส๒๑๒๐๑ หน้าทพ่ี ลเมือง 1 ๒๐ ๑

ส๒๑๒๐๓ การป้องกันการทุจริต 1 ๒๐ ๑

รหสั กจิ กรรม กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๖๐ ๓

ก๒๑๙๐๑  กิจกรรมแนะแนว ๒๐ ๑

 กิจกรรมนักเรียน

ก๒๑๙๐๒  ลกู เสอื /เนตรนารี ๒๐ ๑

ก๒๑๙๐๓  ชมุ นุม* ๑๓ ๑

ก๒๑๙๐๔  กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๗ ผนวกในกิจกรรม

 กจิ กรรมเพ่ิมความรู้ ชุมนมุ

รวมเวลาเรียนทง้ั หมดตามโครงสร้างหลักสตู ร ๖๐๐ ๓๐

12

โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นวงั ตาอนิ ทร์

ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2

รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น
ชว่ั โมง/ภาคเรียน ช่วั โมง/สัปดาห์

รหัสวิชา รายวิชาพืน้ ฐาน 440 22

ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๖๐ ๓

ค๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๒ ๖๐ ๓

ว๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ 40 2

ว๒๑๑๐๔ วทิ ยาการคำนวณ ๒ ๒๐ ๑

ส๒๑๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒ ๖๐ ๓

ส๒๑๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๒ ๒๐ ๑

พ๒๑๑๐๒ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๒ ๔๐ ๒

ศ๒๑๑๐๒ ศลิ ปะ ๒ ๔๐ ๒

ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ 40 2

อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ ๖๐ ๓

รหสั วชิ า รายวิชาเพ่มิ เติม ๑๐๐ ๕

ค๒๑๒๐2 เสริมทักษะคณิตศาสตร์ 2 ๒๐ ๑

ว๒๑๒๐2 เสรมิ ทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ 2 ๒๐ ๑

อ๒๑๒๐2 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 2 ๒๐ ๑

ส๒๑๒๐2 หน้าท่พี ลเมือง 2 ๒๐ ๑

ส๒๑๒๐4 การป้องกนั การทจุ ริต 2 ๒๐ ๑

รหัสกิจกรรม กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๖๐ ๓

ก๒๑๙๐5  กิจกรรมแนะแนว ๒๐ ๑

 กิจกรรมนักเรยี น

ก๒๑๙๐6 ลูกเสอื /เนตรนารี ๒๐ ๑

ก๒๑๙๐7  ชุมนุม* ๑๒ ๑

ก๒๑๙๐8  กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๘ ผนวกในกิจกรรม

 กิจกรรมเพิ่มความรู้ ชมุ นมุ

รวมเวลาเรียนทัง้ หมดตามโครงสร้างหลักสูตร ๖๐๐ ๓๐

13

โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นวงั ตาอนิ ทร์

ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 1

รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น
ชว่ั โมง/ภาคเรียน ช่วั โมง/สัปดาห์

รหัสวชิ า รายวิชาพืน้ ฐาน 440 22

ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๖๐ ๓

ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๖๐ ๓

ว๒๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๓ 40 2

ว๒๒๑๐๓ วิทยาการคำนวณ ๓ ๒๐ ๑

ส๒๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๓ ๖๐ ๓

ส๒๒๑๐๓ ประวตั ศิ าสตร์ ๓ ๒๐ ๑

พ๒๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๓ ๔๐ ๒

ศ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๔๐ ๒

ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ 40 2

อ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ๖๐ ๓

รหสั วชิ า รายวชิ าเพม่ิ เติม ๑๐๐ ๕

ค๒2๒๐๑ เสริมทักษะคณติ ศาสตร์ 3 ๒๐ ๑

ว๒2๒๐๑ เสริมทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ 3 ๒๐ ๑

อ๒2๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 ๒๐ ๑

ส๒2๒๐๑ หน้าท่ีพลเมือง 3 ๒๐ ๑

ส๒2๒๐๓ การปอ้ งกนั การทจุ รติ 3 ๒๐ ๑

รหัสกิจกรรม กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๖๐ ๓

ก๒๒๙๐๑  กิจกรรมแนะแนว ๒๐ ๑

 กิจกรรมนกั เรยี น

ก๒๒๙๐๒  ลกู เสอื /เนตรนารี ๒๐ ๑

ก๒๒๙๐๓  ชุมนุม* ๑๓ ๑

ก๒๒๙๐๔  กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๗ ผนวกในกิจกรรม

 กิจกรรมเพ่ิมความรู้ ชมุ นมุ

รวมเวลาเรียนทงั้ หมดตามโครงสร้างหลักสตู ร ๖๐๐ ๓๐

14

โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นวงั ตาอนิ ทร์

ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 2

รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น
ชว่ั โมง/ภาคเรียน ช่วั โมง/สัปดาห์

รหัสวชิ า รายวิชาพืน้ ฐาน 440 22
ท๒๒๑๐2
ค๒๒๑๐2 ภาษาไทย 4 ๖๐ ๓
ว๒๒๑๐2
ว๒๒๑๐๔ คณิตศาสตร์ 4 ๖๐ ๓
ส๒๒๑๐๒
ส๒๒๑๐๔ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4 40 2
พ๒๒๑๐๒
ศ๒๒๑๐๒ วิทยาการคำนวณ ๔ ๒๐ ๑
ง๒๒๑๐๒
อ๒๒๑๐๒ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 4 ๖๐ ๓
รหสั วชิ า
ค๒2๒๐2 ประวตั ศิ าสตร์ 4 ๒๐ ๑
ว๒2๒๐2
อ๒2๒๐2 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 4 ๔๐ ๒
ส๒2๒๐2
ส๒2๒๐4 ศิลปะ 4 ๔๐ ๒
รหัสกิจกรรม
ก๒๒๙๐5 การงานอาชีพ 4 40 2

ก๒๒๙๐6 ภาษาองั กฤษ 4 ๖๐ ๓
ก๒๒๙๐7
ก๒๒๙๐8 รายวชิ าเพม่ิ เติม ๑๐๐ ๕

เสริมทักษะคณติ ศาสตร์ 4 ๒๐ ๑

เสริมทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ 4 ๒๐ ๑

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 ๒๐ ๑

หน้าท่ีพลเมือง 4 ๒๐ ๑

การปอ้ งกนั การทจุ รติ 4 ๒๐ ๑

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๖๐ ๓

 กิจกรรมแนะแนว ๒๐ ๑

 กิจกรรมนกั เรยี น

 ลกู เสอื /เนตรนารี ๒๐ ๑

 ชุมนุม* ๑๒ ๑

 กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๘ ผนวกในกิจกรรม

 กิจกรรมเพ่ิมความรู้ ชมุ นมุ

รวมเวลาเรียนทงั้ หมดตามโครงสร้างหลักสตู ร ๖๐๐ ๓๐

15

โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นวงั ตาอนิ ทร์

ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1

รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น
ชว่ั โมง/ภาคเรียน ช่วั โมง/สัปดาห์

