หลักเกณฑ์ ใน การ คัดเลือก เอกสาร หนังสือ ตำรา และ งาน วิจัย ที่ เกี่ยวข้อง

����� 3
����֡���͡��� ��ó���� ��Чҹ�Ԩ�·������Ǣ�ͧ

㹡���֡���͡��� ��Чҹ�Ԩ�·������Ǣ�ͧ �դ�������ѹ��Ѻ�ѭ�ҡ���Ԩ�����ҧ�ҡ 㹺����С���Ƕ֧��觵�ҧ����դ����Ӥѭ㹡���֡���͡��� ��ó���� ��Чҹ�Ԩ����� � �������Ǣ�� �ѧ���

1. ���觷���Ңͧ�ѭ�ҡ���Ԩ�� ��觹ѡ�Ԩ������ö�Ǻ�����ҡ���觢����ŵ�ҧ � ��ѧ���

1.1 �ҡ�����ҹ���� ��������ҧ � ������Ԩ��ʹ� ��੾�����ҧ��� �����ҧ�ԧ��ɮշ������Ǣ�ͧ�����ͧ��赹�ͧʹ㨷��Ԩ�� ���з�ɮըЪ��ª�����������㴷���÷��Ԩ�� ���ͺҧ���駷�ɮշ��������Ԩ�¨е�ͧ�ӡ�þԨ�ó� ������������͹��������
1.2 �ҡ����Ԩ�·���ռ��������������� �� �������Ԩ�� ���ͻ�ԭ�ҹԾ���
1.3 �ҡ���Ѵ��ͻ�ԭ�ҹԾ��� ��觺���͹������ö���ҧ�Ǥ����Դ�������͡��Ǣ�ͻѭ�Ңͧ�ҹ�Ԩ���� ����ѧ��Һ������ռ���·��Ԩ������������� �Ҵ ��Ше�ͧ����������ҧ�� �������������Դ������ӫ�͹㹧ҹ�Ԩ���ա����
1.4 �ҡ���ʺ��ó� ��Т�ͤԴ�ͧ������ � ����¤�ء��աѺ�ҹ�Ԩ��
1.5 �ҡ��èѴ������ ����ա����Ի������Ǣ�͵�ҧ � ��Ҽ���Ԩ��ʹ�
1.6 �ҡ�������� ���͢���Ծҡ�Ԩ�ó�ͧ�ؤ�ŷ�������ǧ����ԪҪվ��� � ��觵ç�Ѻ����ͧ������Ԩ��ʹ�
1.7 �ҡʶҺѹ ����˹��§ҹ�������Ǣ�ͧ ����Ҩ�з�������ǤԴ���Ǣ�ͧ͢����Ԩ��

2. ��ѡ㹡�����͡��Ǣ�ͻѭ�� �͡�ҡ��Һ���觢��������������Ƿҧ㹡���Ԩ������ ����Ԩ�� ��÷�Һ��ѡࡳ��㹡�����͡��Ǣ�� �ѭ���Ԩ�·��������� �֧����ö�����ѡ��ѧ���

2.1 ���͡�ѭ���¤ӹ֧�֧������������ͧ���ͧ�繷���� ���Ф���ʹ㨨����ç�٧����ӧҹ�����
2.2 ���͡�ѭ�ҷ������Ԩ���դ�������ö ����ѡ��Ҿ���зӧҹ�Ԩ�¹�� � ��
2.3 ���͡�ѭ�ҷ���դس��� �������š���� ��������ռ����·� ���ͼŢͧ����Ԩ�·��������ç��е������Դ����������� � �ѹ���繵�����ҧ�������ɮ� ��й�������ª��㹷ҧ��Ժѵ�
2.4 ���͡�ѭ�������������Ѻ���� ������ҳ ��С��ѧ
2.5 ���͡�ѭ���¤ӹ֧�֧��Ҿ�Ǵ�����������͵�͡���Ԩ�� �� �����ͧ�ͧ��ä鹤��� ��ҹ������ ����բ������ҡ������§� ���ػ�ó� �������ͧ���㹡���红������������ ��Чҹ��� � ���դ���������ͨҡ�������Ǣ�ͧ�ҡ�������˹

3. �ѡɳлѭ�ҷ��� �͡�ҡ�е�ͧ��Һ���觢ͧ�ѭ��㹡���Ԩ�� ���ࡳ��㹡�����͡�ѭ������ ����Ԩ�¨е�ͧ��Һ�֧�ѡɳТͧ�ѭ�ҷ��� �������Ƿҧ㹡�õѴ�Թ����͡��ǻѭ���ҷ��Ԩ�� �ѡɳТͧ�ѭ�ҷ��չ���մѧ���

3.1 ������ͧ����դ����Ӥѭ �ջ���ª�� ������Դ����������� �������Ѻ��ا��䢻ѭ�ҵ�ҧ � ��
3.2 ������ͧ�������ö�Ҥӵͺ������Ըա���Ԩ��
3.3 �繻ѭ�ҷ������ö�Ң������ҵ�Ǩ�ͺ���ص԰ҹ �����Ң����ػ
3.4 �繻ѭ�ҷ������ö����ҹ�����ѭ����
3.5 �繻ѭ�ҷ������ö�ҧἹ��ô��Թ�ҹ�����鹵͹�����ǧ˹����
3.6 �繻ѭ�ҷ������ö���Ԫҡ�� ��Т�鹵͹ ��������ͧ��ͷ���ջ���Է���Ҿ㹡���红�������

