เปลี่ยนบัตรประชาชน เป็น นางสาว ต้องให้ผู้ปกครองไป มั้ ย

การจดทะเบียนสมรส

  • การจดทะเบียนสมรสที่สถานเอกอัครราชทูตฯ จะกระทำได้เฉพาะการจดทะเบียนระหว่างบุคคลสัญชาติไทย หรือระหว่างบุคคลสัญชาติไทยกับต่างชาติ และเป็นการจดทะเบียนตามกฎหมายไทย
  • การจดทะเบียนสมรสที่สถานเอกอัครราชทูต ณ โคเปนเฮเกน มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมายไทย แต่ไม่มีผลสมบูรณ์ตามกฏหมายเดนมาร์ก
  • การขอจดทะเบียนสมรส คู่สมรสทั้งสองฝ่ายต้องไปติดต่อยื่นคำร้องด้วยตนเอง ที่สถานเอกอัครราชทูตฯ เนื่องจากการจดทะเบียนสมรสนั้น คู่สมรสต้องลงลายมือชื่อต่อหน้านายทะเบียน และพยานสองคน

คุณสมบัติของผู้ที่จะจดทะเบียนสมรส

  • ชายหรือหญิงต้องมีสัญชาติไทย
  • จะต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 17 ปีบริบูรณ์ และต้องนำบิดา มารดา หรือผู้ปกครองมาให้ความยินยอมด้วย
  • กรณีที่มีอายุต่ำกว่า 17 ปี จะต้องได้รับอนุญาตจากศาลให้ทำการสมรสได้ ส่วนผู้ที่มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง
  • ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือไร้ความสามารถ
  • ไม่เป็นพี่น้องร่วมบิดามารดา หรือร่วมแต่บิดามารดา
  • ไม่เป็นคู่สมรสของบุคคลอื่น
  • ผู้รับบุตรบุญธรรมจะสมรสกับบุตรบุญธรรมไม่ได้
  • หญิงที่สามีตาย หรือการสมรสสิ้นสุดลงด้วยประการอื่น จะทำการะสมรสใหม่ได้ต่อเมื่อการสมรสครั้งก่อนได้สิ้นสุดไปแล้วไม่น้อยกว่า 310 วัน เว้นแต่
    – คลอดบุตรแล้วในระหว่างนั้น
    – สมรสกับคู่สมรสเดิม
    – มีใบรับรองแพทย์ว่าไม่ได้ตั้งครรภ์ หรือ
    – ศาลมีคำสั่งให้สมรสได้

หมายเหตุ กรณีคู่สมรสเป็นชาวต่างชาติต้องมีหนังสือรับรองคุณสมบัติเหมาะสมหรือมีเสรีภาพในการสมรสซึ่งออกโดยทางการของประเทศที่ผู้ร้องมีสัญชาติ

เอกสารที่ใช้ในการจดทะเบียนสมรส (ผู้ยื่นคำร้องทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง ต้องยื่นเอกสารเหมือนกัน ดังนี้)

  1. คำร้องขอนิติกรณ์ | ดาวน์โหลด|
  2. คำร้องขอจดทะเบียนสมรส และบันทึกคำสอบสวน | ดาวน์โหลด|
  3. หนังสือเดินทาง พร้อมสำเนา คนละ 1 ชุด
  4. ทะเบียนบ้านไทย หรือ บัตรประจำตัวประชาชน พร้อมสำเนา คนละ 1 ชุด
  5. ใบแสดงถิ่นที่อยู่ในเดนมาร์ก พร้อมสำเนา คนละ 1 ชุด
  6. ต้นฉบับทะเบียนหย่า พร้อมสำเนา คนละ 1 ชุด (กรณีที่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด หรือ ทั้งสองฝ่าย เคยจดทะเบียนสมรสมาก่อนและได้หย่าขาดแล้ว)
  7. หนังสือรับรองสถานะภาพความเป็นโสด (กรณีผู้ขอจดทะเบียนสมรสเป็นฝ่ายที่ไม่ใช่คนสัญชาติไทย)
  8. ใบรับรองแพทย์ระบุว่าไม่ได้ตั้งครรภ์ (กรณีฝ่ายหญิงหย่าขาดมาน้อยกว่า 310 วัน ณ วันที่ยื่นขอจดทะเบียนสมรสใหม่)
  9. เอกสารที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ แล้วแต่กรณี เช่น ใบสำคัญการเปลี่ยนชื่อหรือนามสกุล เป็นต้น

