เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

รู้หรือไม่
สัญลักษณ์หรือฉลากที่อยู่ข้างผลิตภัณฑ์อาหารมีความสำคัญกับเรามากแค่ไหน เคยอ่านฉลากก่อนซื้อหรือไม่ ? แน่นอนว่า มากกว่า 50% ไม่มีใครอ่านฉลากก่อนซื้อ เพราะฉะนั้นวันนี้เราจะมาเรียนรู้กันว่าสัญลักษณ์แต่ละอย่างนั้นคืออะไรบ้าง ? ไปดูกันเลยค่ะ ....

ผู้บริโภคโดยทั่วไปมักจะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์โดยพิจารณา จากรูปลักษณ์ภายนอก และคุณสมบัติตามที่ผู้จำหน่ายโฆษณาเป็นลำดับแรก แต่ไม่ สามารถพิจารณาถึงประสิทธิภาพ ความคงทน และความปลอดภัยในการนำไปใช้งาน ดังนั้น วิธีพิจารณาที่ง่ายที่สุดในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ผู้บริโภคควรพิจารณาว่า ผลิตภัณฑ์นั้นๆ มีคุณภาพตามมาตรฐานหรือไม่ โดยพิจารณาจากเครื่องหมายมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ที่แสดงไว้บนผลิตภัณฑ์

Show

ประเภทของเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

ประเภทของเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ประกอบด้วย

 

เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค
 เป็นเครื่องหมายที่ผู้ผลิตยื่นขอการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์จาก สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)

 

 

 

เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค
 เป็นเครื่องหมายที่กำหนดให้ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ต้องยื่นขออนุญาต แสดงเครื่องหมายมาตรฐานที่ สมอ. สำหรับผลิตภัณฑ์ที่อาจเกิด อันตรายระหว่างการใช้งาน เพื่อเป็นการประกันความปลอดภัยให้แก่ ผู้บริโภคเป็นสำคัญ โดยต้องขออนุญาตก่อนการผลิต และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ หากไม่ได้รับอนุญาตจะไม่สามารถวางจำหน่ายได้ และหากฝ่าฝืนจะมีโทษตามกฎหมาย

 

 

 

ฉลากแสดงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค
 เป็นฉลากที่แสดงความสามารถในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า

 

 

ฉลากเขียว

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค
 เป็นฉลากที่แสดงว่าผลิตภัณฑ์นั้นไม่ก่อผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

 

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

เชียงใหม่แอร์แคร์เอ็นจิเนียริ่ง


จำหน่าย ติดตั้ง รับเหมา วางระบบ เครื่องปรับอากาศ เครื่องทำน้ำอุ่น จำหน่ายอะไหล่แอร์ราคาส่งทั่วประเทศ พร้อมบริการหลังการขายครบครัน

ก่อนจะวางขายสินค้าแต่ละชิ้นให้มาสู่มือลูกค้า สิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้เลยนั่นคือ เครื่องหมายรับรองสินค้าที่คอยประกันมาตรฐานในชินค้าชนิดนั้นๆได้ว่า มีคุณภาพต่อลูกค้าจริง สำหรับฝั่งผู้ประกอบการ การผลิตสินค้าเพื่อให้ได้ตรารับรองมาตรฐาน จะต้องผ่านเกณฑ์ของสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเท่านั้น!

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นองค์กรที่ให้การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ว่ามีคุณภาพได้มาตรฐานตามที่กำหนดมีความปลอดภัยในการอุปโภค บริโภค มีประสิทธิภาพในการใช้งาน และมีคุณภาพสมราคา 

การมีเครื่องหมายรับรองมาฐานสินค้าจะเป็นประโยชน์ทั้งตัวผู้ผลิตและผู้บริโภคเองในแง่ที่ว่า สินค้าที่คุณวางขายจะได้รับการประกันคุณภาพและเพิ่มความน่าเชื่อมากยิ่งขึ้น เมื่อลูกค้าเห็นตรารับรองคุณภาพดังกล่าวก็จะเชื่อใจในคุณภาพของสินค้าได้อย่างง่ายดาย  และปัจจุบันสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้กำหนดเครื่องหมายรับรองสินค้าเป็น  5 ประเภท ได้แก่ เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป , เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ , เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความปลอดภัย , เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม และเครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า

สนใจสร้างแบรนด์เครื่องสำอางกับเราสนใจดูรายละเอียดโรงงานผลิตครีม คลิกเพื่อดูรายละเอียดค่ะ

Content

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.)