รหัสวชิ า รายวิชาพืน้ ฐาน 440 22

ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๖๐ ๓

ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ๖๐ ๓

ว๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๕ 40 2

ว๒๓๑๐๓ วิทยาการคำนวณ ๕ ๒๐ ๑

ส๒๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕ ๖๐ ๓

ส๒๓๑๐๓ ประวตั ศิ าสตร์ ๕ ๒๐ ๑

พ๒๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๕ ๔๐ ๒

ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๔๐ ๒

ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ 40 2

อ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕ ๖๐ ๓

รหสั วชิ า รายวชิ าเพม่ิ เติม ๑๐๐ ๕

ค๒3๒๐๑ เสริมทักษะคณติ ศาสตร์ 5 ๒๐ ๑

ว๒3๒๐๑ เสริมทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ 5 ๒๐ ๑

อ๒3๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 5 ๒๐ ๑

ส๒3๒๐๑ หน้าท่ีพลเมือง 5 ๒๐ ๑

ส๒3๒๐๓ การปอ้ งกนั การทจุ รติ 5 ๒๐ ๑

รหัสกิจกรรม กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๖๐ ๓

ก๒๓๙๐๑  กิจกรรมแนะแนว ๒๐ ๑

 กิจกรรมนกั เรยี น

ก๒๓๙๐๒  ลกู เสอื /เนตรนารี ๒๐ ๑

ก๒๓๙๐๓  ชุมนุม* ๑๓ ๑

ก๒๓๙๐๔  กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๗ ผนวกในกิจกรรม

 กิจกรรมเพ่ิมความรู้ ชมุ นมุ

รวมเวลาเรียนทงั้ หมดตามโครงสร้างหลักสตู ร ๖๐๐ ๓๐

16

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านวังตาอินทร์

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2

รหสั วิชา รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน
ท๒๓๑๐๒ ช่ัวโมง/ภาคเรียน ชั่วโมง/สัปดาห์
ค๒๓๑๐๒ รายวชิ าพ้นื ฐาน
ว๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ 440 22
ว๒๓๑๐๔ คณติ ศาสตร์ ๖ ๖๐ ๓
ส๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖ ๖๐ ๓
ส๒๓๑๐๔ วิทยาการคำนวณ ๖ 40 2
พ๒๓๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๖ ๒๐ ๑
ศ๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๖ ๖๐ ๓
ง๒๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ๒๐ ๑
อ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๖ ๔๐ ๒
รหัสวิชา การงานอาชีพ ๖ ๔๐ ๒
ค๒3๒๐2 ภาษาองั กฤษ ๖ 40 2
ว๒3๒๐2 ๖๐ ๓
อ๒3๒๐2 รายวิชาเพ่มิ เติม ๑๐๐ ๕
ส๒3๒๐2 เสรมิ ทักษะคณติ ศาสตร์ 6 ๒๐ ๑
ส๒3๒๐4 เสรมิ ทักษะวทิ ยาศาสตร์ 6 ๒๐ ๑
รหสั กจิ กรรม ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร 6 ๒๐ ๑
ก๒๓๙๐5 ๒๐ ๑
หน้าท่ีพลเมือง 6 ๒๐ ๑
ก๒๓๙๐6 การปอ้ งกนั การทุจรติ 6 ๖๐ ๓
ก๒๓๙๐7 ๒๐ ๑
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
 กจิ กรรมแนะแนว ๒๐ ๑
 กิจกรรมนกั เรียน ๑๒ ๑

 ลกู เสอื /เนตรนารี
 ชมุ นุม*

ก๒๓๙๐8  กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๘ ผนวกในกิจกรรม
 กิจกรรมเพิ่มความรู้ ชมุ นมุ

รวมเวลาเรยี นทัง้ หมดตามโครงสร้างหลกั สูตร ๖๐๐ ๓๐

17

ส่วนท่ี 3

หลักสตู รโรงเรยี นบ้านวงั ตาอนิ ทร์
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ

ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

18

สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี

ความนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ.
1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 และคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 30/ 2561
ลงวันที่ 5 มกราคม 2561 ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และ
วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยมีคำสั่งใหโ้ รงเรยี นดำเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา 2561 ให้ใช้ใน
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 และชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ใหใ้ ชใ้ นช้นั ประถมศึกษา
ปที ่ี 1-2 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4-5 และช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1-2 และปกี ารศึกษา 2563 ใหใ้ ช้ในช้ันประถมศึกษาปี
ที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้พัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้
สอดคล้องกบั นโยบายและเปา้ หมายของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน โรงเรยี นบา้ นทุง่ น้ยุ “มติ รภาพ
ท่ี 49”จงึ ไดป้ รับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบ ในการวางแผนการจัดการเรียนการสอน
โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดคุณภาพ
ผู้เรียน โครงสร้างเวลาเรียน สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด แนวการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
ตลอดจนสือ่ /แหลง่ เรียนรูใ้ ห้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัดชั้นปี เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถ
กำหนดทิศทางในการจัดการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็น
แนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ให้มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้อย่าง
แท้จริง และมที กั ษะในศตวรรษที่ 21

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชีว้ ดั ทก่ี ำหนดไวใ้ นเอกสารน้ี ช่วยใหส้ ถานศึกษาเหน็ ผลคาดหวังทต่ี ้องการในการ
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดทำหลักสูตรมี
คุณภาพและมีความเปน็ เอกภาพสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ดั ทีก่ ำหนดไวใ้ นหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน รวมท้ังเปน็ กรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบและครอบคลุมผูเ้ รียนในระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ
ตลอดจนปรับปรุงแกไ้ ข เพ่ือพัฒนาผเู้ รยี นไปสูค่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ ่ีกำหนดไว้

ทำไมต้องเรยี นการงานอาชีพ

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจ
มีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการดำรงชีวิต การ
อาชีพมาใช้ประโยชน์ในการทำงานอยา่ งมีความคิดสรา้ งสรรค์ และแข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการ
ประกอบอาชีพ รักการทำงานและมีเจตคติที่ดีต่อการทำงาน สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียงและมี
ความสขุ

19

เรยี นรอู้ ะไรในการงานอาชีพ

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ
มีทักษะในการทำงาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพโดย
มสี าระสำคญั ดงั น้ี

การดำรงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเกี่ยวกับการทำงานในชีวิตประจำวันการช่วยเหลือตนเอง
ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เน้นการปฏิบัติจริงจนเกิด
ความม่นั ใจและภูมใิ จในผลสำเรจ็ ของงาน เพือ่ ใหค้ น้ พบความสามารถความถนดั และความสนใจของตนเอง

การอาชพี เป็นสาระเก่ียวกับทักษะที่จำเป็นต่ออาชีพ เหน็ ความสำคัญของคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและเจตคติที่
ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีไดเ้ หมาะสม เหน็ คณุ ค่าของอาชพี สุจริตละเหน็ แนวทางในการประกอบอาชีพ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระท่ี 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะการจดั การ

ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน และทักษะการแสวงหาความรู้
มีคุณธรรม และลกั ษณะนสิ ยั ในการทำงาน มจี ติ สำนึกในการใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อมเพื่อการดำรงชีวติ และครอบครวั

สาระที่ 2 การอาชีพ
มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจ มีทักษะทจี่ ำเป็น มีประสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชพี ใช้เทคโนโลยเี พอ่ื พฒั นาอาชีพ มี

