การถอดประกอบเครื่องยนต์เล็กดีเซล

รวบรวมเอาขั้นตอนการถอด-ประกอบและซ่อมบำรุงเครื่องยนต์เล็กเบนซินและดีเซล เช่น ระบบสตาร์ต ระบบระบายความร้อน ระบบจุดระเบิด ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง ระบบควบคุมความเร็ว และการตรวจสภาพชิ้นส่วนต่างๆ...

      หนังสือ งานเครื่องยนต์เล็ก นี้ได้รวบรวมใบงานที่มีเนื้อหาครอบคลุมขั้นตอนปฏิบัติงานซ่อมบำรุงรักษาและบริการเครื่องยนต์เล็กเบนซิน 2 จังหวะ เครื่องยนต์เล็กเบนซิน 4 จังหวะ และเครื่องยนต์เล็กดีเซลไว้ทั้งหมด ได้แก่ ระบบสตาร์ต ระบบระบายความร้อน ระบบจุดระเบิด ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง ระบบควบคุมความเร็ว และการตรวจสภาพชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์ ประกอบด้วยจุดประสงค์ ขั้นตอน และผลสรุปจากการปฏิบัติงาน เหมาะสำหรับใช้ในการเรียนการสอนนักศึกษาระดับ ปวช. สาขาช่างยนต์ และใช้อ้างอิงในการปฏิบัติงานสำหรับช่างยนต์ และผู้สนใจทั่วไปที่ต้องการใช้งานเครื่องยนต์เล็กให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

หน่วยที่ 1 งานถอด-ประกอบ ตรวจสภาพ และบริการเครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลีน 2 จังหวะ
- ใบงานที่ 1.1 การตรวจสภาพและบริการเครื่องยนต์ก่อนใช้และตามกำหนดเวลา
- ใบงานที่ 1.2 การถอด-ประกอบ ตรวจสภาพ และบริการระบบสตาร์ต ระบบระบายความร้อน และระบบจุดระเบิด
- ใบงานที่ 1.3 การถอด-ประกอบ ตรวจสภาพ และบริการชิ้นส่วนระบบน้ำมันเชื้อเพลิงและระบบควบคุมความเร็ว
- ใบงานที่ 1.4 การถอด-ประกอบ ตรวจสภาพ และบริการชิ้นส่วนต่างๆ

หน่วยที่ 2 งานถอด-ประกอบ ตรวจสภาพ และบริการเครืองยนต์เล็กแก๊สโซลีน 4 จังหวะ
- ใบงานที่ 2.1 การตรวจสภาพและบริการเครื่องยนต์ก่อนใช้และตามกำหนดเวลา
- ใบงานที่ 2.2 การถอด-ประกอบ ตรวจสภาพ และบริการระบบสตาร์ต ระบบระบายตวามร้อน และระบบจุดระเบิด
- ใบงานที่ 2.3 การถอด-ประกอบ ตรวจสภาพ และบริการชิ้นส่วนระบบควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิงและระบบควบคุมความเร็ว
- ใบงานที่ 2.4 การถอด-ประกอบและการตรวจสภาพชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์

หน่วยที่ 3 งานถอด-ประกอบ ตรวจสภาพ และบริการเครื่องยนต์เล็กดีเซล
- ใบงานที่ 3.1 การบริการเครื่องยนต์ก่อนใช้และตามกำหนดเวลา
- ใบงานที่ 3.2 การถอด-ประกอบ ตรวจสภาพ และบริการระบบระบายความร้อนและระบบหล่อลื่น
- ใบงานที่ 3.3 การถอด-ประกอบ ตรวจสภาพ และบริการปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงและการปรับตั้งจุดฉีด
- ใบงานที่ 3.4 การถอด-ประกอบ ตรวจสภาพ และบริการหัวฉีดและการปรับตั้งหัวฉีด
ฯลฯ

หนังสือ งานเครื่องยนต์เล็ก มีเนื้อหาครอบคลุมระบบสตาร์ต ระบบระบายความร้อน ระบบจุดระเบิด ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง ระบบควบคุมความเร็ว และการตรวจสภาพชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์เล็กเบนซินและดีเซล ดังนั้นจึงเหมาะที่จะใช้ศึกษาหาความรู้ในด้านปฏิบัติได้เป็นอย่างดี อีกทั้งอาจารย์ผู้จัดทำหนังสือเล่มนี้ยังมีความรู้และประสบการณ์ในด้านการสอนวิชางานเครื่องยนต์เล็กโดยตรง...อุดม ไชยเดชาธร- ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา

ชุดสาธิตการถอด-ประกอบเคร่ืองยนต์ดเี ซล Mitsubishi รุ่น L-200 คณะผ้จู ัดทา นักศึกษา ปวส. 2/4 โครงการนีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง สาขางานเทคนิคยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคโนโลยยี านยนต์ ปี การศึกษา 2555

โครงการศึกษาเร่ือง ชุดสาธิตการถอด-ประกอบเครื่องยนตด์ ีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 อาจารยท์ ี่ปรึกษาและควบคุมโครงการ ............................................................. วนั ที่ ............./..................../................. (อาจารยเ์ ฉลิมพล ช่วยดารงค)์ คณะกรรมการสอบ 1 ............................................................ ประธานกรรมการ (อาจารยส์ กล วงศเ์ ดชเสรีกุล) 2 ............................................................ กรรมการ (อาจารยอ์ นุรักษ์ โพธ์ิทอง) 3 ............................................................ กรรมการ (อาจารยเ์ ทอดศกั ด์ิ สุขคง) 4 ............................................................ กรรมการ (อาจารยน์ พดล ทองสุระวโิ รจน์) วนั ท่ี ............./..................../................. การศึกษาโครงการน้ีไดผ้ า่ นการตรวจสอบและวดั ผลเรียบร้อยแลว้ เมื่อวนั ที่ .........../................./................. ............................................... (อาจารยน์ งนุช ขุนทอง) ผชู้ ่วยผอู้ านวยการฝ่ ายวชิ าการ ก

คานา สารนิพนธ์ฉบบั น้ีจดั ทาเพอื่ ประกอบโครงการ ชุดสาธิตการถอด-ประกอบเคร่ืองยนต์ดีเซล Mitsubishi รุ่น L-200โดยจดั ทาแทน่ โครงยดึ ชิ้นส่วนของเคร่ืองยนตด์ ีเซล เพ่ือสาหรับสาธิตการถอด และประกอบชิ้นส่วนของเคร่ืองยนต์ดีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 ตลอดจนศึกษาการทางานของ เครื่องยนตด์ ีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 ใหเ้ กิดความความชานาญ และเขา้ ใจในหลกั การอยา่ งลึกซ้ึง อน่ึงในกระบวนการสอนของคณะครูอาจารย์และการเรียนรู้ของนกั ศึกษา สามารถจะนา องค์ความรู้ที่ไดไ้ ปประยุกตใ์ ช้ในการทางาน หวงั ว่าสารนิพนธ์ฉบบั น้ีจะใชเ้ ป็ นสื่อประกอบการ เรียนการสอนให้กบั นักศึกษาและผูท้ ่ีมีความสนใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากมีขอ้ เสนอแนะ ประการใดผจู้ ดั ทายนิ ดีนอ้ มรับไวด้ ว้ ยความขอบคุณ คณะผจู้ ดั ทา นกั ศึกษา ปวส. 2/4 ช่างยนต์ ข

สารบัญ หนา้ ชื่อเร่ือง ก ข ใบตรวจอนุมตั ิ ค คานา ฉ สารบญั ช สารบญั ตาราง สารบญั รูป 1 1 บทท่ี 1 บทนา 2 1.1 ที่มาของโครงการ 2 1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 2 1.3 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ 3 1.4 ขอบเขตของโครงการ 1.5 แผนการดาเนินงาน 4 1.6 ค่าใชจ้ า่ ย/งบประมาณ 9 13 บทท่ี 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ ง 16 2.1 หลกั การทางานของเครื่องยนตด์ ีเซล 17 2.2 โครงสร้างและชิ้นส่วนของเครื่องยนตด์ ีเซล 18 2.3 ระบบน้ามนั เช้ือเพลิง 2.4 ระบบไอดีและไอเสีย 2.5 ระบบหล่อล่ืน 2.6 ระบบหล่อเยน็ ค