4. ��õ�駪�����Ǣ�ͻѭ��
���������Ǣ�ͻѭ�����ͷӧҹ�Ԩ������ ���ͧ͢�ѭ������ҹ�鹨е�ͧ�зѴ�Ѵ �դ����Ѵਹ㹤�������㹵�Ǣͧ�ѹ�ͧ ����ö������������ʹ㨷�Һ��һ�����Ӥѭ������� �ա���֡������ͧ���� �·����ͧ͢�ѭ�Ҩе�ͧ�ʴ��֧��������ѹ��ͧ���������ҹ�����ҧ�Ѵਹ �ա�������ҷ��Ѵਹ ��ҹ�������㨧��� ��е�ͧ���Ѿ��������Ѻ��Ңҹ�� � �͡�ҡ����ѧ��ͧ����ӡѺ�ҹ�Ԩ����� �

5. ����ª��ͧ����֡���͡��� �����ó�����������Ǣ�ͧ �����ҹ��ó�����з�����Դ����ª�� �ѧ���

5.1 ���ǤԴ�����ʹ� �������ӫ�͹�Ѻ������
5.2 ���·�����ͧ�ѭ����Ѵਹ��觢��
5.3 ��������ǤԴ��鹰ҹ ��ʹ����ɮյ�ҧ �
5.4 �ӹ�����ѭ�� ��˹��ͺࢵ ��е����
5.5 ����������ص԰ҹ �����ҧ���˵ؼ� 5.6 ���������ö���͡෤�Ԥ��ô��Թ����Ԩ�������ҧ�������
5.7 ����㹡���ż� ��С����Ի��¼�
5.8 ����㹡����ػ �����¹��§ҹ�Ԩ��

6. ���觢ͧ����֡���͡��� �����ó�����������Ǣ�ͧ
�����˭�ͧ����֡�ҷҧ�͡��� ��� ��ͧ��ش ���ͧ�ҡ�繷���Ǻ��� ��ҧ � ����͡��õ�ҧ � �����ҧ�ҡ��� �͡�ҡ����ѧ�էҹ�Ԩ�·������Թ��������������� ���ͧ��ش��� ����Ԩ������ö�׺�鹤������ �������Ǣ�ͧ�Ѻ�ѭ�Ңͧ����Ԩ�¨ҡ�������� � ���仹����

- �͡��� ˹ѧ��� ���� �����ͧ�������Ǣ�ͧ�Ѻ����Ԩ��
- ��ҹء�� �������ҹء�� �Ǻ����ҹ�Ԩ�� �������ͧ��Ƿ������Ǣ�ͧ
- ������ ������ ����͡���������ҧ �
- ˹ѧ��;���� �Ե���� �������ö��ҧ�ԧ��
- ��ԭ�ҹԾ��� �����Է�ҹԾ��� �ͧ�������稡���֡���дѺ�٧
- ���Ѵ��ͧ͢�Է�ҹԾ���

����㹻Ѩ�غѹ�ѡ�Ԩ������ö�׺�鹢����Ŵ���к����Ť��͹Ԥ �������ʹ����

7. ࡳ���äѴ���͡�͡��� �����ó�����������Ǣ�ͧ
���ͧ�ҡ�͡����ըӹǹ�ҡ ���㹻������е�ҧ����� ����Ԩ���������ö�֡���͡�����ú��ǹ ����ҷ������ö�з��� �ѧ��鹼���Ԩ�¨֧���������͡�͡��çҹ�Ԩ�·������Ǣ�ͧ�ҡ����ش �ѧ��鹼���Ԩ�¨֧�������ѡࡳ��ѧ��� �������������ó�����������Ǣ�ͧ���ҡ����ش ��� �����Դ����ª���٧�ش �ѧ���

7.1 �Ԩ�óҤ����ѹ���¢ͧ�͡����������з�������ҧ�ԧ�������
7.2 �Ԩ�ó�����͡�������ҹ�� ����ö����㹡���֡�Ң����Ţͧ�Ԩ�����������
7.3 �Ԩ�ó�����͡�������ҹ����˹ѧ�����ҧ�ԧ �ͷ��з��Ƿҧ㹡���֡�Ң����Ţͧ�ѭ�Ңͧ����Ԩ���������
7.4 �Ԩ�ó�����͡�������ҹ�����ʹ��ǤԴ�ѹ�繻���ª���ͼ���Ԩ�� ������� �´٨ҡ�������§ ����� ����Ըա�ô��Թ����Ԩ��

8. ��è��ѹ�֡������͡���Ԩ��
��è��ѹ�֡��觷�����֡�Ҩҡ�͡��� �����ó���� ������ͧ�Ӥѭ�ҡ ��è��ѹ�֡���Ѵਹ ����Ǣ�ͷ����繤ú��ǹ �ա�è��ѹ�֡���ҧ������º ���ͤ����дǡ�����Ѵ����㹡�ä鹤��� �»��Ԩ��ա�úѹ�֡����ѵâ�Ҵ 5" x 6" ���� ��ѹ�֡�ѧ���

- ���觢ͧ��ͤ������� ����˹ѧ��� ������ ���ͼ���� �����¹ �ӹѡ����� �շ������ �ӹǹ˹�� �Ţ˹�Ң�ͤ��� ����������ҹ��е�ͧ�����ҧ㹺�óҹء������ �͡�ҡ��� �ѧ����ö�����ʢͧ��ͧ��ش������������˹�觢ͧ�ѵ� ���͡�ä鹤���������ѧ
- ��������ͧ���ѹ�֡ ��úѹ�֡��������Ңͧ�ѵ� ���ͻ���ª��㹡�èѴ��Ǵ����
- �ա�úѹ�֡��ͤ��������ҡ����֡�� �¡����ͤ��� �Ѵ�͡ ���Ͷʹ��ͤ������ӹǹ�ͧ����Ԩ���ͧ ��Ѩ�غѹ����׺ �鹴��¤����������� ����ö������ͤ����͡���� �������������´�������Դ�͡�Ҵ��� ��������Ԩ������ö�����Ѵ���� 㹡�úѹ�֡��ͤ�����ҧ � ��ʹ�����觢�������

����Ѻ���ǹ������͡��çҹ�Ԩ�¹�� �ա�úѹ�֡��Ǣ�͵��仹��

- ������Ǣ�ͻѭ��
- �ѵ�ػ��ʧ��ͧ����Ԩ��
- �Ըա�ô��Թ����Ԩ��
- ��ػ�� ��Ի��� ����ʹ���

1. นโยบายการตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ   

            วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ เป็นวารสารวิชาการที่ได้รับการคัดเลือกเข้าสู่ฐานข้อมูลของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (ศูนย์ TCI) ได้ถูกจัดกลุ่มคุณภาพวารสารประจำปี พ.ศ. 2565 ให้เป็น วารสารที่มีคุณภาพกลุ่มที่ 1 (TCI ฐาน 1) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI จนถึง 31 ธันวาคม 2567 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าและเพื่อเผยแพร่บทความวิจัยและบทความวิชาการแก่นักวิจัย นักวิชาการ คณาจารย์ นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในศาสตร์ดังนี้

           1. สังคมศาสตร์ทั่วไป
           2. ภาษาและภาษาศาสตร์
           3. รัฐประศาสนศาสตร์, วิทยาศาสตร์กายภาพ (ภูมิศาสตร์,ภูมิสังคม,สังคมสิ่งแวดล้อม,ภูมิประวัติศาสตร์)
           4. จิตวิทยา,การศึกษาธุรกิจ, การจัดการและการบัญชี
           5. การจัดการการท่องเที่ยว, สันทนาการ และการบริการทางด้านภาษา

           ทุกบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3  ท่าน เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยรับพิจารณาตีพิมพ์ต้นฉบับของบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย กำหนดออกวารสารปีละ 3 ฉบับ (ราย 4 เดือน) ผลงานที่ส่งมาจะต้องไม่เคยเสนอหรือกำลังเสนอตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการใดมาก่อน

2. ประเภทของผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ

          1) บทความพิเศษ (Special Articles) บทความพิเศษทางวิชาการที่นำเสนอองค์ความรู้ทางวิชาการอย่างเข้มข้น และผ่านการอ่านและพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักวิชาการในวงการวิชาการหรือวิชาชีพ

          2) บทความวิชาการ (Academic Article) เป็นบทความที่เขียนขึ้นในลักษณะวิเคราะห์ วิจารณ์ หรือเสนอแนวคิดใหม่ จากพื้นฐานทางวิชาการที่ได้เรียบเรียงจากผลงานทางวิชาการของตนเองหรือของผู้อื่น หรือเป็นบทความทางวิชาการที่เขียนขึ้นเพื่อเป็นความรู้ที่มีประโยชน์แก่คนทั่วไป

          3) บทความวิจัย (Research Article) เป็นบทความที่มีการค้นคว้าอย่างมีระบบ และมีความมุ่งหมายชัดเจน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือหลักการบางอย่างที่จะนำไปสู่ความก้าวหน้า หรือการนำวิชาการ มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ บทความวิจัยมีรูปแบบของการวิจัยตามหลักวิชาการ เช่น มีการตั้งสมมติฐานหรือมีการกำหนดปัญหาที่ชัดเจน สมเหตุสมผล โดยจะต้องระบุวัตถุประสงค์ที่เด่นชัด มีการรวบรวมข้อมูล พิจารณาวิเคราะห์ ตีความ และสรุปผลการวิจัยที่สามารถให้คำตอบหรือบรรลุวัตถุประสงค์

          4) บทความปริทรรศน์ (Review Article) เป็นบทความที่รวบรวมความรู้จากตำรา หนังสือ และวารสารใหม่ หรือจากประสบการณ์ของผู้นิพนธ์มาเรียบเรียงขึ้น

          5) ปกิณกะ (Miscellany) ได้แก่ บทความทบทวนความรู้ เรื่องแปลย่อความจากวารสารต่างประเทศ การแสดงความคิดเห็น วิจารณ์ แนะนำเครื่องมือใหม่ ตำราหรือหนังสือใหม่ที่น่าสนใจ หรือข่าวการประชุมทั้งระดับชาติและนานาชาติ