คณุ ธรรม และมเี จตคตทิ ่ดี ีต่ออาชีพ

คุณภาพผู้เรียน

จบช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3

เข้าใจกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงาน มีทักษะการแสวงหาความรู้
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาและทักษะการจัดการ มีลักษณะนิสัยการทำงาน ที่เสียสละ มีคุณธรรม ตัดสินใจอย่างมี
เหตผุ ลและถกู ต้อง และมีจติ สำนกึ ในการใช้พลังงาน ทรพั ยากร และส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งประหยดั และคุ้มค่า

เขา้ ใจแนวทางการเลอื กอาชพี การมีเจตคติท่ดี แี ละเห็นความสำคัญของการประกอบอาชพี วิธกี ารหางานทำ
คุณสมบัติที่จำเป็นสำหรับการมีงานทำ วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ มีทักษะพื้นฐาน ที่จำเป็นสำหรับการประกอบ
อาชีพ และประสบการณ์ต่ออาชีพที่สนใจ และประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ ความ
ถนัด และความสนใจ

20

โครงสรา้ งเวลาเรยี น

โครงสรา้ งหลักสูตรระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ

ระดบั ช้นั ภาคเรยี นท่ี 1 ช.ม./ รหัสวชิ า ภาคเรียนที่ 2 ช.ม./
รหสั วิชา ชือ่ รายวิชา นก. สปั ดาห์ สปั ดาห์
ม.1 ง21202 ช่อื รายวชิ า นก.
ม.2 ง21101 สาระพ้ืนฐาน 1 ง22102 1
ม.3 ง22101 การงานอาชีพ1 0.5 1 ง23102 สาระพืน้ ฐาน 1
ง23101 การงานอาชพี 3 0.5 1 การงานอาชพี 2 0.5 1
ม.1 การงานอาชพี 5 0.5 - การงานอาชพี 4 0.5
ม.2 - - - การงานอาชพี 6 0.5 -
ม.3 - สาระเพิม่ เตมิ - - -
- -- - สาระเพ่มิ เตมิ -
-- --
-- --
--

หมายเหตุ :: รายวิชาเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการงานอาชีพ โรงเรียนสามารถจัดรายวิชาเพิ่มเติม
ได้ตามบริบทของโรงเรียน

21

สาระมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วดั ช้ันปี

สาระที่ 1 การดำรงชีวติ และครอบครวั
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะ

กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกันและทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรมและ
ลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการ
ดำรงชวี ติ และครอบครวั

ตวั ชว้ี ดั

ม.1 ม.2 ม.3

1. วิเคราะห์ขน้ั ตอนทำงานตาม 1. ใช้ทกั ษะการแสวงหาความร้เู พอื่ 1. อภปิ รายขนั้ ตอนการทำงานที่มี
กระบวนการทำงาน
2. ใชก้ ระบวนการกล่มุ ในการ พัฒนาการทำงาน ประสิทธิภาพ
ทำงานด้วยความเสยี สละ
3. ตดั สินใจแก้ปญั หาการทำงาน 2. ใช้ทกั ษะกระบวน 2. ใช้ทกั ษะในการทำงานร่วมกันอย่าง
อย่างมเี หตผุ ล
การแกป้ ัญหาในการทำงาน มีคณุ ธรรม

3. มจี ติ สำนกึ ในการทำงานและใช้ 3. อภิปรายการทำงานโดยใช้ทกั ษะ

ทรพั ยากรในการทำงานอย่าง การจดั การเพ่ือการประหยดั พลงั งาน

ประหยดั และค้มุ คา่ ทรพั ยากรและสงิ่ แวดล้อม

สาระท่ี 2 การอาชีพ
มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจ มีทักษะที่จำเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนอาชพี มี

คุณธรรมและมเี จตคติทด่ี ีตอ่ อาชพี

ม.1 ตวั ชว้ี ัด ม.3

1. อธิบายแนวทางในการเลือก ม.2 1. อภิปรายการหางานด้วยวิธีที่
อาชพี หลากหลาย
2. มีเจตคติที่ดตี อ่ การประกอบ 1. อธบิ ายการเสรมิ สรา้ ง 2. วเิ คราะหแ์ นวทางเข้าสู่อาชีพ
อาชีพ ประสบการณ์อาชีพ 3. ประเมนิ ทางเลอื กในการประกอบ
3. เห็นความสำคญั ของการสรา้ ง 2. ระบกุ ารเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ อาชพี ท่สี อดคล้องกบั ความรู้ ความ
อาชพี 3. มที ักษะพ้นื ฐานทจี่ ำเป็นสำหรับ ถนดั และความสนใจของตนเอง
การประกอบอาชีพที่สนใจ

22

สาระมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วดั รายปี

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1

ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง
 สาระท่ี 1 การดำรงชีวติ และครอบครวั
สาระท่ี 1 การดำรงชีวติ และครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มคี วามคิดสร้างสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะการจัดการ ทกั ษะ

กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรมและ
ลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการ
ดำรงชีวติ และครอบครัว

ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.1 1. อภปิ รายขน้ั ตอนการทำงาน  ขั้นตอนการทำงานเป็นส่วนหนึง่ ของการปฏบิ ัตงิ านตาม

ท่ีมีประสทิ ธิภาพ ทักษะกระบวนการทำงานโดยทำตามลำดบั ขัน้ ตอนที่วางแผน

ไว้ เชน่

- การใชอ้ ุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการทำงานบ้าน

- การจัดตกแต่งหอ้ ง

2. ใชท้ กั ษะในการทำงาน  กระบวนการกลมุ่ เป็นวิธกี ารทำงานตามข้นั ตอน คือ การ

รว่ มกันอย่างมีคุณธรรม เลือกหวั หนา้ กล่มุ กำหนดเป้าหมาย วางแผน แบง่ งานตาม

ความสามารถปฏิบตั ติ ามบทบาทหนา้ ที่ ประเมนิ ผลและ

ปรบั ปรงุ งาน เชน่

- การเตรียมประกอบ จัด ตกแตง่ และบริการอาหาร

- การแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตร

- การประดษิ ฐข์ องใชข้ องตกแตง่ จากวสั ดทุ อ้ งถนิ่

 ความเสยี สละเป็นลกั ษณะนสิ ัยในการทำงาน

3. อภิปรายการทำงานโดยใช้  การแกป้ ัญหาในการทำงานเพือ่ ให้เกิดความคดิ หาวธิ ีการ
ทกั ษะการจดั การเพอื่ การ แก้ปญั หาตา่ ง ๆ เช่น
ประหยดั พลงั งาน ทรัพยากร
และสงิ่ แวดล้อม - การจดั สวนในภาชนะ
- การซ่อมแซมอปุ กรณ์และเคร่ืองมือ/เคร่ืองใช้

23

 สาระที่ 2 การอาชพี
มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจ มีทักษะทจี่ ำเป็นมปี ระสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชพี ใชเ้ ทคโนโลยเี พอื่ พฒั นาอาชีพ

มคี ุณธรรมและมเี จตคติทดี่ ตี อ่ อาชีพ

ช้ัน ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ม.1 1. อธิบายแนวทางการเลือกอาชีพ  แนวทางการเลือกอาชพี

- กระบวนการตัดสนิ ใจเลอื กอาชพี

2. มเี จตคติทดี่ ีต่อการ ประกอบ  เจตคตทิ ่ดี ีต่อการประกอบอาชีพ
อาชีพ - การสร้างรายไดจ้ ากการประกอบอาชีพสจุ รติ