สารบัญ (ต่อ) หนา้ ช่ือเร่ือง 19 21 2.7 ระบบช่วยสตาร์ทของเครื่องยนตด์ ีเซล 2.8 การวเิ คราะห์ปัญหาขอ้ ขดั ขอ้ งของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 24 24 บทที่ 3 วธิ ีดาเนินงาน 24 3.1 การจดั ทาแท่นยดึ เครื่องยนตเ์ ครื่องยนตด์ ีเซล 3.2 การจดั เตรียมเคร่ืองยนต์เคร่ืองยนตด์ ีเซล 37 3.3 การติดต้งั เครื่องยนตเ์ คร่ืองยนตด์ ีเซล 37 37 บทที่ 4 สรุปผลการศึกษาและขอ้ เสนอแนะ 4.1 สรุปผลโครงการ 4.2 ปัญหาท่ีพบ 4.3 วธิ ีแกไ้ ขและขอ้ เสนอแนะ ง

สารบญั (ต่อ) ชื่อเรื่อง หนา้ เอกสารอา้ งอิง 39 ภาคผนวก ก แบบโครงสร้างชุดสาธิตการถอด-ประกอบเครื่องยนตด์ ีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 40 ภาคผนวก ข ประวตั ิผจู้ ดั ทาโครงการ 45 ภาคผนวก ค ใบเสนอขออนุมตั ิจดั ทาโครงการ 74 จ

สารบญั ตาราง ตารางท่ี หนา้ ตารางท่ี 1-1 แผนการดาเนินงานโครงการ 2 ตารางท่ี 1-2 งบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายของโครงการ 3 ตารางท่ี 2-1 การเปรียบเทียบเคร่ืองยนตด์ ีเซล 8 ตารางท่ี 2-2 การวเิ คราะห์ปัญหาเครื่องยนตด์ ีเซล 21 ฉ

สารบัญรูป รูปที่ หนา้ รูปท่ี 2-1 แสดงจงั หวะดูด (Intake Stroke) 4 รูปที่ 2-2 จงั หวะอดั (Compression Stroke) 5 รูปที่ 2-3 จงั หวะระเบิดหรือจงั หวะงาน (Power Stroke) 5 รูปที่ 2-4 จงั หวะคาย (Exhaust Stroke) 6 รูปท่ี 2-5 ลกั ษณะของเครื่องยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะ 6 รูปท่ี 2-6 การทางานในจงั หวะดูด 7 รูปท่ี 2-7 การทางานในจงั หวะอดั 7 รูปท่ี 2-8 การทางานในจงั หวะกาลงั งาน 7 รูปท่ี 2-9 การทางานในจงั หวะคาย 8 รูปท่ี 2-10 แสดงชิ้นส่วนเครื่องยนต์ 9 รูปที่ 2-11 ฝาสูบ (cylinder head) 9 รูปที่ 2-12 เส้ือสูบ (cylinder block) 10 รูปที่ 2-13 ลิ้นและกลไกของลิ้น (valve and valve mechanism) 10 รูปท่ี 2-14 ลูกสูบและแหวน (piston and piston rings) 11 รูปที่ 2-15 กา้ นสูบ (connecting rod) 11 รูปที่ 2-16 ขอ้ เหวย่ี ง (crankshaft) 12 รูปที่ 2-17 ฟลายวลี (flywheel) 12 รูปที่ 2-18 ระบบน้ามนั เช้ือเพลิงแบบแรงดนั ต่า 13 รูปที่ 2-19 ระบบน้ามนั เช้ือเพลิงแบบแรงดนั สูง 13 รูปที่ 2-20 ถงั น้ามนั เช้ือเพลิง (Fuel Tank) 14 รูปท่ี 2-21 กรองน้ามนั เช้ือเพลิง หรือ หมอ้ ดกั น้า (Fuel Filter) 14 รูปที่ 2-22 ป๊ัมส่งน้ามนั เช้ือเพลิงแรงดนั ต่าหรือป๊ัมมือ (Feed Pump) 15 ช

สารบญั ภาพ (ต่อ) รูปที่ หนา้ รูปที่ 2-23 หวั ฉีดน้ามนั เช้ือเพลิง (Fuel injection nozzles) 15 รูปที่ 2-24 ป๊ัมฉีดน้ามนั เช้ือเพลิง (Injection Pump) 15 รูปท่ี 2-25 ระบบไอดีและไอเสีย 16 รูปท่ี 2-26 ระบบหล่อล่ืน 17 รูปที่ 2-27 ระบบหล่อเยน็ 18 รูปที่ 2-28 ระบบหวั เผาแบบทวั่ ไป 19 รูปที่ 2-29 ระบบหวั เผาแบบเร็ว QOS (quick – on start) 20 รูปท่ี 2-30 ระบบเช้ือเพลิงของเคร่ืองยนตด์ ีเซลแบบคอมมอนเรลควบคุม ดว้ ยอิเลก็ ทรอนิกส์ 20 รูปท่ี 3-1 การทาความสะอาดโครงแท่นยดึ 25 รูปท่ี 3-2 การประกอบลอ้ ของฐานโครงแท่นยดึ 25 รูปท่ี 3-3 การประกอบแกนโครงกบั ฐานแทน่ ยดึ 26 รูปท่ี 3-4 การตรวจสอบความแขง็ แรงของโครงแท่นยึด 26 รูปที่ 3-5 การเตรียมอุปกรณ์ทาสีโครงแทน่ ยดึ 27 รูปที่ 3-6 การเตรียมสีทาโครงแทน่ ยดึ 27 รูปท่ี 3-7 การทาสีแขนยดึ เคร่ืองยนต์ 28 รูปท่ี 3-8 การทาสีโครงแท่นยดึ 28 รูปท่ี 3-9 การทาสีถาดรองชิ้นส่วนของเคร่ืองยนต์ 29 รูปที่ 3-10 การฉีดน้าทาความสะอาดเครื่องยนต์ 29 รูปที่ 3-11 การลา้ งน้ายาทาความสะอาดเครื่องยนต์ 30 รูปที่ 3-12 การเป่ าส่ิงสกปรกออกจากเครื่องยนต์ 30 ซ

สารบัญภาพ (ต่อ) รูปที่ หนา้ รูปท่ี 3-13 การตรวจสอบชิ้นส่วนของเคร่ืองยนต์ 31 รูปที่ 3-14 การเคลื่อนยา้ ยเคร่ืองยนตก์ ่อนติดต้งั 31 รูปท่ี 3-15 การติดต้งั เครื่องยนตเ์ ขา้ กบั โครงแทน่ ยดึ 32 รูปท่ี 3-16 การจดั ตาแหน่งการติดต้งั 32 รูปท่ี 3-17 การตรวจสอบความแขง็ แรงของชิ้นงาน 33 รูปท่ี 3-18 การประกอบถาดรองชิ้นส่วนเคร่ืองยนต์ 33 รูปท่ี 3-19 การตรวจสอบความเรียบร้อยของชิ้นงาน 34 รูปที่ 3-20 ดา้ นขา้ งของชุดสาธิตการถอด-ประกอบเคร่ืองยนตด์ ีเซล 34 รูปท่ี 3-21 ดา้ นซา้ ยของชุดสาธิตการถอด-ประกอบเคร่ืองยนตด์ ีเซล 35 รูปที่ 3-22 ดา้ นขวาของชุดสาธิตการถอด-ประกอบเคร่ืองยนตด์ ีเซล 35 รูปที่ 3-23 ดา้ นหลงั ของชุดสาธิตการถอด-ประกอบเครื่องยนตด์ ีเซล 36 รูปที่ 3-24 ดา้ นขวาของชุดสาธิตการถอด-ประกอบเครื่องยนตด์ ีเซล 36 รูปที่ ก-1 แบบโครงสร้างแกนยดึ เคร่ืองยนตช์ นิดตวั ยาว 41 รูปท่ี ก-2 แบบโครงสร้างแกนยดึ เครื่องยนตช์ นิดตวั ส้ัน 42 รูปที่ ก-3 แบบโครงสร้างแกนแท่นยดึ เครื่องยนต์ 43 รูปที่ ก-4 แบบโครงสร้างฐานแท่นยดึ เครื่องยนต์ 44 ฌ