หมายเหตุ ท่านสามารถติดต่อขอรับแบบคำร้องขอจดทะเบียนสมรสได้ที่สถานเอกอัครราชทูตฯ โดยสอดซองเปล่าปิดแสตมป์ และจ่าหน้าซองถึงตัวท่านเองพร้อมที่อยู่ให้ชัดเจน โดยส่งถึง Royal Thai Embassy, Consular Section, Norgemindevej 18, 2900 Hellerup, Copenhagen, Denmark ระบุมุมซองว่า “ ขอคำร้องจดทะเบียนสมรส”

ขั้นตอนการจดทะเบียนสมรส

  • ติดต่อฝ่ายกงสุล สถานเอกอัครราชทูตฯ เพื่อนัดหมายวัน และเวลา ล่วงหน้า
  • ในวันนัดหมาย คู่สมรสต้องไปปรากฎตัวต่อหน้านายทะเบียนทั้งสองคน
  • คู่สมรสควรนำพยานบุคคล 2 คน ไปด้วย
  • คู่สมรสที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องนำบิดาและมารดา หรือผู้ปกครองตามกฎหมายมาให้ความยินยอมด้วย

ค่าธรรมเนียม (ไม่เสียค่าธรรมเนียม)

ข้อมูลการใช้นามสกุลหลังสมรสตามกฎหมายไทย
ตามพระราชบัญญัติชื่อบุคคล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2548 เมื่อสมรสแล้ว ฝ่ายหญิงและฝ่ายชายสามารถเลือกใช้นามสกุลได้ ดังนี้

  1. คงใช้นามสกุลเดิมทั้งสองฝ่าย
  2. ฝ่ายหญิงใช้นามสกุลตามสามี
  3. ฝ่ายชายใช้นามสกุลตามภรรยา
  4. ฝ่ายหญิงใช้นามสกุลสามี ฝ่ายชายใช้นามสกุลภรรยา

หมายเหตุ เมื่อจดทะเบียนสมรสแล้ว คู่สมรสฝ่ายหญิงจะต้องรีบไปดำเนินการแก้ไขทะเบียนราษฏร์และขอเปลี่ยนบัตรประจำตัวประชาชนให้ถูกต้อง ณ อำเภอท้องที่ตามทะบียนบ้านไทย พร้อมทั้งทำหนังสือเดินทางเล่มใหม่โดยทันทีที่เดินทางกลับประเทศไทย

_____________________________________________________________________

เปลี่ยนบัตรประชาชน เป็น นางสาว ต้องให้ผู้ปกครองไป มั้ ย

กรณีเปลี่ยนบัตรเนื่องจากแก้ไขชื่อตัว หรือชื่อสกุล

  • เปลี่ยนบัตรประชาชน เป็น นางสาว ต้องให้ผู้ปกครองไป มั้ ย

Details

Details Parent Category: คู่มือการบริการ Category: ทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชน

กรณีเปลี่ยนบัตรเนื่องจากแก้ไขชื่อตัว หรือชื่อสกุล

    เมื่อเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล หรือเปลี่ยนชื่อตัวและชื่อสกุล ในทะเบียนบ้านต้องยื่นคำขอมีบัตรใหม่ต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ภายในกำหนดหกสิบวัน นับแต่วัตที่แก้ไขชื่อตัว ชื่อสกุล หรือชื่อตัวและชื่อสกุล
    ในทะเบียนบ้าน หากพ้นกำหนดต้องระว่างโทษปรับไม่เกินหนึ่งร้อยบาท