3. รูปแบบของการจัดเตรียมต้นฉบับ

          1) ต้นฉบับบทความต้องมีความยาว 8-15 หน้ากระดาษ A 4 (รวมเอกสารอ้างอิง) พิมพ์บนกระดาษหน้าเดียว ใช้ตัวอักษรแบบ TH SarabunPSK เท่านั้น ตั้งค่าหน้ากระดาษโดยเว้นขอบบน ขอบซ้าย 1.38 นิ้ว (3.51 cm.) และขอบขวา ขอบล่าง 1 นิ้ว (2.54 cm.) กำหนดระยะห่างระหว่างบรรทัด เท่ากับ 1 และเว้นบรรทัดระหว่างแต่ละย่อหน้า การนำเสนอตารางต้องนำเสนอตารางที่มีความคมชัดพร้อมระบุหมายเลขกำกับตารางไว้ด้านบน ส่วนการนำเสนอรูปภาพหรือแผนภาพระบุหมายเลขกำกับไว้ด้านล่าง พิมพ์เป็นตัวหนา เช่น ตารางที่ 1 หรือ Table 1 รูปที่ 1 หรือ Figure 1 และแผนภาพที่ 1 รูปภาพหรือแผนภาพที่นำเสนอต้องมีรายละเอียดของข้อมูลครบถ้วนและเข้าใจได้โดยไม่จำเป็นต้องกลับไปอ่านที่เนื้อความอีก ลำดับของรูปภาพทุกรูปให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่อยู่ในต้นฉบับ โดยคำอธิบายต้องกระชับและสอดคล้องกับรูปภาพที่นำเสนอ

          2) ชื่อเรื่องต้องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษพิมพ์ไว้หน้าแรกตรงกลางหน้ากระดาษ

          3) ชื่อผู้เขียน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จัดรูปแบบตามแบบของวารสาร พร้อมระบุหน่วยงานต้นสังกัดของผู้เขียน และ E-mail ที่สามารถติดต่อได้

          4) มีบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ควรอยู่ระหว่าง 250-300 คำ ต่อบทคัดย่อ

          5) กำหนดคำสำคัญ (Keywords) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จำนวน 3-5 คำ

          6) การเรียงหัวข้อ หัวข้อใหญ่สุด ให้พิมพ์ชิดขอบด้านซ้าย หัวข้อย่อยเว้นหัวข้อใหญ่ 3-5 ตัวอักษร พิมพ์ตัวที่ 6 และหัวข้อย่อยขนาดเดียวกันต้องพิมพ์ให้ตรงกัน เมื่อขึ้นหัวข้อใหญ่ควรเว้นระยะพิมพ์เพิ่มอีก 0.5 ช่วงบรรทัด

          7) การใช้ตัวเลขคำย่อ และวงเล็บ ควรใช้ตัวเลขอารบิกทั้งหมด ใช้คำย่อที่เป็นสากลเท่านั้น (ระบุคำเต็มไว้ในครั้งแรก) การวงเล็บภาษาอังกฤษควรใช้ดังนี้ (Student Centred Learning)

          บทความวิจัย ให้เรียงลำดับสาระนี้ ดังนี้

            1) บทคัดย่อ (Abstract) เสนอวัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีการวิจัย และผลการวิจัยโดยสรุปมีความกะทัดรัด สั้น กระชับ และครอบคลุม

            2) บทนำ (Introduction) ระบุความสำคัญของปัญหาการวิจัย

            3) วัตถุประสงค์การวิจัย (Research Objectives) ระบุวัตถุประสงค์การวิจัย

            4) การทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) อธิบายถึงผลการสืบค้นเอกสาร บทความ การวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อแสดงให้เห็นถึง “ช่องว่างของความรู้” (knowledge gap) ที่ยังไม่ถูกพิจารณา ซึ่งการวิจัยครั้งนี้สามารถเติมเต็มช่องว่างของความรู้นั้นได้ การทบทวนวรรณกรรมต้องมีการอ้างอิงอย่างครบถ้วน รวมทั้งควรมีการวิเคราะห์และจัดระบบความสัมพันธ์ของวรรณกรรมเหล่านั้นด้วย

            5) กรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Framework) แสดงถึงแนวคิดสำคัญ หลักการสำคัญ ที่กำหนดขึ้นจากการประมวลมาจากทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และนำเสนอเป็นแผนภาพที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษา

            6) วิธีดำเนินการวิจัย (Research Methodology) ระบุแบบแผนการวิจัย การได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่าง และการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล

            7) ผลการวิจัย (Results) เสนอผลที่พบตามวัตถุประสงค์การวิจัยตามลำดับอย่างชัดเจน ควรเสนอในรูปตารางหรือแผนภูมิ

            8) อภิปรายผล (Discussion) เสนอเป็นความเรียง ชี้ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของผลการวิจัยกับกรอบแนวคิดและงานวิจัยที่ผ่านมา ไม่ควรอภิปรายเป็นข้อ ๆ ชี้ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของตัวแปรที่ศึกษาทั้งหมด

            9) องค์ความรู้ใหม่จากการวิจัย (Body of Knowledge) ระบุข้อค้นพบที่เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดจากผลการวิจัย

            10) สรุป (Conclusions) สรุปในภาพรวมของบทความ โดยนำเสนอประเด็นสำคัญผลการวิจัย และแสดงผลลัพธ์ว่าผลการวิจัยความสำคัญอย่างไร สามารถนำไปใช้อะไรได้บ้าง หรือจะทำให้เกิดอะไรต่อไป

            11) ข้อเสนอแนะ (Suggestion) ระบุข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ และข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป

            12) เอกสารอ้างอิง (References) ต้องเป็นรายการที่มีการอ้างอิงไว้ในเนื้อหาของบทความเท่านั้น (ใช้ระบบ APA 6th)

          บทความพิเศษ บทความวิชาการ บทความปริทรรศน์ ปกิณกะ บทความวิจารณ์หนังสือ ให้เรียงลำดับสาระ ดังนี้

             1) บทคัดย่อ (Abstract) สรุปประเด็นเนื้อหาที่เป็นสาระสำคัญ เน้นประเด็นสำคัญของงานที่ต้องการนำเสนอ โดยเขียนให้สั้น กระชับ มีความยาวไม่เกิน 250-300 คำ โดยบทคัดย่ออาจจะประกอบด้วยเนื้อหาสามส่วน คือ เกริ่นนำถึงวัตถุประสงค์ สิ่งที่ทำ (วิธีในการศึกษา) สรุปผลสำคัญที่ได้ ซึ่งอ่านแล้วต้องเห็นภาพรวมทั้งหมดของงาน

             2) บทนำ (Introduction) เป็นการกล่าวนำโดยอาศัยการปริทรรศน์ (review) และต้องมีการอ้างอิงที่มาของข้อมูลตามรูปแบบที่วารสารกำหนด

             3) เนื้อเรื่อง (Content) แสดงสาระสำคัญที่ต้องการนำเสนอตามลำดับ

             4) สรุป (Conclusion) สรุปโดยเลือกประเด็นสำคัญของบทความมาเขียนรวมกันไว้อย่างสั้น ๆ ซึ่งอาจใช้วิธีการบอกผลลัพธ์ว่าสิ่งที่กล่าวมามีความสำคัญอย่างไร สามารถนำไปใช้อะไรได้บ้าง หรือจะทำให้เกิดอะไรต่อไป หรืออาจใช้วิธีการตั้งคำถามหรือให้ประเด็นทิ้งท้ายกระตุ้นให้ผู้อ่านไปสืบเสาะแสวงหาความรู้ หรือคิดค้นพัฒนาเรื่องนั้นต่อไป

             5) องค์ความรู้ใหม่ที่ได้รับ (Body of Knowledge) ระบุองค์ความรู้อันเป็นผลมาจากประเด็นที่ศึกษา การสังเคราะห์ออกมาในลักษณะ แผนภาพ แผนภูมิ หรือผังมโนทัศน์ พร้อมคำอธิบายรูปแบบ/โครงสร้างอย่างกระชับ เข้าใจง่าย

             6) เอกสารอ้างอิง (Reference) ต้องเป็นรายการที่มีการอ้างอิงไว้ในเนื้อหาของบทความเท่านั้น (ใช้ระบบ APA 6th)

ระบบการอ้างอิงและเอกสารอ้างอิงทางวิชาการ

          เอกสารที่นำมาอ้างอิงควรได้มาจากแหล่งที่มีการตีพิมพ์ชัดเจน อาจเป็นวารสาร หนังสือ หรือข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ทั้งนี้ผู้เขียนบทความต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของเอกสารอ้างอิงทั้งหมด ก่อนส่งต้นฉบับผู้เขียนบทความควรตรวจสอบถึงความถูกต้องของการอ้างอิงเอกสาร เพื่อป้องกันความล่าช้าในการตีพิมพ์บทความ เนื่องจากบทความที่มีการอ้างอิงไม่ถูกต้องจะไม่ได้รับการส่งต่อเพื่อพิจารณาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จนกว่าการอ้างอิงเอกสารได้รับการแก้ไขให้ถูกต้อง

การอ้างอิงในเนื้อหาบทความ

          รูปแบบการอ้างอิงในเนื้อเรื่องและท้ายเล่มใช้วิธีการอ้างอิงระบบนาม–ปี ตามรูปแบบของAmerican Psychological Association (APA 6th Edition) ให้ใช้ระบบตัวอักษรโดยใช้วงเล็บ  เปิด-ปิด แล้วระบุชื่อ-นามสกุล ของผู้เขียนและเลขหน้าของเอกสารที่นำมาอ้างอิง กำกับท้ายเนื้อความ ที่ใช้อ้างอิง เอกสารที่อ้างอิงในบทความจะต้องปรากฏในเอกสารอ้างอิง บทความทุกรายการและเจ้าของบทความต้องรับผิดชอบถึงความถูกต้องของเอกสารที่นำมาอ้างอิงทั้งหมด โดยรูปแบบของการอ้างอิงเอกสาร มีดังนี้

อ้างอิงจากเอกสารภาษาไทย

    1) พระไตรปิฎกและอรรถกถา ให้อ้างชื่อคัมภีร์ เล่มที่ ข้อ เครื่องหมายทวิภาค (:) และหน้าของเอกสารที่นำมาอ้างอิง เช่น (พระไตรปิฎกภาษาไทย/1516281-282), (พระไตรปิฎก พร้อมอรรถกถาแปล/15/255-319)