บทที่ 1 บทนา 1.1 ทม่ี าของโครงการ ในปัจจุบนั น้ียานยนต์ถูกพฒั นาอย่างต่อเนื่อง พร้อมกบั ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีที่ ทนั สมยั เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของผคู้ นในยุคปัจจุบนั ไม่ว่าจะเป็ นดา้ นการพาณิชยห์ รือ การขนส่ง และประโยชน์สูงสุดในการใช้งาน โลกปัจจุบนั น้ียานยนต์มีความจาเป็ นต่อการ ดารงชีวิตของมนุษย์ เพราะเป็ นพาหนะที่สาคญั ต่อการเดินทางและความสะดวกสบายต่างๆ ด้วยเหตุน้ีจึงทาให้เกิดปัญหาในด้านการซ่อมบารุงเนื่องจากเครื่องยนต์ถูกพฒั นาโดยมีระบบ ต่างๆและชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ท่ีมีการทางานใหม่ๆจึงเป็ นปัญหาและยากแก่การซ่อมบารุง รถยนต์ในปัจจุบนั มีการตรวจเช็คโดยใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องมือที่ทนั สมยั เนื่องจากเทคโนโลยีที่ทนั สมยั เข้ามาผสมผสานกบั การทางานของเครื่องยนต์ ท้งั น้ีการซ่อม บารุงจะตอ้ งอาศยั ผูช้ านาญการหรือศูนยบ์ ริการของเครื่องยนต์รุ่นน้ันๆ จึงจะสามารถตรวจสอบ และซ่อมบารุงได้ รวมถึงการเรียนการสอนในวิชาเครื่องยนต์ดีเซล ในด้านการฝึ กทกั ษะและ ค ว า ม รู ้ ใ น ด ้า น ก า รถ อ ด -ป ร ะ ก อ บ เ ค รื่ อ ง ย น ต์ดี เ ซ ล เ พื่อ ใ ห้เ กิ ด ค ว า ม ชา น า ญ เ พื่อ นา ไ ป ใ ช้ใ น การประกอบอาชีพ จากปัญหาและความสาคญั ที่กล่าวมาในเบ้ืองตน้ คณะผูศ้ ึกษาไดด้ าเนินการจดั ทา ชุดสาธิตการถอด-ประกอบเคร่ืองยนต์ดีเซล ข้ึนมา เพ่ือประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในวิชา เคร่ืองยนตด์ ีเซล ของนกั ศึกษา และตลอดจน ผทู้ ี่มีความสนใจไดเ้ ขา้ ใจหลกั การทางานและโครงสร้าง ส่วนประกอบอย่างถูกตอ้ ง และสามารถปฏิบตั ิฝึ กฝนการถอด-ประกอบอย่างถูกต้องตามลาดบั ข้นั ตอน 1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ 1.2.1 เพอ่ื ใหเ้ ป็นชุดสาธิตการถอด-ประกอบเคร่ืองยนตด์ ีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 1.2.2 เพือ่ ใหน้ กั ศึกษามีความรู้ความเขา้ ใจโครงสร้างเคร่ืองยนตด์ ีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 1.2.3 เพ่อื ใหน้ กั ศึกษาเขา้ ใจหลกั การทางานของเคร่ืองยนตด์ ีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 1.2.4 เพ่อื ใหน้ กั ศึกษาเพม่ิ ทกั ษะการแกป้ ัญหาและประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทางานจริง

2 1.3 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ 1.3.1 มีชุดสาธิตฝึกปฏิบตั ิงานการถอด-ประกอบเคร่ืองยนตด์ ีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 1.3.2 นกั ศึกษามีความรู้ความเขา้ ใจโครงสร้างเคร่ืองยนตด์ ีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 1.3.3 นกั ศึกษาเขา้ ใจหลกั การทางานของเครื่องยนตด์ ีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 1.4 ขอบเขตของโครงการ 1.4.1 จดั ทาชุดสาธิตการถอด-ประกอบเคร่ืองยนตด์ ีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 จานวน 1 ชุด 1.4.2 เป็นสื่อการเรียนการสอนในวชิ างานเครื่องยนตด์ ีเซล 1.4.3 ติดต้งั เครื่องยนตด์ ีเซล เขา้ กบั ชุดโครงแท่นยดึ 1.5 แผนการดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินการ ข้นั ตอนการดาเนินงาน พฤศจิกายน ธนั วาคม มกราคม กมุ ภาพนั ธ์ มีนาคม 12341234123412341234 1. กาหนดหวั ขอ้ โครงการ 2. เสนอต่อคณะกรรมการ 3. ร่างโครงการจดั ทาเสนอ ต่อสถานศึกษา 4. แตง่ ต้งั หวั หนา้ ทีมแบ่ง ความรับผดิ ชอบ 5. จดั ทาโครงการและ เก็บขอ้ มูล 6. จดั ทารูปเลม่ ฉบบั ร่าง 7. ตรวจสอบโครงการ/ รูปเล่มฉบบั ร่าง 8. จดั ทารูปเลม่ ฉบบั จริง พร้อมใหค้ ณะกรรมการ ตรวจสอบ 9. ขออนุมตั ิสอบโครงการ และพร้อมรูปเล่มฉบบั สมบูรณ์ + CD ตารางท่ี 1-1 แผนการดาเนินงานโครงการ

3 1.6 ค่าใช้จ่าย/งบประมาณ ลาดบั รายการ จานวนเงิน (บาท) หมายเหตุ 1. ชุดโครงแท่นยดึ เคร่ืองยนต์ 13,000 2. สีทาสาหรับโครงแท่นยดึ เคร่ืองยนต์ 500 ใชร้ ่วมกบั หอ้ ง ปวส. 2/3 3. น๊อตประกอบ 300 4. คา่ ถ่ายเอกสาร 150 เอกสารบางส่วน 5. ค่าเขียนแบบโครงแทน่ ยดึ 300 จดั พิมพผ์ ดิ ตอ้ ง 6. ค่าพิมพเ์ อกสารรายงานโครงการ 950 แกไ้ ขใหม่ 7. คา่ จดั เรียงรูปเล่มรายงานโครงการ 500 8. คา่ Print เอกสารรายงานโครงการ (ฉบบั ร่าง) 560 ตรวจสอบและ แกไ้ ขคาผดิ 9. ค่า Print เอกสารรายงายโครงการ (ฉบบั จริง) 610 10. คา่ เยบ็ รูปเล่มโครงการ + CD 500 11. ค่าใชจ้ ่ายอ่ืนๆ 230 17,600 รวมงบประมาณท้งั หมด ตารางที่ 1-2 งบประมาณค่าใชจ้ า่ ยของโครงการ