3. เหน็ ความสำคญั ของการสรา้ ง  ความสำคญั ของการสรา้ งอาชีพ
อาชพี
- การมีรายไดจ้ ากอาชพี ที่สร้างขน้ึ

- การเตรยี มความพร้อม
 ความสำคัญของการสร้างอาชพี

- การมีรายได้จากอาชีพที่สร้างขึ้น

- การเตรียมความพร้อม

24

ง 21101 การงานอาชีพ 1 คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1
กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี
เวลา 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษา วิเคราะห์และอธิบายขั้นตอนการทำงานที่จำเป็นเกี่ยวกับความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันเพื่อการ
ดำรงชีวิตและครอบครัวในด้านงานอาชีพ ธุรกิจทั่วไป องค์กรธุรกิจ การมาตรฐาน การคุ้มครองผู้บริโภค การขาย
สินค้า การเลือกซื้อสินค้าและบริการ การจัดทำงบประมาณ การจัดทำบัญชี การจัดการงานประจำวนั การจัดการ
งานอาชพี การตดิ ต่อส่อื สาร การจดั เกบ็ เอกสาร ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การประหยดั และการออมทรพั ย์

โดยใช้ทักษะ กระบวนการเป็นรายบุคคลและกลุ่มการทำงานร่วมกัน กำหนดวางแผน การจัดการ การ
แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล การสืบค้นข้อมูล การบันทึกจัดกลุ่มข้อมูล การอภิปราย การรายงาน การสื่อสารที่มี
ประสทิ ธิภาพ การฝึกประสบการณ์ การเลือกใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรคต์ อ่ ชวี ติ สังคม ส่งิ แวดลอ้ ม การประยกุ ตใ์ ช้
พลังงานและทรพั ยากรอย่างประหยัดคุ้มค่า

เพื่อให้เห็นแนวทางในการเลือกอาชีพธุรกิจ ใช้เทคโนโลยีพัฒนาอาชีพ มีลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงาน รัก
ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ เสียสละ ซอื่ สัตย์ สจุ รติ มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มงุ่ มนั่ ในการทำงาน รกั ความเป็นไทย มี
จติ สาธารณะ มีเจตคตทิ ี่ดตี อ่ การประกอบอาชีพและเหน็ ความสำคญั ของการสร้างอาชพี สจุ ริต

รหสั ตัวชี้วดั (รายปี)
ง 1.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
ง 2.1 ม.1/1 ม1/2 ม.1/3

รวมทั้งสิ้น 2 มาตรฐาน 6 ตวั ชี้วดั

25

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

ง21102 การงานอาชีพ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายขั้นตอนการทำงานที่จำเป็นเกี่ยวกับความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันเพื่อการ
ดำรงชีวิตและครอบครัว ในด้านความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ วัสดุท้องถิ่น การออกแบบงาน
ประดิษฐ์ คุณสมบัติของผู้ประกอบงานประดิษฐ์ วัสดุอุปกรณ์ของงานประดิษฐ์ การใช้และการดูแลรักษาอุปกรณ์
ความปลอดภยั ในการทำงาน การแปรรปู อาหาร

โดยใช้ทักษะ กระบวนการเป็นรายบุคคลและกลุ่มการทำงานร่วมกัน กำหนดวางแผน การจัดการ การ
แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลการสืบค้นข้อมูลการบันทึกจัดกลุ่มข้อมูล การอภิปราย การรายงาน
การสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ การฝกึ ประสบการณ์ การเลอื กใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชวี ิต สังคม ส่ิงแวดล้อม
การประยุกต์ใช้พลังงานและทรัพยากร อย่างประหยัดคมุ้ คา่ ในการประดิษฐ์ของเลน่ ของใช้ ของประดับตกแตง่ และ
ของใช้ในพิธี มีทักษะในการประกอบอาชพี สุจรติ

เพื่อให้เห็นแนวทางในการเลือกอาชีพงานประดิษฐ์ ใช้เทคโนโลยีพัฒนาอาชีพ มีลักษณะนิสัยที่ดีในการ
ทำงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เสียสละ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รัก
ความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ มเี จตคตทิ ีด่ ีตอ่ การประกอบอาชีพ และเห็นความสำคัญของการสรา้ งอาชีพสจุ ริต

รหัสตวั ช้ีวดั (รายปี)
ง 1.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
ง 2.1 ม.1/1 ม1/2 ม.1/3

รวมท้งั สิ้น 2 มาตรฐาน 6 ตวั ชว้ี ดั

26

โครงสรา้ งรายวิชา

ง 21101 การงานอาชีพ1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ลำดับท่ี ชือ่ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
หนว่ ยการเรยี นรู้ การเรยี นรู้ /ตัวชว้ี ัด (ช่ัวโมง) คะแนน

1 ทกั ษะการทำงาน ง 1.1 ม.1/1 - ทกั ษะการทำงาน 8 10
ม.1/2 ม.1/3 - การวางแผนการทำงาน
- การทำงานโดยใช้ 10 20
2 ฉลาดใช้ ง 1.1 ม.1/1 กระบวนการกล่มุ
ม.1/2 ม.1/3 10 20
- ความรเู้ บอ้ื งต้นเกีย่ วกับ
การทำทำงานบ้าน 10 30
- หลกั การใช้อปุ กรณ์
- การใช้อุปกรณ์การทำงาน 1 70
บ้าน 1 10
- ประหยัดพลังงานและ 40 20
ปลอดภัย 100

- การเกบ็ รกั ษาอุปกรณ์

3 งานประดษิ ฐ์ ง 1.1 ม.1/1 - ความร้เู บื้องตน้ เกย่ี วกับ
ม.1/2 ม.1/3 งานประดษิ ฐ์
- วธิ ีสร้างงานประดิษฐ์

- การประดิษฐข์ องใช้

ของตกแต่ง

4 แมค่ รวั วัยใส ง 1.1 ม.1/1 - อาหารสำหรับครอบครวั
ม.1/2 ม.1/3 - การเตรียมวตั ถดุ ิบ
- การประกอบอาหาร

- การจัดตกแตง่ อาหาร

คะแนนระหว่างเรยี น

คะแนนสอบระหว่างภาค

คะแนนสอบปลายภาคเรียน

รวม

*** หมายเหตุ : โรงเรียนกำหนดหน่วยการเรยี นร้ตู ามบริบทและความต้องการของโรงเรยี นโดยให้สอดคลอ้ ง กับ
ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางหรือสาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ ทกี่ ำหนดไว้

27

ง 21102 การงานอาชพี 2 โครงสร้างรายวิชา
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี

จำนวน 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ลำดบั ท่ี ช่อื มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
หนว่ ยการเรยี นรู้ การเรียนรู้ / ตัวช้ีวัด (ช่ัวโมง) คะแนน
50
1 การแปรรปู ง 1.1 ม.1/1 - วิธกี ารแปรรปู อาหาร 20
อาหาร ม.1/2 ม.1/3 - การแปรรปู อาหารผลติ ภณั ฑ์ 18 30
เกษตร
2 เรยี นรสู้ อู่ าชพี ง 2.1 ม.1/1 70
ม.1/2 ม.1/3 - การประกอบอาชพี 10
- ขนมพื้นบ้าน 20
- ชา่ งตัดผม 100
- ช่างเสรมิ สวย