    2) ผู้แต่งหนึ่งรายให้อ้างชื่อผู้แต่งเครื่องหมายจุลภาค (,) และตามด้วยปีที่พิมพ์ เช่น (ธนู ทดแทนคุณ, 2562)

    3) ผู้แต่งสองรายให้อ้างชื่อของผู้แต่งสองรายเครื่องหมายจุลภาค (,) ตามด้วยปีที่พิมพ์ เช่น (จิดาภา เร่งมีศรีสุข และชนิดาภา กระแจะจันทร์, 2561) หากมีเอกสารที่นำมาอ้างอิงมากกว่า 1 รายการ ให้ใช้เครื่องหมายอัฒภาค (;) คั่นระหว่างรายการอ้างอิง เช่น (สัมพันธ์ สุกใส, 2560; สมพงษ์ เกษานุช, 2561)

    4) ถ้ามีผู้แต่งมากกว่า 2 ราย ให้อ้างชื่อของผู้แต่งรายแรกเว้นวรรคหนึ่งครั้งเพิ่มคำว่า และคณะ เช่น (จิดาภา เร่งมีศรีสุข และคณะ, 2558)

    5) ให้เรียงลำดับการอ้างอิงตามลำดับพยัญชนะตัวแรกของชื่อผู้แต่งเช่นเดียวกับลำดับการอ้างอิงในส่วนเอกสารอ้างอิง

อ้างอิงจากเอกสารภาษาอังกฤษ

    1) ถ้ามีผู้แต่งหนึ่งราย ให้ขึ้นต้นด้วยชื่อสกุล ตามด้วยตัวอักษรย่อชื่อต้น โดย เว้น 1 ระยะ และ อักษรย่อชื่อกลาง (ถ้ามี) ทั้งนี้การกลับชื่อสกุลให้ใช้ตามความนิยมของคนในชาตินั้น โดยใช้เครื่องหมายจุลภาค คั่นระหว่างชื่อสกุลและอักษรย่อชื่อต้น อักษรย่อชื่อกลาง หากกรณีที่ผู้แต่งมีคำต่อท้าย เช่น Jr. หรือคำอื่น ๆ ให้ใส่คำดังกล่าวต่อท้ายอักษรย่อชื่อต้นหรืออักษรย่อชื่อต้น (ถ้ามี) โดยคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค และตามด้วยปีที่พิมพ์ เช่น (Hanegraaff, W., 2003)

    2) ถ้ามีผู้แต่งสองราย ให้อ้างให้ขึ้นต้นด้วยชื่อสกุล ตามด้วยตัวอักษรย่อชื่อต้น และใช้เครื่องหมาย “&”ระหว่างคนที่ 1 และคนที่ 2 โดยเว้น 1 ระยะ ก่อนและหลัง ตามด้วยเครื่องหมายจุลภาค และปีที่พิมพ์ เช่น (Cadigan, J. & Shupp, R., 2000) และให้ใช้เครื่องหมาย อัฒภาค (;) คั่นกลางระหว่างเอกสารที่นำมาอ้างอิงมากกว่า 1 เอกสาร เช่น (Cadigan, J., 2013; Hanegraaff, W., 2003)

    3) ถ้ามีผู้แต่งมากกว่า 2 ราย ให้ขึ้นต้นด้วยชื่อสกุล ตามด้วยตัวอักษรย่อชื่อต้น ของผู้แต่งรายแรกตามด้วย et al, และปีที่พิมพ์ (Hanegraaff, W. et al., 2008)

    4) ให้เรียงลำดับการอ้างอิงชื่อผู้แต่งตามลำดับพยัญชนะภาษาอังกฤษ (A-Z)

หลักเกณฑ์ทั่วไปในการพิมพ์รายการสำนักพิมพ์/โรงพิมพ์

กรณีเป็นสำนักพิมพ์หรือบริษัทให้คงไว้เฉพาะชื่อ ดังตัวอย่าง

    1) บริษัท เอ็ม อี เค จำกัด ใช้ เอ็ม อี เค

    2) สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ใช้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    3) กรณีที่เป็นโรงพิมพ์ให้ใช้รูปแบบเต็ม เช่น โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

เอกสารอ้างอิง

          (1) พระไตรปิฎก อรรถกถา

รูปแบบ:

ผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อพระไตรปิฎกอรรถกถา./สถานที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์.

ตัวอย่าง:

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

          (2) หนังสือ

รูปแบบ :

ผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อหนังสือ./(ครั้งที่พิมพ์)./สถานที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์.

ตัวอย่าง :

จิดาภา เร่งมีศรีสุข. (2561). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: เอ็น เค การพิมพ์.

          (3) บทความในหนังสือ

รูปแบบ :

ผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อบทความ./ใน ชื่อบรรณาธิการ (บรรณาธิการ)./ชื่อหนังสือ/.(เลขหน้าที่อ้างอิง)./สถานที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์.