บทท่ี 2 ทฤษฏีและเอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง เครื่องยนต์ หมายถึง เคร่ืองจกั รหรือเคร่ืองมือกลสามารถเปลี่ยนพลงั งานความร้อนเป็ น พลังงานกล เครื่องยนต์เป็ นตน้ กาลงั ท่ีสาคญั ซ่ึงนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบนั เน่ืองจาก สามารถจดั ส่งให้กบั ส่วนต่างๆเพ่ือให้เกิดการขบั เคล่ือนหรือทางานไดจ้ ึงถือไดว้ า่ เครื่องยนต์เป็ น ส่วนหน่ึงท่ีสามารถทาประโยชน์ใหแ้ ก่มนุษยไ์ ดห้ ลายดา้ น 2.1 หลกั การทางานของเครื่องยนต์ดีเซล เคร่ืองยนตด์ ีเซลเป็ นเคร่ืองยนตส์ ันดาปภายในเช่นเดียวกบั เคร่ืองยนต์แก็สโซลีนแต่ถูก ออกแบบใหเ้ ช้ือเพลิงที่อยใู่ นกระบอกสูบเกิดการลุกไหมด้ ว้ ยความร้อนของอากาศดงั น้นั อตั ราส่วน การอดั จึงตอ้ งสูงกวา่ 15 ถึง 22 ตอ่ 1น้ามนั เช้ือเพลิงจะถูกฉีดดว้ ยหวั ฉีดใหเ้ ขา้ คลุกเคลา้ กบั อากาศที่มี อุณหภูมิสูงจนสามารถทาใหเ้ กิดการจุดระเบิดข้ึนเป็นกาลงั งานในการขบั เคลื่อนรถยนต์ โครงสร้างและชิ้นส่วนต่างๆส่วนใหญ่ยงั คงเหมือนกบั เคร่ืองยนต์แก็สโซลีนแต่จาเป็ น จะ ต้อ ง อ อ ก แ บ บ ใ ห้มี ค ว า ม แ ข็ง แ ร ง เ พ่ื อ ท น ก าร สึ ก ห ร อ ที่ เ กิ ด ข้ึ น ไ ด้อ ย่า ง ดี ห ลัก ก า ร ท า ง า น ของเคร่ืองยนต์ดีเซลในปัจจุบนั มีอยู่ 2 แบบคือ เครื่องยนตด์ ีเซล 4จงั หวะ และเคร่ืองยนต์ดีเซล 2 จงั หวะ 2.1.1 หลกั การทางานของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ เคร่ืองยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะมีจงั หวะการทางานใน 1 กลวตั รประกอบดว้ ย จงั หวะดูด จงั หวะอดั จงั หวะระเบิด จงั หวะคาย โดยการทางานครบ 1 กลวตั รการทางานเพลาขอ้ เหวี่ยงหมุน 2 รอบและเกิดการลุกไหมข้ องเช้ือ 1 คร้ัง ซ่ึงมีหลกั การทางาน 4 จงั หวะ ด้งั ต่อไปน้ี รูปท่ี 2.1 แสดงจงั หวะดูด (Intake Stroke)

5 จงั หวะดูด (Intake Stroke) ลูกสูบเคล่ือนท่ีจากตาแหน่งศูนยต์ ายบน (TDC) ลงสู่จุดศูนย์ ตายล่าง (BDC) ลิ้นไอดีเร่ิมเปิ ดใหอ้ ากาศบริสุทธ์ิจากภายนอกเขา้ มาในกระบอกสูบในขณะที่ลิ้นไอ เสียปิ ดสนิทเม่ือลูกสูบเคลื่อนท่ีลงจนถึงจุดศูนยต์ ายล่างลิ้นไอดีจึงปิ ด เป็นการสิ้นสุดจงั หวะดูด รูปท่ี 2.2 จงั หวะอดั (Compression Stroke) จงั หวะอดั (Compression Stroke)จงั หวะน้ีลูกสูบเคลื่อนท่ีจากศูนยล์ ่างข้ึนสู่ศูนยต์ ายบน ลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียปิ ดสนิทลูกสูบจะอดั อากาศเพื่อเพ่ิมแรงดนั ในห้องเผาไหม้ประมาณ 30 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร (427 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) ทาใหอ้ ุณหภูมิของอากาศภายในระบอกสูบ สูงถึงประมาณ 500 ถึง 800 องศาเซลเซียส รูปท่ี 2.3 จงั หวะระเบิดหรือจงั หวะงาน (Power Stroke) จงั หวะระเบิดหรือจงั หวะงาน (Power Stroke) ก่อนลูกสูบเคล่ือนท่ีถึงตาแหน่งศูนยต์ าย บนเล็กน้อยน้ามนั เช้ือเพลิงจะถูกฉีดเขา้ กระบอกสูบผ่านหัวฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงถูกฉีดเป็ นฝอย ละเอียดเขา้ ไปคลุกเคลา้ กบั อากาศที่ร้อนจึงเกิดการลุกไหมข้ ้ึนหรือเกิดการระเบิดอย่างรวดเร็วและ ขยายตวั เป็นแกส็ ผลกั ดนั ใหล้ ูกเคลื่อนท่ีจากศูนยต์ ายบนลงสู่ศูนยต์ ายล่าง

6 รูปที่ 2.4 จงั หวะคาย (Exhaust Stroke) จงั หวะคาย (Exhaust Stroke)ก่อนลูกสูบเคล่ือนท่ีถึงศนู ยต์ ายล่างเลก็ นอ้ ยลิ้นไอเสียเริ่มเปิ ด แต่ลิ้นไอดียงั คงปิ ดสนิทจากน้นั ลูกสูบกเ็ คลื่อนท่ีจากศนู ยต์ ายล่างข้ึนสู่ศูนยต์ ายบนเพ่ือขบั ไล่แก็สไอ เสียใหอ้ อกจากหอ้ งเผาไหมเ้ มื่อลูกสูบเคล่ือนที่ถึงศูนยต์ ายบนลิ้นไอเสียก็ปิ ด 2.1.2 หลกั การทางานของเครื่องยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะ เครื่องยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะ หมายถึง การทางานของเพลาขอ้ เหวย่ี งหมุนไปครบ 1 รอบ หรือ 360 องศา ลูกสูบเลื่อนข้ึน 1 คร้ัง เลื่อนลง 1 คร้ัง ภายในหอ้ งสูบทางานครบ 1 กลวฎั รูปท่ี 2.5 ลกั ษณะของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะ เป็ นลักษณะของเคร่ืองยนต์ดีเซล 2 จงั หวะซ่ึงมีการใช้เครื่องประจุอากาศแบบรูทส์ (Roots) ชนิด 2 โหลบ มีลิ้นไอเสีย 1 ลิ้น อยบู่ นฝาสูบ และมีช่องโดยรอบกระบอกสูบทางตอนล่าง เพื่อเป็นทางประจุอากาศเขา้ แต่ถูกควบคุมโดยลูกสูบ ซ่ึงมีหลกั การทางานดงั ต่อไปน้ี

7 รูปที่ 2.6 การทางานในจงั หวะดูด ช่วงจงั หวะดูด เมื่อลูกสูบอยู่ที่ศูนยต์ ายล่าง ช่องโดยรอบกระบอกสูบจะถูกเปิ ด เครื่อง ประจุอากาศจะอดั อากาศเขา้ กระบอกสูบ ขณะน้นั ลิ้นไอเสียจะเปิ ดให้ไอเสียออกจากกระบอกสูบ เช่นกนั จึงทาใหอ้ ากาศที่ถูกประจุเขา้ ไปใหม่ขบั ไล่ไอเสียที่ยงั ตกคา้ งอยู่ รูปที่ 2.7 การทางานในจงั หวะอดั ช่วงจงั หวะอดั เมื่อลูกสูบเลื่อนข้ึนอีกเลก็ นอ้ ยลิ้นไอเสียจะปิ ด ทาใหอ้ ากาศภายในถูกอดั ให้ มีปริมาตรเล็กลง จนลูกสูบเลื่อนถึงศูนยต์ ายบนเป็นการสิ้นสุดช่วงการอดั รูปที่ 2.8 การทางานในจงั หวะกาลงั งาน