เป็นเครื่องหมายที่ออกโดย สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ใช้เพื่อรับรองคุณภาพสินค้า โดยเป็นหลักประกันให้กับผู้บริโภคว่าผลิตภัณฑ์นั้นมีคุณภาพ มีความปลอดภัยคุ้มค่า และเหมาะสมกับราคา ซึ่งมักใช้กับสินค้าประเภทส่งของ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ผลิตภัณฑ์อาหารวัสดุก่อสร้าง วัสดุสำนักงาน เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

เครื่องหมายรับรองสินค้า GMP (Good Manufacturing Practice Codex Alimentarius)

เป็นเครื่องหมายรับรองคุณภาพการผลิตอาหาร ที่สะอาด ปลอดภัยและมีคุณภาพ   ซึ่งออกโดยกลุ่มนักวิชาการด้านอาหารจากทั่วโลก และเป็นหลักประกันให้กับผู้บริโภคว่า อาหารที่มีเครื่องหมายนี้ สดสะอาดและมีความปลอดภัยอย่างแท้จริง เนื่องจาก การขอเครื่องหมายรับรองประเภทนี้ ทางโรงงานจะต้องจัดการด้านความพร้อมของสภาวะแวดล้อมในกระบวนการผลิตอาหาร เช่น สุขลักษณะส่วนบุคคล การควบคุมแมลงและสัตว์นําโรค การทําความสะอาดสถานที่ผลิต เครื่องจักร และอุปกรณ์ การควบคุมนํ้าใช้ในโรงงาน การควบคุมสารเคมี เป็นต้น

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

เครื่องหมายฮาลาล

เป็นเครื่องหมายที่ออกโดยสำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย โดยใช้กับสินค้าของอิสลามเพื่อให้ผู้บริโภคได้รู้ว่า อาหารฮาลาลแห่งชาติ หรือผลิตภัณฑ์อาหารที่วางขายอยู่ ผ่านกรรมวิธีในการทำ ผสม ปรุง ประกอบ หรือแปรสภาพตามศาสนาบัญญัติ เพื่อการรับประกันให้ชาวมุสลิมสามารถบริโภคได้อย่างสนิทใจ

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

เครื่องหมายโอทอป (OTOP)

เป็นเครื่องหมายมาตรฐานที่ออกโดย สมอ. เป็นผู้รับรอง ซึ่งเป็นตรามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อประกันคุณภาพสินค้าและให้ผู้บริโภคได้มั่นใจว่า สินค้าชุมชนที่ซื้อไป มีคุณภาพและปลอดภัยในแง่ของการใช้งานอย่างแท้จริง และอีกด้านหนึ่งพวกเขายังได้ช่วยสนับสนุนสินค้าในท้องถิ่นให้มีรายได้เข้าชุมชนอีกด้วย

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

เครื่องหมายมาตรฐาน Q

เป็นเครื่องหมายสินค้าที่ออกโดย สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร และอาการแห่งชาติ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์  ซึ่งรับรองมาตรฐานให้แก่สินค้าและอาหารเกษตร  เพื่อให้ผู้บริโภคมั่นใจว่ามาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ ในด้านความปลอดภัยอาหาร (food safety) และด้านคุณภาพที่จำเป็น (essential quality) นอกจากนี้เครื่องหมายมาตรฐาน Q ยังมีอยู่ 2 ระดับ คือ เครื่องหมายมาตรฐาน Q และเครื่องหมายมาตรฐาน Q Premium สำหรับสินค้าเกรดคุณภาพสูง

บทความเกี่ยวกับ คุณประโยชน์ของสารต้านอนุมูลอิสระที่ดีต่อสุขภาพ นะคะสนใจกดเข้าไปอ่านเลย

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

เครื่องหมายมาตรฐานไอเอสโอ

เป็นเครื่องหมายมาตรฐานสากลที่ใช้รับรองคุณภาพโรงงาน เป็นมาตรฐานสำคัญในเรื่องของการค้า ช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้บริโภคว่า สินค้า/ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากโรงงานมีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้บริโภค สำหรับผู้ผลิตที่มีโรงงานผลิตสินค้า การมีเครื่องหมาย ISO ถือเป็นหนึ่งในมาตรฐานสากลระหว่างประเทศ และมักใช้ในเรื่องของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทความเกี่ยวกับ รวมเทคนิค ตั้งชื่อแบรนด์อาหารเสริมให้ปัง!นะคะสนใจกดเข้าไปอ่านเลย