หลักฐานเอกสารที่ต้องนำไปแสดง

    1. บัตรประจำตัวประชาชนเดิม
    2. หลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล หรือชื่อตัวและชื่อสกุล แล้วแต่กรณ

       การเปลี่ยนบัตรกรณีแก้ไขชื่อตัว หรือชื่อสกุล หรือชื่อตัวและชื่อสกุล ต้องเสียค่าธรรมเนียม 100 บาท

เกาะติดข่าวสาร >> คมชัดลึก ออนไลน์

เปลี่ยนบัตรประชาชน เป็น นางสาว ต้องให้ผู้ปกครองไป มั้ ย

"ราชกิจจาฯ"  เผยแพร่ ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยกำรจัดทำทะเบียนราษฎร พบรายการบุคคลใดที่มีอายุครบสิบห้าปีบริบูรณ์และมีคำนำหน้านามว่า เด็กชายหรือเด็กหญิง ให้ดำเนินการแก้ไขคำนำหน้านามของบุคคลนั้นเป็นนายหรือนางสาว แล้วแต่กรณี โดยไม่ต้องมีคำร้อง

19 ธ.ค.64  ผู้สื่อข่าวรายงานว่า  เมื่อวันที่ 17 ธ.ค.64  "ราชกิจจาฯ"  เผยแพร่ ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยกำรจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2564

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘/๒ วรรคหนึ่ง (1) แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2551 มาตรา 27 และมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง ออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบสำนักทะเบียนกลำงว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2564"

ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ข้อ 3 ให้ยกเลิกความตามข้อ 115 และข้อ 116 ของระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วย การจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "ข้อ 115 ผู้ที่ประสงค์จะขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนบ้าน ทะเบียนบ้านกลาง สูติบัตร มรณบัตร ทะเบียนคนเกิด ทะเบียนคนตาย ทะเบียนประวัติคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย และเอกสารการทะเบียนราษฎรอื่น ให้ยื่นคำร้องตามแบบที่กำหนดต่อนายทะเบียน ณ สำนักทะเบียนอำเภอ หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น พร้อมหลักฐานต่อไปนี้

(1) บัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวอื่นที่ราชการออกให้ซึ่งมีรูปถ่ายและเลขประจำตัวประชาชนของผู้ยื่นคำร้อง

(2) เอกสารการทะเบียนราษฎรที่ประสงค์จะให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการ

(3) เอกสารราชการที่มีสำระสำคัญเกี่ยวกับรายการที่ขอแก้ไขเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าเอกสำรดังกล่าว จะจัดทำก่อนหรือหลังเอกสารการทะเบียนราษฎรที่ขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงก็ได้ เช่น ใบสำคัญการเปลี่ยนชื่อ ใบสำคัญการจดทะเบียนชื่อสกุล ทะเบียนบ้านฉบับก่อนการให้เลขประจำตัวประชาชน หนังสือสำคัญ การแปลงสัญชาติ ผลการตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ เป็นต้น

(4) หนังสือมอบอำนาจ และสำเนาบัตรประจำตัวประชำชนหรือบัตรประจำตัวอื่นที่ราชการออกให้ ซึ่งมีรูปถ่ายและเลขประจำตัวประชาชนที่ลงชื่อรับรองสำเนาถูกต้องของผู้มอบอำนาจ ในกรณีเจ้าของรายการ มอบอำนาจให้ผู้อื่นดำเนินการแทน

เปลี่ยนบัตรประชาชน เป็น นางสาว ต้องให้ผู้ปกครองไป มั้ ย

หรือ (5) หลักฐานการเป็นผู้ปกครองตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก ในกรณีเจ้าของรายการ ที่ขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงเป็นผู้เยาว์และผู้ยื่นคำร้องไม่ใช่บิดาหรือมารดาของผู้นั้น หรือ