8 ช่วงจงั หวะกาลงั เม่ือลูกสูบเลื่อนข้ึนก่อนถึงศูนยต์ ายบนประมาณ 23 องศา หัวฉีดจะฉีด น้ามนั เช้ือเพลิงเขา้ ไปในหอ้ งเผาไหม้ ฝอยละอองของน้ามนั เช้ือเพลิงจะคลุกเคลา้ กบั อากาศท่ีถูกอดั ตวั จนมี อุณหภมู ิประมาณ 550 องคาเซลเซียสจนเกิดการเผาไหมอ้ ยา่ งรวดเร็วแลว้ ผลกั ดนั ลูกสูบให้ เลื่อนลง รูปท่ี 2.9 การทางานในจงั หวะคาย ช่วงจงั หวะคาย การขยายตวั ของแก๊สท่ีเกิดจากการเผาไหมจ้ ะผลกั ดนั ลูกสูบใหเ้ ลื่อนลง ต่อไปอีกในขณะเดียวกนั ลิ้นไอเสียจะเริ่มเปิ ดเพื่อระบายไอเสียออกและเม่ือลูกสูบเลื่อนถึงศูนยต์ าย ล่างช่องประจุไอดีจะเปิ ดอีกคร้ังเพื่อเริ่มกลวฏั ใหม่ 2.1.3 การเปรียบเทียบเคร่ืองยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ กบั เครื่องยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะ เครื่องยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ เคร่ืองยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะ 1. มีขอ้ ขดั ขอ้ งมากกวา่ 1. มีขอ้ ขดั ขอ้ งนอ้ ยกวา่ 2. ขนาดเครื่องยนตใ์ หญก่ วา่ และหนกั กวา่ 2. ขนาดเคร่ืองยนตเ์ ลก็ กวา่ และเบากวา่ 3. กาลงั ที่ผลิตไดน้ อ้ ยกวา่ 3. กาลงั ที่ผลิตไดม้ ากกวา่ 4. การเผาไหมส้ มบูรณ์ 4. การเผาไหมไ้ มส่ มบูรณ์ 5. การระบายความร้อนดีกวา่ 5. การระบายความร้อนไดไ้ ม่ดี 6. ประหยดั น้ามนั เช้ือเพลิง 6. สิ้นเปลืองน้ามนั เช้ือเพลิง 7. ความเร็วรอบต่า 7. ความเร็วรอบสูง 8. อุณหภูมิเครื่องต่า 8. อุณหภมู ิเคร่ืองสูง 11. อุณหภูมิเคร่ืองต่า 11. อุณหภูมิเคร่ืองสูง 12. ใชล้ ิ้นควบคุมไอดีและไอเสีย 12. ใชล้ ูกสูบควบคุมไอดี ใชล้ ิ้นควบคุมไอเสีย 13. แรงบิดที่ไดร้ ับไมส่ ม่าเสมอ 13. แรงบิดที่ไดร้ ับสม่าเสมอ ตารางที่ 2.1 การเปรียบเทียบเครื่องยนตด์ ีเซล

9 2.2 โครงสร้างและชิ้นส่วนของเคร่ืองยนต์ดเี ซล 2.2.1 โครงสร้างของเคร่ืองยนต์ สามารถกาหนดไดจ้ ากจานวนกระบอกสูบ การจดั วางกระบอกสูบ จานวนเพลาลูกเบ้ียว ตาแหน่งของเพลาลูกเบ้ียว เคร่ืองยนต์จะทางานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพตอ้ งประกอบดว้ ยชิ้นส่วน ต่างๆท่ีอย่ใู นสภาพพร้อมใช้งาน ชิ้นส่วนแต่ละชิ้นจะมีรูปร่าง ขนาด และคุณสมบตั ิท่ีแตกต่างกนั ออกไปตามหนา้ ท่ี เพลาลูกเบยี้ ว ท่อไอดี หัวฉีด สายพานไทม่งิ หวั เผา วาล์ว ลูกสูบ ปั๊มนา้ มนั เชื้อเพลงิ เพลาข้อเหวีย่ ง ปั๊มนา้ มนั หล่อลน่ื รูปที่ 2.10 แสดงชิ้นส่วนเคร่ืองยนต์ อ่างนา้ มันเคร่ือง ฝาสูบ (cylinder head) คือ ส่วนท่ีปิ ดดา้ นบน (สาหรับเครื่องยนตส์ ูบเรียงและสูบว)ี หรือ ดา้ นนอกสุด (สาหรับเคร่ืองยนตแ์ บบสูบนอน) เพ่ือทาให้เกิดห้องเผาไหม้ (combustion chamber) ซ่ึงเป็นหอ้ งท่ีเกิดจากส่วนล่างของฝาสูบ ส่วนบนของกระบอกสูบ และส่วนบนขอ ลูกสูบ ฝาสูบจะ ถูกขนั ติดกบั เส้ือสูบ โดยใชห้ มุดเกลียวและใชป้ ะเกน็ ฝาสูบวางอยรู่ ะหวา่ งเส้ือสูบ รูปที่ 2.11 ฝาสูบ (cylinder head)

10 เส้ือสูบ (cylinder block) เป็ นส่วนท่ีทาหน้าที่รองรับและหุ้มห่อชิ้นส่วนต่าง ๆ ของ เครื่องยนต์ โดยชิ้นส่วนตา่ ง ๆของเคร่ืองยนตท์ ่ีเคล่ือนท่ีจะเคล่ือนท่ีอยภู่ ายในเส้ือสูบ รูปท่ี 2.12 เส้ือสูบ (cylinder block) ลิ้นและกลไกของลิ้น (valve and valve mechanism) ลิ้นและกลไกของลิ้นทาหนา้ ที่ ปิ ด และเปิ ดช่องไอดีและไอเสียที่จะเขา้ และออกจากกระบอกสูบ ให้เขา้ และออกตามกาหนดเวลาที่ ตอ้ งการ รูปที่ 2.13 ลิ้นและกลไกของลิ้น (valve and valve mechanism) กระบอกสูบ (cylinder) เป็ นส่วนที่ทาหน้าท่ีเป็ นตวั นาให้ลูกสูบเคล่ือนที่ข้ึนลง และส่วนบนจะทาหนา้ ที่เป็นส่วนหน่ึงของหอ้ งเผาไหมด้ ว้ ย

11 ลูกสูบและแหวน (piston and piston rings) ลูกสูบทาหนา้ ที่รับแรงท่ีเกิดจากการเผาไหม้ และถ่ายทอดแรงไปยงั ขอ้ เหวย่ี งโดยผา่ นกา้ นสูบ รวมท้งั มีร่องสาหรับใส่แหวนลูกสูบอีกดว้ ย ส่วน แหวนลูกสูบทาหนา้ ท่ีเป็นซีล (seal) กนั ก๊าซรั่วระหวา่ งลูกสูบและกระบอกสูบ ทาหนา้ ที่ถ่ายเทความ ร้อนจากลูกสูบไปยงั กระบอกสูบ และทาหน้าท่ีควบคุมการหล่อลื่นระหวา่ งลูกสูบและผนงั ของ กระบอกสูบ รูปที่ 2.14 ลูกสูบและแหวน (piston and piston rings) กา้ นสูบ (connecting rod) เป็ นส่วนที่เช่ือมระหวา่ งลูกสูบและขอ้ เหวย่ี ง ทาหนา้ ที่ในการ ถ่ายทอดกาลงั ขบั ดนั จากลูกสูบไปยงั ขอ้ เหวย่ี ง รูปท่ี 2.15 กา้ นสูบ (connecting rod) ขอ้ เหวย่ี ง (crankshaft) เป็ นชิ้นส่วนหน่ึงซ่ึงเมื่อต่อเช่ือมกบั ลูกสูบโดยใชก้ า้ นสูบแลว้ จะ เปลี่ยนการเคลื่อนที่ข้ึนลงของลูกสูบใหเ้ ป็นการหมุน