คะแนนระหวา่ งเรียน 1
คะแนนสอบระหว่างภาค 1

คะแนนสอบปลายภาคเรยี น

รวม 40

*** หมายเหตุ : โรงเรยี นกำหนดหน่วยการเรียนรตู้ ามบริบทและความตอ้ งการของโรงเรียนโดยให้สอดคลอ้ ง กบั
ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลางหรือสาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ ที่กำหนดไว้

28

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2

ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
 สาระที่ 1 การดำรงชวี ิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ

ทกั ษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกันและทกั ษะการแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรม
และลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการ
ดำรงชีวติ และครอบครัว

ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ม.2 1. ใช้ทักษะการแสวงหา  ทักษะการแสวงหาความรู้ ประกอบด้วยการศึกษา ค้นคว้า
ความรู้เพื่อพัฒนาการ รวบรวม สังเกต สำรวจ และบันทึก เพื่อใช้ในการพัฒนาการทำงาน
เชน่
ทำงาน - การจดั และตกแต่งบา้ น

- การดแู ลรกั ษาและตกแต่งสวน

- การจดั การผลผลติ

2. ใช้ทักษะกระบวนการ  ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน มีขั้นตอน คือ การ
แก้ปัญหาในการทำงาน สงั เกต วิเคราะห์ สร้างทางเลือก และประเมินทางเลอื ก เช่น

- การเตรยี ม ประกอบ จดั ตกแตง่ และบริการเครื่องดื่ม
- การเลย้ี งสัตว์
- การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในโรงเรียน หรือ

ท้องถน่ิ
- การตดิ ตอ่ สื่อสารและใชบ้ ริการกับหนว่ ยงานต่าง ๆ

3. มีจิตสำนึกในการ  การมีจิตสำนึกและใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด และคุ้มค่าเป็น
ทำงานและใช้ทรัพยากร คุณธรรมในการทำงาน
ในการปฏิบัติงานอย่าง
ประหยดั และคมุ้ ค่า

29

 สาระท่ี 2 การอาชพี
มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจ มที กั ษะทีจ่ ำเป็นมีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชพี ใช้เทคโนโลยเี พ่อื พฒั นาอาชีพ

มคี ณุ ธรรมและมเี จตคตทิ ่ดี ตี ่ออาชพี

ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
 การจดั ประสบการณ์อาชีพ
ม.2 1. อธบิ ายการเสริมสร้าง - สถานการณแ์ รงงาน
ประสบการณ์อาชพี - ประกาศรบั สมัครงาน
- ความรคู้ วามสามารถของตนเอง
- ผลตอบแทน

2. ระบุการเตรียมตัวเข้าสู่  การเตรียมตัวเขา้ สู่อาชีพ
อาชพี - การหางาน
- คณุ สมบตั ิทจี่ ำเป็น

3. มที ักษะพืน้ ฐานท่ีจำเปน็  ทกั ษะทจี่ ำเป็นต่อการประกอบอาชพี
สำหรับการประกอบอาชีพที่ - ทักษะกระบวนการทำงาน
สนใจ - ทกั ษะกระบวนการแก้ปญั หา
- ทักษะการทำงานรว่ มกนั
- ทักษะการแสวงหาความรู้
- ทกั ษะการจดั การ

30

ง 22101 การงานอาชีพ 3 คำอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1
กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี
จำนวน 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ สำรวจ และแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงาน โดยใช้กระบวนการแกป้ ัญหา มีความคิด
สร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน
ทกั ษะการแสวงหาความรู้

ศึกษา สำรวจ วิเคราะห์ การจัดประสบการณ์อาชีพ การเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ และมีทักษะที่จำเป็นต่ องาน
อาชพี ฝึกปฏบิ ตั ทิ กั ษะท่ีจำเป็นต่อการประกอบอาชีพ ดว้ ยทักษะกระบวนการทำงาน การแก้ปัญหา การทำงานร่วมกัน
ตลอดจนการแสวงหาความรู้จากแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ

มคี ุณธรรม มีเจตคตทิ ี่ดีต่ออาชีพ มีจิตสำนกึ ในการใช้พลังงานทัพยากร และสง่ิ แวดล้อมอยา่ งประหยัดและคุ่ม
ค่า เพื่อการดำรงชีวิต และครอบครัว ในการประกอบอาชีพ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการดำรงชีวิต
ครอบครวั และการทำงาน สามารถอยู่รว่ มกนั ในสังคมอยา่ งมีความสขุ

รหัสตวั ช้ีวัด (รายปี)
ง 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3
ง 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3

รวมท้ังสนิ้ 2 มาตรฐาน 6 ตวั ช้ีวัด

31

ง 22102 การงานอาชพี 4 คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
จำนวน 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ สำรวจ และแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงาน โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหา มีความคิด
สร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน
ทักษะการแสวงหาความรู้

ศึกษา สำรวจ วิเคราะห์ การจัดประสบการณ์อาชีพ การเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ และมีทักษะที่จำเป็นต่องาน
อาชีพ

ฝึกปฏิบัติทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ ด้วยทักษะกระบวนการทำงาน การแก้ปัญหา การทำงาน
รว่ มกัน ตลอดจนการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรยี นรตู้ ่างๆ

มคี ุณธรรม มเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ อาชีพ มจี ิตสำนึกในการใชพ้ ลงั งานทัพยากร และสิ่งแวดลอ้ มอย่างประหยัดและคุ่ม
ค่า เพื่อการดำรงชีวิต และครอบครัว ในการประกอบอาชีพ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการ ดำรงชีวิต
ครอบครัว และการทำงาน สามารถอยูร่ ่วมกันในสงั คมอยา่ งมีความสุข

รหัสตัวช้ีวัด (รายปี)
ง 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
ง 2.1, ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3

รวมทั้งส้ิน 2 มาตรฐาน 6 ตวั ชว้ี ดั

32

ง 22101 การงานอาชพี 3 โครงสรา้ งรายวิชา
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1
กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี
จำนวน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ลำดบั ชือ่ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
(ชั่วโมง) คะแนน
ที่ หน่วยการเรียนรู้ การเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั
10 25
1 บา้ นและชวี ิต ง 1.1 ม.2/1 - ความสมั พนั ธข์ องสมาชิก
ในบา้ น 14 30
ความเป็นอยู่ในบา้ น ม.2/2 ม.2/3 - การดูแลรักษาบ้าน
- การจัดตกแต่งบ้านและ 14 25
ง 2.1 ม.2/1 บริเวณบา้ น 70
10
ม.2/2 ม.2/3 20
100
2 ผ้าและเครื่อง ง 1.1 ม.2/1 - การเลือกใช้ ดูแลรกั ษาเสือ้ ผ้า
แต่งกาย ม.2/2 ม.2/3 และเคร่ืองแต่งกาย
ง 2.1 ม.2/1 - การซอ่ มแซม ตกแต่ง และ
ม.2/2 ม.2/3 ดดั แปลงเสือ้ ผา้
- อุปกรณ์ เคร่ืองมือเคร่ืองใชใ้ น
3 อาหารและ ง 1.1 ม.2/1 การตดั เย็บ
- การตดั เยบ็ เสอ้ื ผา้ และของใช้
เคร่ืองด่ืมในท้องถ่ิน ม.2/2 ม.2/3 ภายในบา้ น