เปลี่ยนบัตรประชาชน เป็น นางสาว ต้องให้ผู้ปกครองไป มั้ ย

(6) คำสั่งศาลแต่งตั้งผู้พิทักษ์หรือผู้อนุบาล ในกรณีเจ้าของรายการที่ขอแก้ไขเปลี่ยนแปลง เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ หรือคนไร้ความสามารถ แล้วแต่กรณี  กรณีผู้ขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการไม่มีเอกสารราชการตาม (3) ให้นายทะเบียนเรียกสอบพยานบุคคล ที่น่าเชื่อถือให้ได้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องที่ขอให้นายทะเบียนดำเนินการตามความเหมาะสม ข้อ 116 เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องพร้อมพยานหลักฐานครบถ้วนแล้ว ให้ตรวจสอบความถูกต้อง ของคำร้องและพยานหลักฐานของผู้ร้อง แล้วรวบรวมเสนอนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณาและมีคำสั่งต่อไป ทั้งนี้ หากการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสาร การทะเบียนราษฎร ไม่อาจดำเนินการได้แล้วเสร็จในวันที่ผู้ร้องยื่นคำร้อง ให้นายทะเบียนออกใบรับคำร้อง มอบให้ผู้ยื่นคำร้องไว้เป็นหลักฐาน กรณีนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี มีคำสั่งให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการ ตามคำร้อง ให้นายทะเบียนดำเนินการให้แล้วเสร็จโดยเร็วและแจ้งผู้ร้องให้ติดต่อขอรับเอกสาร การทะเบียนราษฎรที่ได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการแล้ว หากเอกสารการทะเบียนราษฎรที่ขอแก้ไขเปลี่ยนแปลง รายการเป็นเอกสารที่จัดทำหรือมีสำเนาคู่ฉบับจัดเก็บไว้ที่สำนักทะเบียนอื่น ให้นายทะเบียนอำเภอ หรือนายทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี สำเนาเอกสารการทะเบียนราษฎรที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการ แจ้งไปยังสำนักทะเบียนที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการแก้ไขรายการให้ถูกต้องตรงกัน ”

ข้อ 4  ให้ยกเลิกความตามข้อ 117 ของระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2535

ข้อ 5  ให้ยกเลิกความตามข้อ 120 ของระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำ ทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "ข้อ 120 กรณีนายทะเบียนได้รับคำร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนบ้าน หรือทะเบียนบ้านกลางตามข้อ 115 หรือขอดำเนินการอื่นใดเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรแล้วพบว่า มีรายการบุคคลที่มีอายุครบสิบห้าปีบริบูรณ์มีคำนำหน้านามว่าเด็กชายหรือเด็กหญิง ให้นายทะเบียนแก้ไข รายการคำนำหน้านามของบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้าน หรือทะเบียนบ้านกลาง เป็นนายหรือนางสาว แล้วแต่กรณี โดยไม่ต้องมีคำร้องใหม่ เมื่อสำนักทะเบียนกลางตรวจสอบรายการบุคคลในทะเบียนบ้าน หรือทะเบียนบ้านกลาง ที่จัดเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ พบรายการบุคคลใดที่มีอายุครบสิบห้าปีบริบูรณ์และมีคำนำหน้านามว่า เด็กชายหรือเด็กหญิง ให้ดำเนินการแก้ไขคำนำหน้านามของบุคคลนั้นเป็นนายหรือนางสาว แล้วแต่กรณี โดยไม่ต้องมีคำร้อง”

ประกาศ ณ วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 256 4

ธนาคม จงจิระ ผู้อำนวยกำรทะเบียนกลาง

คลิกอ่านฉบับเต็ม >>>

ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๖๔