12 รูปท่ี 2.16 ขอ้ เหวย่ี ง (crankshaft) เมนแบริ่งและแบริ่งกา้ นสูบ (main and connecting rod bearing) เป็นส่วนที่ใชร้ องรับเพลา ขอ้ เหวยี่ งและกา้ นสูบ ฟลายวีล (flywheel) เป็ นส่วนที่ทาหนา้ ท่ีสะสมพลงั งานเพื่อทาใหร้ อบหมุนของเพลาขอ้ เหวยี่ งสม่าเสมอ และทาหนา้ ท่ีในการถ่ายทอดกาลงั รูปที่ 2.17 ฟลายวลี (flywheel) ชุดขบั เคล่ือนเพื่อกาหนดเวลา (timing drives) เป็ นส่วนที่ทาหนา้ ที่กาหนดเวลา การ ทางานของชิ้นส่วนต่าง ๆ ให้สอดคล้องกนั เช่น ให้ลิ้นไอดีและไอเสียปิ ดเปิ ดตามตาแหน่ง ของ ลูกสูบท่ีตอ้ งการ

13 2.3 ระบบนา้ มนั เชื้อเพลงิ 2.3.1 ระบบเช้ือเพลิงของเครื่องยนตด์ ีเซล แบ่งออกเป็ น 2 วงจรดว้ ยกนั คือ วงจรน้ามนั แรงดนั ต่าซ่ึงประกอบดว้ ยถงั น้ามนั เช้ือเพลิง กรองน้ามนั เช้ือเพลิง ป๊ัมแรงดนั ต่า ส่วนวงจรน้ามนั แรงดนั สูงประกอบดว้ ย ป๊ัมฉีดเช้ือเพลิง หวั ฉีด ท่อน้ามนั แรงดนั สูง และทอ่ น้ามนั ไหลกลบั รูปที่ 2.18 ระบบน้ามนั เช้ือเพลิงแบบแรงดนั ต่า รูปท่ี 2.19 ระบบน้ามนั เช้ือเพลิงแบบแรงดนั สูง

14 2.3.2 ส่วนประกอบระบบเช้ือเพลิง ถงั น้ามนั เช้ือเพลิง (Fuel Tank) จะถูกติดต้งั ให้อยบู่ ริเวณตอนทา้ ยของรถท้งั น้ีเพื่อป้ องกนั การเกิดเพลิงไหมถ้ งั น้ามนั เช้ือเพลิงส่วนมากทาจากแผน่ เหล็กป๊ัมข้ึนรูปภายในวาร์นิชเพื่อป้ องกนั การกดั กร่อนมีแผน่ เหล็กคนั่ ตามแนวขวางแยกเป็ นหลายห้อง ป้ องกนั น้ามนั กระฉอกและไหลไป รวมท่ีจุดเดียวกนั รูปที่ 2.20 ถงั น้ามนั เช้ือเพลิง (Fuel Tank) กรองน้ามนั เช้ือเพลิง หรือ หมอ้ ดกั น้า (Fuel Filter) ทาหนา้ ที่กรองส่ิงสกปรกและน้าออก จากน้ามนั เช้ือเพลิง มิฉะน้นั อุปกรณ์ในระบบน้ามนั เช้ือเพลิงจะเกิดการอุดตนั รูปที่ 2.21 กรองน้ามนั เช้ือเพลิง หรือ หมอ้ ดกั น้า (Fuel Filter) ป๊ัมส่งน้ามนั เช้ือเพลิงแรงดนั ต่าหรือป๊ัมมือ (Feed Pump) ทาหนา้ ท่ีดูดน้ามนั เช้ือเพลิงจาก ถงั เช้ือเพลิงและส่งผา่ นกรองเช้ือเพลิงไปยงั ปั๊มหวั ฉีด ป๊ัมมือที่ใชใ้ นระบบดีเซลมี 2 แบบคือ ปั๊มมือ สาหรับใชเ้ ช้ือเพลิงแบบจานจา่ ยและปั๊มมือสาหรับใชก้ บั ป๊ัมฉีดเช้ือเพลิงแบบแถวเรียง

15 รูปท่ี 2.22 ปั๊มส่งน้ามนั เช้ือเพลิงแรงดนั ต่าหรือปั๊มมือ (Feed Pump) หวั ฉีดน้ามนั เช้ือเพลิง (Fuel injection nozzles) เป็ นอุปกรณ์ส่วนหน่ึงของระบบน้ามนั เช้ือเพลิงจะถูกติดต้งั อยกู่ บั ฝาสูบโดยปลายของหวั ฉีดจะโผล่เขา้ ไปในห้องเผาไหม้ ซ่ึงจะทาหนา้ ที่ ฉีดเช้ือเพลิงใหเ้ ป็นฝอยละอองและตอ้ งฉีดเช้ือเพลิงอยา่ งสม่าเสมอ รูปที่ 2.23 หวั ฉีดน้ามนั เช้ือเพลิง (Fuel injection nozzles) ปั๊มฉีดน้ามนั เช้ือเพลิง (Injection Pump)ทาหนา้ ท่ีอดั น้ามนั เช้ือเพลิงให้มีกาลงั ดนั ตง่ั แต่ 3,200 ถึง 5,000 ปอนดต์ ่อตารางนิ้ว นิยมใชเ้ ป็ นชนิดป๊ัมอดั กระแทกโดยใชห้ ลกั การทางานของลูก เบ้ียวแตะลูกปั๊มการทางานเช่นน้ีจะควบคุมปริมาณของน้ามนั เช้ือเพลิงที่จะฉีดเขา้ ห้องเผาไหม้ ป๊ัม ฉีดน้ามันชนิดน้ีแบ่งตามลักษณะการทางานได้ 2แบบคือ ปั๊มฉีดน้ามนั แบบสูบเรียง และปั๊ม เช้ือเพลิงแบบจานจ่าย รูปที่ 2.24 ปั๊มฉีดน้ามนั เช้ือเพลิง (Injection Pump)

16 2.4 ระบบไอดแี ละไอเสีย สาหรับระบบไอดีทาหน้าท่ีนาเอาอากาศที่สะอาดเขา้ กระบอกสูบตามปริมาตรที่ตอ้ งการ ส่วนระบบไอเสียทาหนา้ ท่ีนาไอเสียออกจากกระบอกสูบและลดเสียงท่ีจะเกิดจากไอเสียดว้ ย รูปท่ี 2.25 ระบบไอดีและไอเสีย 2.4.1 ระบบไอดีของเคร่ืองยนตด์ ีเซล เครื่องกรองอากาศ (air cleaner) จะทาหนา้ ที่กรองฝ่ นุ ผงและสิ่งสกปรกในอากาศ ก่อนที่ จะเขา้ กระบอกสูบ สาหรับเคร่ืองยนตด์ ีเซลขนาดใหญ่ที่ใชใ้ นท่ีมีฝ่ ุนมาก นิยมใชเ้ คร่ืองกรองอากาศ ข้นั แรก (pre cleaner) ซ่ึงจะทาหนา้ ท่ีกรองฝ่ ุนผงและสิ่งสกปรกขนาดใหญ่ในอากาศก่อนท่ีจะให้ อากาศผา่ นเขา้ ไปในเครื่องกรองอากาศ ทาใหอ้ ายกุ ารใชง้ านของเครื่องกรองอากาศยนื ยาวข้ึน ท่อไอดี (intake manifold) จะทาหนา้ ท่ีนาอากาศที่ผา่ นจากเคร่ืองกรองแลว้ เขา้ สู่กระบอก สูบ ในกรณีท่ีเป็นเคร่ืองยนตด์ ีเซลแบบหลายสูบก็จะมีทอ่ แยกเขา้ แต่ละสูบ ลิ้นไอดีหรือช่องไอดี (intake valves or intake ports) ลิ้นไอดีหรือช่องไอดีกบั ลูกสูบจะทา หนา้ ท่ีเปิ ดใหอ้ ากาศจากทอ่ ไอดี เขา้ สู่กระบอกสูบตามกาหนดเวลาท่ีตอ้ งการ นอกจากอุปกรณ์ดงั กล่าวขา้ งตน้ แลว้ ระบบไอดีของเครื่องยนตด์ ีเซลอาจจะประกอบดว้ ย ซูเปอร์ชาร์จเจอร์ (supercharger) ซ่ึงเป็ นอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเพ่ิมกาลงั ของเคร่ืองยนต์โดยการ อดั อากาศเขา้ เคร่ืองยนต์ ซ่ึงจะทาใหป้ ริมาณของอากาศที่เขา้ เคร่ืองยนตส์ ามารถเขา้ ไดม้ ากกวา่ ท่ีจะดูด เขา้ เอง เป็ นผลให้ดว้ ยขนาดความจุของกระบอกสูบของเครื่องยนตเ์ ท่ากนั เคร่ืองยนตท์ ่ีติดซูเปอร์ ชาร์จเจอร์จะใหก้ าลงั มากกวา่ เครื่องยนตท์ ่ีมิไดต้ ิดซูเปอร์ชาร์จเจอร์