- การทำน้ำสมนุ ไพร
- การทำอาหารในท้องถ่ิน

คะแนนระหวา่ งเรียน 1
คะแนนสอบระหว่างภาค 1
คะแนนสอบปลายภาคเรียน
40
รวม

*** หมายเหตุ : โรงเรียนกำหนดหน่วยการเรียนรู้ตามบริบทและความต้องการของโรงเรียนโดยให้สอดคล้องกับ
ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางหรือสาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ ท่ีกำหนดไว้

33

ง 22102 การงานอาชีพ 4 โครงสรา้ งรายวิชา
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2
กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี
จำนวน 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ลำดบั ช่ือ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ท่ี หน่วยการเรยี นรู้ การเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ัด (ชั่วโมง) คะแนน
-การค้นหาความสามารถของ
1 ประสบการณ์อาชพี ง 1.1 ม.2/1 ตนเอง 10 25
ม.2/2 ม.2/3 -การเสรมิ สร้างประสบการณ์
ง 2.1 ม.2/1 อาชพี 15 30
-การเตรยี มตวั เขา้ สู่อาชีพ
ม.2/2 ม.2/3 13 25

2 เศษวสั ดสุ ร้างสรรค์ ง 1.1 ม.2/1 -เศษวัสดใุ นโรงเรียน 1 70
ม.2/2 ม.2/3 -การออกแบบงานประดิษฐ์ 1 10
-การประดษิ ฐ์ของใช้จากเศษ 40 20
ง 2.1 ม.2/1 วสั ดใุ นโรงเรยี น 100
-การประดษิ ฐ์ของตกแต่งจาก
ม.2/2 ม.2/3 เศษวสั ดใุ นโรงเรยี น

3 ความรู้พื้นฐาน ง 1.1 ม.2/1 ม. - องคป์ ระกอบของการเขียน
การสรา้ งส่งิ ของ 2/2 ม.2/3 แบบ
เคร่อื งใช้ - การออกแบบ
ง 2.1 ม.2/1 - การเขยี นแบบ

ม.1/2 ม.2/3

คะแนนระหว่างภาคเรยี น
คะแนนสอบระหว่างภาค
คะแนนสอบปลายภาคเรยี น

รวม

*** หมายเหตุ : โรงเรยี นกำหนดหน่วยการเรียนรตู้ ามบริบทและความตอ้ งการของโรงเรียนโดยใหส้ อดคล้อง
กบั ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลางหรอื สาระการเรยี นรูท้ ้องถนิ่ ทก่ี ำหนดไว้

34

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง
 สาระท่ี 1 การดำรงชวี ิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ

ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มี
คุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพ่อื การดำรงชีวิตและครอบครวั

ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.3 1. อภิปรายขั้นตอนการ  ข้นั ตอนการทำงานท่ีมีประสิทธิภาพเปน็ การ

ทำงานที่มปี ระสิทธิภาพ ปฏิบัติตามกระบวนการทำงานโดยการทำ

ตามลำดับข้นั ตอนมีความสามารถทำงานสำเร็จตามเปา้ หมายทวี่ าง

ไว้ เชน่

- การซกั ตาก พบั เกบ็ เสื้อผ้า ท่ตี ้องการ การดูแลอย่าง

ประณตี

- การสรา้ งช้ินงาน หรือ ผลงาน

2. ใช้ทักษะในการทำงาน  ทกั ษะการทำงานร่วมกนั เป็นการสร้างให้ผเู้ รยี นสามารถ

รว่ มกนั อย่างมีคุณธรรม ทำงานและอยรู่ ว่ มกนั ได้อยา่ งมีความสขุ และมคี ุณธรรม เช่น

- การเตรียม ประกอบ อาหารประเภทสำรับ

- การประดิษฐบ์ รรจภุ ณั ฑจ์ ากวัสดธุ รรมชาติ

3. อภิปรายการทำงานโดยใช้  ทกั ษะการจัดการเปน็ การจัดระบบงานและระบบคน เพ่ือให้

ทกั ษะ ทำงานสำเร็จตามเป้าหมายอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เช่น

การจัดการเพอ่ื การประหยดั - ธรุ กจิ ประเภทตา่ งๆ

พลังงาน - การขยายพันธุพ์ ืช

ทรัพยากร และสิ่งแวดลอ้ ม - การตดิ ตงั้ / ประกอบผลิตภัณฑท์ ีใ่ ช้ในบา้ น

35

 สาระที่ 2 การอาชีพ
มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจ มที ักษะท่จี ำเป็นมีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเ้ ทคโนโลยเี พอื่ พฒั นาอาชีพ

มคี ณุ ธรรมและมีเจตคตทิ ่ีดีต่ออาชีพ

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ม.3 1. อภปิ รายการหางานดว้ ยวิธี  การหางานหรือตำแหน่งทว่ี ่าง

ทีห่ ลากหลาย - ส่อื สง่ิ พมิ พ์

- สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์

2. วเิ คราะหแ์ นวทางเขา้ สู่  แนวทางเข้าสู่อาชีพ
อาชพี - คณุ สมบัตทิ ่ีจำเปน็

- ความมน่ั คง

- การประเมนิ ทางเลือก

3. ประเมนิ ทางเลอื กในการ  การประเมินทางเลือกอาชีพ

ประกอบอาชีพทส่ี อดคลอ้ งกับ - แนวทางการประเมนิ
ความรคู้ วามถนัดและความ - รูปแบบการประเมนิ
สนใจของตนเอง

- เกณฑก์ ารประเมิน

36

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

ง 23101 การงานอาชพี 5 กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศกึ ษา วเิ คราะห์ อภปิ ราย และสรปุ ข้นั ตอนการทำงาน การซัก ตาก พับ เก็บ เส้อื ผา้ ที่ต้องการ การดูแลอย่าง
ประณีต การสร้างชิ้นงานหรือผลงาน การทำงานร่วมกันในการเตรียม ประกอบ อาหารประเภทสำรับ การประดิษฐ์
บรรจภุ ณั ฑจ์ ากวสั ดธุ รรมชาติ การจดั การในดา้ นธุรกิจประเภทต่างๆ การขยายพันธ์ุพชื การตดิ ต้ัง/ประกอบผลิตภัณฑ์
ทใี่ ชใ้ นบา้ น โดยใชว้ ธิ ีการทางงานเยบ็ ปกั ถกั จักสาน และงานปลกู พืชในท้องถ่ิน

ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายระดับของเทคโนโลยี แบ่งตามระดับความรู้ท่ีใช้เป็น 3 ระดับ คือ ระดับพื้นบ้าน
หรือพน้ื ฐานระดบั กลาง และระดบั สูง การสร้างสิ่งของเคร่ืองใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี จะทำให้ผู้เรียน
ทำงานอยา่ งเป็นระบบ สามารถยอ้ นกลับมาแกไ้ ขได้ง่าย ภาพฉาย เปน็ ภาพแสดงรายละเอียดของช้นิ งาน ประกอบดว้ ย
ภาพดา้ นหนา้ ด้านขา้ ง ด้านบน แลดงขนาดและหน่วยวดั เพ่อื นำไปสรา้ งช้นิ งาน

ใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการพัฒนาค่านิยม กระบวนการทำงานเกลุ่ม และ
กระบวนการแก้ปัญหา เพ่ือให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจ ความคดิ การใชท้ รัพยากรสง่ิ แวดล้อมอย่างประหยัด ใช้ทักษะ
ในการทำงานร่วมกันอย่างมีคุณธรรม และทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นำภูมิ
ปัญญาทอ้ งถ่ินเข้ามาประยกุ ตใ์ ช้ในการดำรงชวี ติ อยูใ่ นสังคมรว่ มกนั อย่างมีความสุข

รหัสตัวช้ีวัด (รายปี)
ง 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
ง 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3

รวมท้ังส้ิน 1 มาตรฐาน 6 ตัวชวี้ ดั

37

คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

ง 23102 การงานอาชพี 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศกึ ษา วิเคราะห์ อภปิ ราย และสรุปขนั้ ตอนการทำงาน การซัก ตาก พับ เกบ็ เสือ้ ผ้าที่ต้องการ การดูแลอย่าง
ประณีต การสร้างชิ้นงานหรือผลงาน การทำงานร่วมกันในการเตรียม ประกอบ อาหารประเภทสำรับ การประดิษฐ์
บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ การจัดการในด้านธุรกิจประเภทต่างๆ การขยายพันธุ์พืช การติดตั้งหรื อประกอบ
ผลิตภัณฑท์ ีใ่ ช้ในบา้ น โดยใชว้ ธิ กี ารทางงานเยบ็ ปัก ถัก จักสาน และงานปลูกพืชในท้องถิ่น

ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายระดับของเทคโนโลยี แบ่งตามระดับความรู้ท่ีใช้เป็น 3 ระดับ คือ ระดับพื้นบ้าน
หรอื พนื้ ฐานระดบั กลาง และระดบั สูง การสร้างสง่ิ ของเคร่ืองใชห้ รือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี จะทำให้ผู้เรียน
ทำงานอย่างเปน็ ระบบ สามารถย้อนกลับมาแกไ้ ขได้ง่าย ภาพฉาย เป็นภาพแสดงรายละเอียดของชิ้นงาน ประกอบดว้ ย
ภาพด้านหน้า ด้านขา้ ง ด้านบน แลดงขนาดและหนว่ ยวดั เพ่อื นำไปสร้างชิน้ งาน

ใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการพัฒนาค่านิยม กระบวนการทำงานเกลุ่ม และ
กระบวนการแก้ปัญหา เพ่อื ให้เกิด ความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิด การใชท้ รัพยากรสงิ่ แวดล้อมอยา่ งประหยัด ใช้ทักษะ
ในการทำงานร่วมกันอย่างมีคุณธรรม และทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นำภูมิ
ปัญญาทอ้ งถน่ิ เขา้ มาประยุกต์ใชใ้ นการดำรงชวี ิตอย่ใู นสงั คมร่วมกันอยา่ งมีความสขุ

รหัสตวั ชี้วัด (รายปี)
ง 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
ง 2.1 ม.3/1 , ม.3/2, ม.3/3

รวมท้งั สนิ้ 2 มาตรฐาน 6 ตัวชว้ี ดั

38

ง 23101 การงานอาชีพ 5 โครงสร้างรายวิชา
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี
จำนวน 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

ลำดบั ชือ่ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
(ชั่วโมง) คะแนน
ที่ หน่วยการเรียนรู้ การเรยี นรู้ /ตัวช้วี ัด
8 10
1 การจดั การดูแลรักษา ง 1.1 ม.3/1 - ทกั ษะการจัดการดูแลเส้อื ผ้า
เสอ้ื ผ้า ม.3/2 ม.3/3 - การซกั ผ้าและตากผา้ 20 60
- การดแู ลรกั ษาเส้อื ผ้า
- การจัดเก็บเส้อื ผ้า

2 อาหารประเภทสำรบั ง 1.1 ม.3/1 - อาหารประเภทสำรับ
ม.3/2 ม.3/3 - อาหารประเภทสำรบั
ในท้องถนิ่
- การประกอบอาหาร
ประเภทสำรับในท้องถิ่น
- การประกอบอาหารสำรับ
คาวหวาน

3 ภมู ิปัญญาไทย ง 1.1 ม.3/1 - เครอื่ งจักสานในครวั เรอื น 10 10
ม.3/2 ม.3/3

คะแนนระหว่างภาคเรยี น 70
คะแนนสอบระหว่างภาค 1 10
คะแนนสอบปลายภาคเรียน 1 20

รวม 40 100

***หมายเหตุ : โรงเรียนกำหนดหน่วยการเรียนรู้ตามบริบทและความต้องการของโรงเรียนโดยให้สอดคล้อง
กับตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลางหรอื สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ ท่กี ำหนดไว้

39

ง 23102 การงานอาชีพ 6 โครงสร้างรายวชิ า
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 2
กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี
จำนวน 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ลำดับ ชือ่ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
(ช่ัวโมง) คะแนน
ท่ี หน่วยการเรยี นรู้ การเรียนรู้ / ตวั ชวี้ ดั
18 40
1 การสรา้ งสรรค์ ง 2.1 ม.3/1 - บทบาทหนา้ ที่ของบรรจุภัณฑ์
บรรจภุ ัณฑ์ ม.3/2 ม.3/3 - ประเภทของบรรจุภัณฑ์ 20 40
- การเลือกใชบ้ รรจุภัณฑ์
2 งานอาชีพ ง 2.1 ม.3/1 - การสร้างสรรค์บรรจุภณั ฑ์ 1 70
ม.3/2 ม.3/3 กระดาษ 1 10
- การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 40 20
จากไม้ 100
- การสร้างสรรค์บรรจภุ ัณฑ์
จากธรรมชาติ

- คณุ สมบตั ทิ จี่ ำเปน็ ในงานอาชพี
- การหางานจากสื่อ สง่ิ พิมพ์
- การหางานส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์
- แนวทางการประกอบอาชีพ
- อาชพี เกษตร
- การทำเกษตรแบบพอเพียง
- ความมน่ั คงของอาชพี
- การประเมินทางเลือกอาชีพ
- อาชีพในท้องถนิ่

คะแนนระหว่างภาคเรียน
คะแนนสอบระหวา่ งภาค
คะแนนสอบปลายภาคเรียน

รวม

***หมายเหตุ : โรงเรียนกำหนดหน่วยการเรียนรู้ตามบริบทและความต้องการของโรงเรียนโดยให้สอดคล้อง
กบั ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางหรือสาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ ที่กำหนดไว้

40

สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ได้จดั ทำส่ือและจัดให้มแี หล่งเรยี นรู้ตามหลักการ และ นโยบายของการจัด
การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ดงั นี้

สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึง ความรู้ทักษะ
กระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้มีหลากหลายประเภท
ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่าย การเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีในท้องถิ่นการเลอื กใช้ส่ือควรเลือกให้มี
ความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียนการจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและ
ผู้สอนสามารถจัดทำและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่างมีคุณภาพจากสื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนำมาใช้
ประกอบ ในการจดั การเรยี นรู้ทีส่ ามารถส่งเสริมและส่ือสารให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มี อย่าง
พอเพียง เพือ่ พัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จรงิ สถานศกึ ษาเขตพ้ืนที่การศกึ ษา หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องและผู้มี
หนา้ ท่ีจัดการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ควรดำเนนิ การดังนี้

๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย การเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู
ระหว่างสถานศึกษา ทอ้ งถ่นิ ชุมชน สงั คมโลก

๒. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสรมิ ความรู้ให้ผู้สอน รวมท้ังจัดหาสิ่งที่
มีอยู่ในทอ้ งถิ่นมาประยกุ ต์ใช้เป็นส่ือการเรยี นรู้

๓. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวิธีการเรียนรู้
ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู้ และความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลของผู้เรียน

๔. ประเมนิ คุณภาพของสอ่ื การเรียนรู้ทเ่ี ลอื กใช้อย่างเป็นระบบ
๕. ศกึ ษาคน้ คว้า วิจัย เพื่อพฒั นาส่อื การเรียนรู้ให้สอดคล้องกบั กระบวนการเรียนรู้ ของผู้เรยี น
๖. จดั ให้มกี ารกำกบั ตดิ ตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธภิ าพเกี่ยวกับส่ือและการใช้สือ่ การเรียนรู้เป็นระยะ
ๆ และสมำ่ เสมอ
ในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษาควรคำนึงถึงหลักการ
สำคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบความมั่นคงของชาติ ไม่ขัดต่อศีลธรรม มี
การใช้ภาษาที่ถกู ต้อง รปู แบบการนำเสนอทเ่ี ข้าใจงา่ ย และนา่ สนใจ

41

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ คะแนน
80
อตั ราส่วนคะแนน คะแนนระหว่างปกี ารศกึ ษา : สอบปลายปีการศกึ ษา = ๘๐ : ๒๐ 70

รายการวดั 10
20
ระหว่างภาค มกี ารวดั และประเมินผล ดงั นี้ 100
๑. คะแนนระหว่างปกี ารศึกษา

๑.๑ วดั โดยใช้แบบทดสอบ
๑.๒ วัดทักษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ (เลือกวัดตามแผนการจัดการเรียนรู้)

๑.๒.๑ ภาระงานทม่ี อบหมาย
- การทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทกั ษะ
- กจิ กรรม/ช้ินงาน
- การรว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้

๑.๒.๒ แฟ้มสะสมงานการงานอาชพี
๑.๒.๓ โครงงานการงานอาชพี
๑.๒.๔ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑.๓ วัดคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ วิชาการงานอาชีพ
๒. คะแนนสอบกลางปีการศึกษา วัดและประเมนิ ผลโดยใช้แบบทดสอบ

คะแนนสอบปลายปีการศึกษา มีวดั และประเมนิ ผลโดยใช้แบบทดสอบ

รวม

เกณฑ์การวัดผลประเมินผล

๑. การวดั และประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบ
๑.๑ เกณฑใ์ ห้คะแนนแบบทดสอบแบบเลอื กตอบ พิจารณาจากความถูกผดิ ของการเลือกตอบ
ตอบถกู ให้ ๑ คะแนน ตอบผดิ ให้ ๐ คะแนน
๑.๒ เกณฑใ์ ห้คะแนนแบบทดสอบแบบถูกผิด พจิ ารณาจากความถูกผดิ ของคาํ ตอบ
ตอบถูกให้ ๑ คะแนน ตอบผิดให้ ๐ คะแนน
๑.๓ เกณฑใ์ ห้คะแนนแบบทดสอบแบบเตมิ คำ พิจารณาจากความถกู ผิดของคำตอบ
ตอบถูกให้ ๑ คะแนน ตอบผิดให้ ๐ คะแนน
๑.๔ เกณฑใ์ ห้คะแนนแบบทดสอบแบบจับคู่ พิจารณาจากความถกู ผิดของการจับคู่
จับคถู่ กู ให้ ๑ คะแนน จับคู่ผดิ ให้ ๐ คะแนน
๑.5 เกณฑใ์ ห้คะแนนแบบทดสอบแบบเปรียบเทยี บ พิจารณาจากความถกู ผิดของการเปรียบเทียบ
เปรยี บเทียบถกู ให้ ๑ คะแนน เปรยี บเทียบผดิ ให้ ๐ คะแนน

42

๑.6 เกณฑ์การให้คะแนนแบบทดสอบแบบเขียนตอบ พิจารณาจากคำตอบในภาพรวมทั้งหมด โดยกำหนด
ระดับคะแนนเป็น ๔ ระดบั ดังนี้

ระดบั คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

๓ ตอบไดถ้ ูกต้อง สามารถอธิบายเหตผุ ลได้อย่างชัดเจน
๒ ตอบไดถ้ กู ต้อง สามารถอธิบายเหตุผลได้เป็นบางส่วน แต่ยังไมช่ ัดเจน
๑ ตอบไดถ้ ูกต้อง แต่ไมส่ ามารถอธิบายเหตผุ ลได้
๐ ตอบไม่ถูกต้อง และไม่สามารถอธิบายเหตผุ ลได้

๒. การวดั และประเมินผลด้านทกั ษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ
๒.๑ ภาระงานที่มอบหมาย
- ใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทกั ษะ
กำหนดเกณฑก์ ารทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทักษะ ๔ ระดบั ดังนี้

ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนน

๔ (ดีมาก) - ทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทักษะครบถว้ นและเสรจ็ ตามกาํ หนดเวลา
๓ (ด)ี - ทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทักษะได้ถูกต้อง
- แสดงลำดับขั้นตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะชัดเจน
๒ (พอใช้) เหมาะสม
๑ (ปรับปรุง)
- ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะครบถว้ นและเสร็จตามกำหนดเวลา
- ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะได้ถูกต้อง
- สลับขั้นตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะ หรือไม่ระบุขั้นตอน
ของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะ

- ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะครบถวน แต่เสร็จหลงั กำหนดเวลาเลก็ น้อย
- ทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทักษะขอ้ ไม่ถูกตอ้ ง
- สลับขั้นตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะ หรือไม่ระบุขั้นตอน
ของการทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทกั ษะ

- ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะไมค่ รบถว้ น หรอื ไม่เสร็จตามกำหนดเวลา
- ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะไมถ่ ูกตอ้ ง
- แสดงลำดับขั้นตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทักษะไม่สัมพันธ์กับ
โจทย์หรือไมแ่ สดงลำดับขนั้ ตอน

- การประเมนิ กจิ กรรม/ชิน้ งาน
กำหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ผล เป็น ๓ ระดบั ดังน้ี

ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา

๓ (ด)ี - เตรยี มอปุ กรณค์ รบและเลอื กใช้งานไดเ้ ป็นอยา่ งดี
- ตง้ั ใจทำงานจนงานท่ไี ด้รบั มอบหมายเสร็จสมบรู ณ์
- สามารถสร้างสรรคผ์ ลงานด้วยตัวเอง นำเสนองานที่แปลกใหม่และโดดเด่น
- ทำงานเสร็จตามเวลาทีก่ ำหนด ช้ินงานมคี วามสมบรู ณ์ครบถว้ น

43