จรรยาบรรณ สำหรับผู้ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่


จรรยาบรรณ สำหรับผู้ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่


จรรยาบรรณ สำหรับผู้ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่




                บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีคำสั่งให้ใช้ในการโต้ตอบกันอย่างออนไลน์หลาย
คำสั่งเช่น
write, talk หรือมีการสนทนา เป็นกลุ่มเช่น IRC เป็นต้น ในการเรียกหาหรือ
เปิดการสนทนาตลอดจนการสนทนาจะต้องมีมารยาทที่สำคัญได้แก่

  • ควรเรียกสนทนาจากผู้ที่เรารู้จักและต้องการสนทนาด้วย  หรือมีเรื่องสำคัญ
    ที่จะติดต่อด้วย ควรระลึกเสมอว่าการขัดจังหวะผู้อื่นที่กำลังทำงานอยู่อาจ
    สร้างปัญหาให้ได้
  • ก่อนการเรียกคู่สนทนาควรสอบสถานะการใช้งานของคู่สนทนาที่ต้องการ
    เรียกเพราะการเรียกแต่ละครั้งจะมีข้อความไปปรากฏบนจอภาพของฝ่าย
    ถูกเรียกซึ่งก็สร้างปัญหาการทำงานได้
      เช่น ขณะกำลังทำงานค้าง ftp
    ซึ่งไม่สามารถหยุดได้
  • หลังจากเรียกไปชั่วขณะคู่ที่ถูกเรียกไม่ตอบกลับ แสดงว่าคู่สนทนาอาจ
    ติดงานสำคัญ ขอให้หยุดการเรียกเพราะข้อความที่เรียกไปปรากฏบนจอ
    อย่างแน่นอนแล้ว
  • ควรให้วาจาสุภาพ และให้เกียรติซึ่งกันและกัน การแทรกอารมณ์ขัน
    ควรกระทำกับคนที่รู้จักคุ้นเคยแล้วเท่านั้น
จรรยาบรรณ สำหรับผู้ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่





จรรยาบรรณ สำหรับผู้ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่



                ระบบข่าวสารที่ให้บริการในสังคมอินเทอร์เน็ตมีหลายระบบ เช่น ยูสเน็ตนิสว์
(UseNet News)ระบบสมาชิกแจ้งข่าวหลายสมาคม บอกรับสมาชิกและให้ข่าวสาร
ที่สม่ำเสมอกับสมาชิกด้วยการส่งเป็นจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียกว่า 
Mailing  lists
ผู้เสนอ ข่าวและผู้อภิปรายเรื่อง    ต่าง ๆ ที่เขียนลงไปจะกระจายออกไปทั่วโลก เช่น
ข่าวบนยูสเน็ตนิวส์แต่ละกลุ่มเมื่อส่งออกจะกระจาย ไปยังเซิร์ฟเวอร์อื่น ๆ ทั่วโลก
ผู้ใช้บริการโดยเฉพาะที่ต้องการเขียนข่าวสารบนกระดาษ   ข่าวจะต้องเคารพ
กฏกติกามารยาทโดยเคร่งครัดข้อปฏิบัติที่สำคัญ ได้แก่