17 2.4.2 ส่วนประกอบระบบไอเสีย ลิ้นไอเสีย (exhaust valves) ทาหนา้ ท่ีเปิ ดใหไ้ อเสียออกจากกระบอกสูบตามกาหนดเวลา ท่อไอเสีย (exhaust manifold) จะรับไอเสียท่ีออกจากกระบอกสูบ ถา้ เป็ นเคร่ืองยนตแ์ บบ หลายสูบก็จะมีทอ่ ไปรับทุกสูบแลว้ นามารวมกนั หมอ้ พกั (muffer) ทาหน้าที่ลดเสียงที่เกิดจากการไหลของไอเสียออกจากเครื่องยนต์ นอกจากน้ีแลว้ ระบบไอเสียอาจจะประกอบดว้ ยส่วนของเทอร์โบชาร์จเจอร์ (turbocharger)คือส่วน ที่เรียกวา่ เทอร์ไบน์ (turbine) โดยไอเสียจะไหลผา่ นเขา้ ไปขบั ใบพดั เพ่ือไปหมุนเพลา ขบั เครื่องอดั อากาศ (compressor) ดา้ นระบบไอดี 2.5 ระบบหล่อลนื่ 2.5.1 หนา้ ที่ของระบบหล่อล่ืน 1. ลดความฝืดระหวา่ งชิ้นส่วนท่ีเคล่ือนไหว 2. ระบายและถ่ายเทความร้อน 3. กนั มิใหก้ ๊าชรั่วออกจากช่องระหวา่ งแหวนลูกสูบและผนงั กระบอกสูบ 4. ทาความสะอาดโดยการชะลา้ งชิ้นส่วนตา่ ง ๆ 5. ช่วยลดเสียงท่ีเกิดจากการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนต่าง ๆ รูปท่ี 2.26 ระบบหล่อล่ืน

18 2.5.2 ส่วนประกอบของระบบหล่อล่ืน ป๊ัมน้ามนั หล่อล่ืน (oil pump) ทาหนา้ ที่ดนั น้ามนั หล่อลื่นใหไ้ หลไปยงั ส่วนต่าง ๆ ของ เคร่ืองยนตท์ ี่ตอ้ งการการหล่อล่ืน หมอ้ กรองน้ามนั หล่อล่ืน (oil filter) ทาหนา้ ที่กรองสิ่งสกปรกท่ีปนอยใู่ นน้ามนั หล่อลื่นออก ลิ้นควบคุม (lubricating valves) ทาหนา้ ท่ีควบคุมความดนั ของน้ามนั หล่อล่ืนในระบบ ไม่ใหเ้ กินความดนั ที่กาหนด นอกจากอุปกรณ์ท่ีสาคญั 3 อยา่ งขา้ งตน้ แลว้ ระบบหล่อล่ืนของเคร่ืองยนตด์ ีเซลขนาด ใหญ่อาจจะมีอุปกรณ์เพิ่มเติมคือ เคร่ืองหล่อเยน็ น้ามนั หล่อลื่น (oil cooler) เพื่อใช้ในการระบาย ความร้อนออกจากน้ามนั หล่อลื่น 2.6 ระบบหล่อเยน็ 2.6.1 หนา้ ที่ของระบบหล่อเยน็ ของเครื่องยนตด์ ีเซล เพอื่ ป้ องกนั ไม่ใหเ้ คร่ืองยนตร์ ้อนจนเกินไป โดยทวั่ ไปชิ้นส่วนตา่ งๆ ของเคร่ืองยนต์ ดีเซล จะถูกออกแบบให้ทางานภายใตอ้ ุณหภูมิสูงสุดอุณหภูมิหน่ึง หากอุณหภูมิของเครื่องยนต์ร้อน จนเกินไปก็จะทาให้ชิ้นส่วนของเคร่ืองยนตบ์ างชิ้นหลอมละลาย และทาให้เคร่ืองยนตช์ ารุด ระบบ หล่อเยน็ จะทาหนา้ ท่ีนาเอาความร้อนส่วนท่ีเกินออกไปจากเครื่องยนต์ เพื่อควบคุมอุณหภูมิของตวั เคร่ืองยนตใ์ ห้อยู่ในระดบั ท่ีเหมาะสม หากเคร่ืองยนต์ร้อน เกินไป ชิ้นส่วนบางชิ้นอาจหลอมละลายได้ และหากเครื่องยนต์เยน็ เกินไปคืออุณหภูมิของตวั เคร่ืองยนตต์ ่าเกินไปกจ็ ะเป็นผลเสียต่อเคร่ืองยนตเ์ ช่นกนั คือ จะเกิดการสึกหรอมากเน่ืองจากระบบ หล่อลื่นทางานไดไ้ มเ่ ตม็ ที่ นอกจากน้ีการสิ้นเปลืองน้ามนั เช้ือเพลิงกจ็ ะสูงข้ึนดว้ ย รูปท่ี 2.27 ระบบหล่อเยน็

19 2.6.2 ระบบหล่อเยน็ ของเครื่องยนตด์ ีเซลจะแบ่งออกเป็น 2 แบบคือ ระบบหล่อเยน็ ดว้ ยอากาศ ซ่ึงจะให้อากาศไหลผ่านเคร่ืองยนต์ โดยความร้อนจาก เครื่องยนตจ์ ะถ่ายเทใหก้ บั อากาศที่ไหลผา่ นโดยตรง ระบบหล่อเยน็ ดว้ ยของเหลว ซ่ึงจะใหข้ องเหลว (โดยทวั่ ไปจะใชน้ ้า ) ไหลผา่ นช่องต่าง ๆ ท่ีจดั ทาข้ึนในตวั เคร่ืองยนต์ เพ่ือใหค้ วามร้อนจากเครื่องยนตถ์ ่ายเทใหก้ บั น้า แลว้ น้าที่ร้อนก็จะไหล ผา่ นหมอ้ น้าซ่ึงความร้อนจากน้าจะถูกถ่ายเทให้อากาศอีกทีหน่ึง หลงั จากน้นั น้าก็จะไหลกลบั เขา้ เครื่องยนตอ์ ีก 2.7 ระบบช่วยสตาร์ทของเคร่ืองยนต์ดเี ซล เมื่อสตาร์ทเคร่ืองยนตด์ ีเซลในขณะท่ีเครื่องยนต์ยงั เยน็ อยู่ อากาศท่ีถูกอดั อยูใ่ นห้องเผา ไหมใ้ นจงั หวะอดั ยงั ร้อนไม่เพียงพอที่ทาให้เช้ือเพลิงที่ฉีดเขา้ ไปในห้องเผาไหมเ้ พ่ือเกิดการจุด ระเบิดไดด้ ว้ ยตวั เองดงั น้นั เคร่ืองยนตด์ ีเซลโดยเฉพาะท่ีมีห้องเผาไหมช้ ่วยจึงจาเป็ นอยา่ งยง่ิ ที่จะตอ้ ง มีหวั เผาติดต้งั ท่ีห้องเผาไหม้ กระแสไฟที่ส่งไปยงั หวั เผาในขณะท่ีสตาร์ทเคร่ืองยนตท์ าใหอ้ ุณหภูมิ ในหอ้ งเผาไหมร้ ้อนสูงข้ึนเพยี งพอท่ีจะทาใหเ้ ช้ือเพลิงเกิดการลุกไหมเ้ ครื่องยนตจ์ ะสตาร์ทติดเร็วข้ึน ช่วยลดควนั ขาวและการน็อคของเคร่ืองยนต์ระบบหวั เผาท่ีใช้กบั เครื่องยนต์มี 2 แบบดว้ นกนั คือ ระบบหวั เผาแบบทวั่ ไปและระบบหวั เผาเร็ว 2.7.1 ประเภทของระบบช่วยสตาร์ทของเครื่องยนตด์ ีเซล ระบบหวั เผาแบบทว่ั ไป ประกอบดว้ ย หวั เผา ตวั ควบคุมหวั เผาและรีเลยห์ วั เผา รูปที่ 2.28 ระบบหวั เผาแบบทว่ั ไป