ตัวอย่าง:

สัมพันธ์ สุกใส. (2561). การพัฒนาทรัพยากรบุคคล. ใน จิดาภา เร่งมีศรีสุข (บรรณาธิการ). การบริหารองค์กรสู่ความเป็นเลิศ. (หน้า 112-115). กรุงเทพมหานคร: เอ็น เจ ที ปริ้นติ้ง.

          (4) บทความจากวารสาร

รูปแบบ :

ผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร./ปีที่/(ฉบับที่),/เลขหน้าแรกที่ตีพิมพ์-เลขหน้าสุดท้ายที่ตีพิมพ์.

ตัวอย่าง:

สมพงษ์ เกษานุช. (2560). กระบวนการพัฒนาชุมชนสู่ความยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.วารสาร มจร. สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 3 (1), 25-31.

          (5) บทความในสารานุกรม

รูปแบบ :

ผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อบทความ./ใน/ชื่อสารานุกรม,/(เล่มที่อ้าง,/หน้า/เลขหน้าที่อ้าง)./สถานที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์.

ตัวอย่าง:

สนิท อาจพันธ์. (2537). หม้อคอควาย. ใน สารานุกรมของใช้พื้นบ้านไทยในอดีต เขตหัวเมืองฝ่ายเหนือ, (เล่ม 2, หน้า 274-275). กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง.

Sturgeon, T. (1995). Sciencefiction. In The encyclopaedia America, (Vol. 24, pp. 390-392). Danbury, CT: GrolierPress.

          (6) หนังสือพิมพ์

รูปแบบ :

ผู้แต่ง./(วันที่ เดือน ปีที่พิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อหนังสือพิมพ์,/,ปีที่ (ฉบับที่),/เลขหน้า.

ตัวอย่าง:

ธนู ทดแทนคุณ. (12 กันยายน 2561). มาตรฐานการเขียนหนังสือราชการ. มติชน, น. 15.

          (7) รายงานการวิจัย

รูปแบบ :

ชื่อผู้เขียน./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง./ใน รายงานการวิจัย./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์หรือหน่วยงาน.

ตัวอย่าง:

สมพงษ์ เกษานุช. (2561). การพัฒนาชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. ใน รายงานการวิจัย. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

          (8) วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์

รูปแบบ :

ชื่อผู้เขียน. (ปี ที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตหรือปริญญาดุษฎีบัณฑิต)./สถานที่พิมพ์./ชื่อสถาบัน.

ตัวอย่าง:

สมพงษ์ เกษานุช. (2561). กลยุทธ์การบริหารจัดการชุมชนเพื่อหนุนเสริมการท่องเที่ยวในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาสารคาม:  มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

          (9) สัมภาษณ์

รูปแบบ :

ชื่อ นามสกุลผู้ที่ได้รับการสัมภาษณ์./(วัน/เดือน/ปีที่สัมภาษณ์)./ชื่อเรื่องที่สัมภาษณ์./(ชื่อ/นามสกุล/ผู้สัมภาษณ์).

ตัวอย่าง :

วาสนา มะลินิน. (12 กันยายน 2562). ระบบการพัฒนานักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ ใน มทร.สุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี. (สมพงษ์ เกษานุช ผู้สัมภาษณ์).

          (10) สื่อออนไลน์

รูปแบบ :

ผู้แต่ง./(ปีที่เผยแพร่)./ชื่อบทความ./สืบค้น/วันที่/เดือน/ปี./จาก/แหล่งที่มาของข้อมูล (URL).

ตัวอย่าง :

วิทยา พัฒนเมธาดา. (2560). การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management). สืบค้น 12 กันยายน 2561. จาก http://www.kansuksa.com/31/.

หมายเหตุ:  / = เว้นวรรค 1 ครั้ง

ตัวอย่างเอกสารอ้างอิง

เอกสารอ้างอิง

กริช แรงสูงเนิน. (2554). การวิเคราะห์ปัจจัยด้วย SPSS และ AMOS เพื่อการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2551). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS for Windows. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ครูเชียงราย. (2560). สื่อการสอน. สืบค้น 1 มกราคม 2560. จาก http://www.kru chiangrai. net/tagสื่อการสอน/.

จรัญ แสงบุญ. (2552). การจัดการศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ในอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

จิราภา เต็งไตรรัตน์. (2554). จิตวิทยาทั่วไป. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร: ธรรมศาสตร์.

จันทรานี สงวนนาม. (2551). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: บุ๊คพอยท์.

จามจุรี จำเมือง. (2553). ผู้บริหารกับการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

ทัศนีย์ ศุภเมธี. (2542). พฤติกรรมการสอนวิชาภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สถาบันราชภัฏธนบุรี.

ทิภาวรรณ เลขวัฒนะ และสุนทรี จันทร์สำราญ. (2557). การประเมินผลในชั้นเรียนเพื่อวินิจฉัยข้อบกพร่องผู้เรียน (Classroom Assessment for Student Diagnostic). วารสารชุมนุมนักวัดและประเมินผลการศึกษาขั้นพื้นฐานแห่งประเทศไทย, 1(1), 12–25.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. (พิมพ์ครั้งที่ 15). นนทบุรี: เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.

นิธิดา บุรณจันทร์. (2550). ภาวะผู้นำฆของผู้บริหารที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลองค์การของโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Glickman, C.D. (2004). Supervision and Instructional Leadership : A Developmental Approach. Boston: Allyn and Bacon.