  • ให้เขียนเรื่องให้กระชับ ข้อความควรสั้นและตรงประเด็กไม่กำกวม
    ใช้ภาษาที่เรียบงาน สุภาพเข้าใจได้
  • ในแต่ละเรื่องที่เขียนให้ตรงโดยข้อความที่เขียนควรจะมีหัวข้อเดียว
    ต่อเรื่อง
  • ในการเขียนพาดพิงถึงผู้อื่น ให้ระมัดระวังในการละเมิดหรือสร้าง
    ความเสียหายให้ผู้อื่น การให้อีเมล์อาจตรงประเด็นกว่า
  • ให้แหล่งที่มาของข้อความ ควรอ้างอิงแหล่งข่าวได้ ไม่เรียกว่าโคมลอยหรือ
    ข่าวลือหรือเขียนข่าวเพื่อความสนุกโดยขาดความรับผิดชอบ
  • จำกัดความยาวของข่าว และหลีกเลี่ยงตัวอักษรควบคุมพิเศษอื่น ๆ เพราะ
    หลายเครื่องที่อ่านข่าวอาจมีปัญหาในการแสดงผล
  • ข่าวบางข่าวมีการกระจายกันมาเป็นลำดับให้ และอ้างอิงต่อ ๆ กันมาการเขียน
    ข่าวจึงควรพิจารณาในประเด็นนี้ด้วย โดยเฉพาะอย่าส่งจดหมายตอบโต้ไปยัง
    ผู้รายงานข่าวผู้แรก
  • ไม่ควรให้เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเพื่อประโยชน์ทางการค้าหรืองานเฉพาะ
    ของตนเพื่อประโยชน์ส่วนตนในเรื่อง การค้า
  • การเขียนข่าวทุกครั้งจะต้องลงชื่อ และลายเซนตอนล่างของข้อความเพื่อบอกชื่อ
    ตำแหน่งแอดเดรสที่อ้างอิงได้ทางอินเทอร์เน็ต หรือให้ที่อยู่และหมายเลข
    โทรศัพท์ที่ติดต่อได้
  • ในการทดสอบการส่งไม่ควรทำพร่ำเพื่อการทดสอบควรกระทำในกลุ่มข่าวท้องถิ่น
    ที่เปิดให้ทดสอบการส่งข่าวอยู่แล้ว เพราะการส่งข่าวแต่ละครั้งจะกระจายไปทั่วโลก
  • หลีกเลี่ยงการใช้ตัวอักษรใหญ่ตัวอักษรใหญ่ที่มีความหมายถึงการตะโกนหรือ
    การแสดงความไม่พอใจในการเน้น คำให้ใช้เครื่องหมาย 
    ข้อความแทน
  • ไม่ควรนำข้อความที่ผู้อื่นเขียนไปกระจายต่อโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของเรื่อง
  • ไม่ควรใช้ข้อความตลกขบขันหรือคำเฉพาะคำกำกวม หรือคำหยาบคาย
    ในการเขียนข่าว
  • ให้ความสำคัญในเรื่องลิขสิทธิ์ไม่ควรละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น
  • ไม่ควรคัดลอกข่าวจากที่อื่นเช่น จากหนังสือพิมพ์ทั้งหมดโดยไม่มีการสรุปย่อและ
    เมื่อส่งข่าวย่อจะต้องอ้างอิงที่มา
  • ไม่ควรใช้กระดานข่าวเป็นที่ตอบโต้หรือละเมิดผู้อื่น
  • เมื่อต้องการใช้คำย่อ คำย่อที่เป็นที่รู้จักกันทั่วไป เช่น
    • IMHO-in  my  humble /  honest  opinion
    • FYI-for  your  information
    • BTW-by  the  way
  • การเขียนข้อความจะต้องไม่ใช้อารมณ์หรือความรู้สึกส่วนตัวและระลึกเสมอว่า
    ข่าวที่เขียนหรืออภิปรายนี้กระจายไปทั่วโลก
     และมีผู้อ่านข่าวจำนวนมาก
  • ในการเขียนคำถามลงในกลุ่มข่าวจะต้องส่งลงในกลุ่มที่ตรงกับปัญหาที่เขียนนั้น
    และเมื่อจะตอบก็ต้องให้ตรงประเด็น
  • ในการบอกรับข่าวด้วย mailing  list  และมีข่าวเข้ามาจำนวนมากทางอีเมล์จะต้อง
    อ่านข่าว และโอนมาไว้ที่เครื่องตน 
    (พีซีหรือลบออกจาก mail box และหากไม่อยู่
    หรือไม่ได้เปิดตู้จดหมายเกินกว่าหนึ่งสัปดาห์จะต้องส่งไปบอกยกเลิกการรับ
    เพื่อว่าจะได้ไม่มีจดหมายส่งเข้ามามาก


จรรยาบรรณ สำหรับผู้ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่




ที่มา http://home.kku.ac.th/regis/student/Unnamed%20Site%201/Untitled-4.htm
        http://www.nukul.ac.th/it/content/10/10.6-Netti.htm

ข้อใดคือจรรยาบรรณในการใช้ระบบสนทนาแบบออนไลน์

บัญญัติ 10 ประการ.
ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น.
ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น.
ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น.
ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร.
ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ.
ต้องมีจรรยาบรรณการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์.

มารยาทและจรรยาบรรณในการใช้อินเทอร์เน็ตมีความสำคัญอย่างไร

หากผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีคุณธรรมจริยธรรม เคารพกฎกติกาและกฎระเบียบของสังคม มีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลอย่างถูกต้อง ไม่เผยแพร่ข้อมูลที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ตระหนักถึงการกระทำที่จะส่งผลเสียต่อสังคม จะทำให้สังคมอินเทอร์เน็ตเป็นสังคมที่น่าเชื่อถือ เกิดประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ มีความปลอดภัย และสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ ...

ข้อควรระวังในการใช้อินเทอร์เน็ต มีอะไรบ้าง

ข้อควรระวังในการใช้ระบบอินเทอร์เน็ต.
ไม่ควรบอกข้อมูลส่วนตัว แก่คนไม่รู้จัก ไม่ว่าจะเป็นชื่อที่อยู่ เบอร์โทร เลขบัญชี หรือแม้แต่โรงเรียน เพื่อป้องกันอันตรายทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สิน.
แจ้งผู้ปกครอง หรือผู้ใหญ่ทันทีกรณีที่เจอรูปภาพ คลิปวิดีโอ ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม.

เว็บไซต์ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีประโยชน์อย่างไร

ช่วยเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและบริการต่างๆ ให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ช่วยให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้า หรือผู้ใช้บริการเป้าหมายได้ทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง และทั่วโลก ช่วยขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต สร้างรายได้โดยไม่ต้องมีหน้าร้าน หรือสำนักงาน สามารถให้บริการต่างๆ ของธุรกิจหรือองค์กรแบบออนไลน์ เป็นการอำนวยความสะดวกแก่ลูกค้า