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

เครื่องหมายมาตรฐาน HACCP

เป็นเครื่องมาตรฐานควบคุมดูแลความปลอดภัยในทุกกระบวนการผลิตอาหาร เพื่อป้องกันอันตรายและสิ่งปนเปื้อนในอาหาร มักใช้เป็นเครื่องหมายรับรองให้แก่ผลิตภัณฑ์ประเภท อาหารหรืออาหารเสริม เพื่อให้ผู้บริโภคมั่นใจได้ว่า ผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารเสริมที่ผลิตขึ้นมา มีส่วนผสม/สารสกัดที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ ปัจจุบัน HACCPเป็นมาตรฐานสากลที่ใช้สร้างความมั่นใจในอุตสาหกรรมอาหารทั้งโดยผู้ผลิต และผู้บริโภค โดยได้รับการยอมรับในวงกว้าง

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภค

สัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์อินทรีย์

เป็นเครื่องหมายมาตรฐานสินค้าที่รับรองสินค้า ซึ่งมีส่วนผสมจากสารสกัดธรรมชาติหรือเป็นสินค้าประเภทออแกนิค ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่ออกโดยกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อรับรองว่าผลิตภัณฑ์/สินค้าที่วางขาย นั้น เกื้อหนุนต่อระบบนิเวศรวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพ วงจรชีวภาพโดยเน้นการใช้วัสดุธรรมชาติหลีกเลี่ยงการใช้วัตถุดิบจากการ สังเคราะห์ และไม่ใช้พืชสัตว์ หรือจุลินทรีย์ และปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม

การวางขายผลิตภัณฑ์/สินค้าในแต่ละแบรนด์ แม้ตัวสินค้าจะมีคุณภาพ แต่ถ้ายังไม่ผ่านเกณฑ์จาก สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ก็ไม่สามารถทำให้ลูกค้าไว้วางใจได้เลยว่า สินค้าปลอดภัย มีคุณภาพอย่างแท้จริง หัวใจสำคัญที่สุด คือการที่ผู้ประกอบการณ์ลงมาใส่ใจในทุกขั้นตอนการผลิต และกระบวนการขอเครื่องหมายรับรอง ตลอดจนขั้นตอนการส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า ซึ่งจะช่วยให้ผู้ประกอบการณ์เข้าใจกระบวนการบริหารจัดการธุรกิจในครบทุกภาคส่วน

เครื่องหมายคุ้มครองผู้บริโภคมีอะไรบ้าง

เครื่องหมายรับรองสินค้า ตรารับรองคุณภาพสินค้าที่ต้องรู้.
เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.).
เครื่องหมายรับรองสินค้า GMP (Good Manufacturing Practice Codex Alimentarius).
เครื่องหมายอาหารและยา (อย.).
เครื่องหมายฮาลาล.
เครื่องหมายโอทอป (OTOP).
เครื่องหมายมาตรฐาน Q..
เครื่องหมายมาตรฐานไอเอสโอ.
เครื่องหมายมาตรฐาน HACCP..

เครื่องหมายการรับประกันสินค้าและบริการมีประโยชน์ต่อผู้บริโภคอย่างไรบ้าง

เครื่องหมายรับรองมาตรฐาน เป็นสิ่งสำคัญ เพราะปัจจุบันมีสินค้ามากมายหลายชนิดในท้องตลาด สิ่งหนึ่งที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเลือกซื้อสินค้าก็คือเครื่องหมายการรับรอง ผู้บริโภคจะเกิดความเชื่อมั่นในการเลือกซื้อสินค้านั้นๆ และแบรนด์เองก็สามารถสร้างความน่าเชื่อถือได้จากเครื่องหมายรับรองมาตรฐานนี่เอง และการที่สินค้าจะได้รับ ...

เครื่องหมายอยใช้รับรองความปลอดภัยของสินค้าประเภทใด

อย. เป็นเครื่องหมายที่ออกโดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นองค์กรที่ให้การรับรองผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาทิเช่น อาหาร ผลิตภัณฑ์เวชสำอาง เครื่องสำอาง ยา อาหารเสริมต่าง ๆ รวมถึงวัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน

เครื่องหมาย ม อก มีอะไรบ้าง

เครื่องหมายมอก. มีอะไรบ้าง?.
1. เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป ... .
2. เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ ... .
3. เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความปลอดภัย ... .
4. เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม ... .
5. เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า.