Lunenburg, F. C. & Ornstein, A. C. (1996). Educational administration. (2nd ed.). Belmont, CA: Wadsworth.

McEwan, E. K. (2003). Ten traits of highly effective principals : From good to great performance. Thousand Oaks, CA: Sage.

4. หลักเกณฑ์การส่งต้นฉบับบทความเพื่อได้รับการตีพิมพ์

         4.1 ส่งผ่านระบบออนไลน์ของวารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ (THAIJO) โดยสมัครสมาชิก และส่งบทความผ่านระบบได้ที่ https://so03.tci-thaijo.org/index.php/art/index

         4.2 ส่งด้วยตนเองหรือทางไปรษณีย์ เอกสารประกอบด้วย

                1) ต้นฉบับ จำนวน 3 ชุด จำแนกเป็น

                     - ต้นฉบับที่ไม่ระบุชื่อผู้แต่ง จำนวน 2 ชุด

                     - ต้นฉบับที่ระบุชื่อผู้แต่ง จำนวน 1 ชุด เอกสารต้องระบุรายละเอียด ผู้เขียนบทความ Author (s) ได้แก่ ชื่อ ตำแหน่ง และสังกัด หรือวุฒิการศึกษาสูงสุด อย่างใดอย่างหนึ่งโดยให้มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เฉพาะผู้รับผิดชอบบทความ (Corresponding Author) ให้ระบุที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ E-mail  ที่สามารถติดต่อได้ ในกรณีที่ต้นฉบับดังกล่าวมาจากหรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์หรือหลักสูตร การศึกษาโปรดระบุชื่อหลักสูตร สาขา และสถาบันการศึกษาให้ชัดเจน

                2) แผ่นซีดีบรรจุข้อมูลต้นฉบับ จำนวน 1 แผ่น (ระบุชื่อบทความและชื่อผู้เขียน)

                3) แบบเสนอผลงานเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ

                    - แบบฟอร์มเสนอผลงานเพื่อได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ

                    - แบบฟอร์มสมัครสมาชิกวารสารศิลปะศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ

                4) ส่งต้นฉบับบทความเพื่อเสนอตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ มายัง

                     กองบรรณาธิการวารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ เลขที่ 60 หมู่ 3 ถนนสายเอเซีย (กรุงเทพฯ-นครสวรรค์) ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 โทร. 035-709208, โทรสาร. 035-709208

         4.3 ส่งทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ แนบไฟล์ต้นฉบับ (File attachment) ในรูปแบบ MS Word และ PDF ส่งมายัง E-mail:   เมื่อได้รับการยืนยันจากกองบรรณาธิการ พิจารณาให้ตีพิมพ์ลงในวารสารแล้ว ผู้เขียนจะต้องส่งแผนซีดีบรรจุข้อมูลต้นฉบับ จำนวน 1 แผ่น มายังกองบรรณาธิการเพื่อเข้าสู่กระบวนการตีพิมพ์ต่อไป

5. ขั้นตอนการนำบทความลงตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ

          ต้นฉบับบทความที่เสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารให้อยู่ในรูปแบบของไฟล์เอกสาร *.docx ของ Microsoft Word Version 2010 หรือมากกว่า หากต้นฉบับประกอบด้วยภาพ ตาราง หรือสมการ ให้ส่งแยกจากไฟล์เอกสาร รูปแบบไฟล์ภาพในสกุล *.PDF*.JPG*.GIF หรือ *bmp. ความยาวของต้นฉบับต้องไม่เกิน 15 หน้า (รวมบทคัดย่อ ภาพ ตาราง และเอกสารอ้างอิง) กองบรรณาธิการจะพิจารณาบทความเบื้องต้น เกี่ยวกับความถูกต้องของรูปแบบทั่วไป ถ้าไม่ผ่านการพิจารณาจะส่งกลับไปแก้ไขถ้าผ่านจะเข้าสู่การพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิ เมื่อผลการประเมินผ่านหรือไม่ผ่าน หรือมีการแก้ไข จะแจ้งผลให้ผู้เขียนทราบ โดยการพิจารณาบทความเพื่อลงตีพิมพ์ได้จะคำนึงถึงความหลากหลายและความเหมาะสม

6. สิทธิของบรรณาธิการ

         ในกรณีที่กองบรรณาธิการหรือผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งได้รับเชิญให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิผู้ตรวจประเมินบทความมีความเห็นว่าควรแก้ไข กองบรรณาธิการจะส่งคืน เพื่อให้เจ้าของบทความแก้ไข โดยจะยึดถือข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้ตรวจประเมินเป็นเกณฑ์หลัก และสงวนสิทธิ์ที่จะพิจารณาไม่ตีพิมพ์ ในกรณีที่รายงานการวิจัย บทความทางวิชาการ หรือบทความวิจัย ไม่ตรงกับแนวทางของวารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ หรือไม่ผ่านการพิจารณาของกองบรรณาธิการหรือผู้เชี่ยวชาญ เมื่อบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ผู้เขียนจะได้รับวารบทความลงตีพิมพ์ผลงาน จำนวน 1 ฉบับ พร้อมกับหนังสือรับรองการตีพิมพ์บทความในวารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