20 ระบบหวั เผาแบบเร็ว QOS (quick – on start) เป็ นระบบหวั เผาอีกแบบหน่ึงท่ีมีไทเมอร์ ควบคุมระยะเวลาการทางานของหวั เผาซ่ึงใช้เวลาประมาณ 17 วินาทีเมื่อไฟดบั หวั เผาก็พร้อมท่ีจะ สตาร์ทเครื่องยนตไ์ ดท้ นั ที รีเลยห์ วั เผา หลอดไฟเตือนหวั เผา ไทเมอร์หวั เผา สวิตซจ์ ุดระเบิด แบตเตอร์รี่ หวั เผา รูปที่ 2.29 ระบบหวั เผาแบบเร็ว QOS (quick – on start) ระบบเช้ือเพลิงของเครื่องยนตด์ ีเซลแบบคอมมอนเรลควบคุมดว้ ยอิเลก็ ทรอนิกส์ รูปท่ี 2.30 ระบบเช้ือเพลิงของเคร่ืองยนตด์ ีเซลแบบคอมมอนเรลควบคุมดว้ ยอิเลก็ ทรอนิกส์

21 2.7.2 หนา้ ที่ในการควบคุมการฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงคอมพวิ เตอร์ 1. ควบคุมปริมาณการฉีดเช้ือเพลิง 2. ควบคุมองศาการฉีดเช้ือเพลิง 3. ควบคุมรอบเดินเบา 4. ควบคุมปริมาณการฉีดขณะสตาร์ท 5. ควบคุมองศาการฉีดขณะสตาร์ท 6. ควบคุมการฉีด 2 คร้ัง 7. ควบคุมการดูดน้ามนั เช้ือเพลิง 2.8 การวเิ คราะห์ปัญหาข้อขัดข้องของเครื่องยนต์ดีเซล 2.8.1 ตารางการวเิ คราะห์ปัญหาเคร่ืองยนตด์ ีเซล ปัญหาข้อขดั ข้อง ข้นั ตอนการตรวจสอบ 1. เครื่องยนตส์ ตาร์ทไมต่ ิดหรือติดยาก  หมุนเคร่ืองยนตถ์ า้ มีความฝืดมากเกินไป อาจมีชิ้นส่วนภายในเกิดความเสียหายเช่น แหวน ลูกสูบวาลว์ เป็นตน้  ตรวจสอบการทางานของชุดควบคุมการ ฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงดว้ ยไฟฟ้ าโดยใชโ้ วลต์ มิเตอร์วดั แรงเคล่ือนไฟฟ้ า  ตรวจเครื่องหมาย(มาร์ค)ของจงั หวะการ ฉีดเช้ือเพลิงแรงดนั สูงกบั ฝาครอบไทม่ิง 2. เคร่ืองยนตร์ ้อนจดั (Overheat)  ตรวจสอบการเสียหายและปรับความตึง ของสายพานพดั ลม  ตรวจการร่ัวของน้าหล่อเยน็ ในระบบ ระบายความร้อน  ตรวจระดบั น้าในหมอ้ น้าและถงั น้าสารอง  ตรวจการอุดตนั ของหมอ้ น้า ตรวจการทางานของเทอร์โมสตตั

3. เครื่องยนตเ์ ดินเบาไมค่ งท่ี 22 4. เคร่ืองยนตม์ ีควนั ขาว 5. เคร่ืองยนตไ์ ม่ดบั  ตรวจเครื่องหมาย(มาร์ค)การฉีดเฟื องไท ม่ิงทีปั๊มฉีดเช้ือเพลิงแรงดนั สูงกบั ฝาครอบ เฟื องไทม่ิง  ตรวจวดั รอบของเครื่องยนตด์ ีเซล  ถา้ ความเร็วรอบปกติใหต้ รวจการอุดตนั หรือการร่ัวของท่อน้ามนั เช้ือเพลิงหรือ กรอง  ตรวจเครื่องหมาย(มาร์ค)ของเฟื องไทม่ิง ถา้ ไม่ตรงใหป้ รับแกไ้ ขใหม่  ตรวจการฉีดเป็นฝอยละออง การอุดตนั ของหวั ฉีดทุกสูบดว้ ยเคร่ืองทดสอบ แรงดนั น้าเช้ือเพลิง  ตรวจการอุดตนั เปล่ียนหรือทาความ สะอาดกรองอากาศ  ตรวจจงั หวะการฉีดเช้ือเพลิง ถา้ การฉีด ล่าชา้ เกินไปจะทาใหค้ วนั ขาวปริมาณมาก  ถา้ จงั หวะฉีดถูกตอ้ ง ใหว้ ดั กาลงั อดั ใน กระบอกสูบ  ตรวจระดบั น้าในหมอ้ ดกั น้าของกรอง เช้ือเพลิงถา้ มีมากใหร้ ะบายทิง้  ตรวจชุดควบคุมการทางานของป๊ัมดว้ ย ไฟฟ้ า เช่น ข้วั ต่อสายไฟ กา้ นควบคุม และ ชุดควบคุมการทางานดว้ ยไฟฟ้ า  ตรวจการคา้ งหรือติดขดั ของสายคนั เร่ง

23 6. เคร่ืองยนตไ์ มม่ ีกาลงั  ตรวจสอบคุณภาพของน้ามนั เช้ือเพลิงที่ ใช้  ตรวจท่อทางเดินน้ามนั และกรองเช้ือเพลิง วา่ อุดตนั ทอ่ หกั งอ และรั่วหรือไม่  ตรวจระดบั น้าในหมอ้ ดกั น้าถา้ มีมากให้ ระบายทิง้  ตรวจการอุดตนั ของกรองอากาศ  ตรวจวดั กาลงั อดั เคร่ืองยนต์  ปรับต้งั ระยะห่างลิ้นไอดีและลิ้นไอเสีย  ตรวจสอบแรงดนั หวั ฉีดและการเป็นฝอย ละอองของเช้ือเพลิง  ตรวจการทางานของป๊ัมมือ 7. เคร่ืองยนตม์ ีเสียงดงั  ตรวจสอบความถูกตอ้ งของจงั หวะการฉีด เช้ือเพลิงจากเครื่องหมาย(มาร์ค)ไทมิ่งกบั เรือนปั๊ม  ตรวจเสียงดงั ท่ีเกิดจากปั๊มฉีดเช้ือเพลิง  ปรับต้งั ระยะห่างของลิ้นไอดีและลิ้นไอ เสีย  ตรวจระยะแบก็ แลชของเฟื องไทม่ิง  ตรวจเสียงดงั ที่เกิดจากอลั เทอร์เนเตอร์  ตรวจเสียงดงั ท่ีเกิดจากสายพานพดั ลม ตารางที่ 2.2 การวเิ คราะห์ปัญหาเครื่องยนตด์ ีเซล

37 บทท่ี 4 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ ในการศึกษาโครงการชุดสาธิตการถอด-ประกอบเครื่องยนต์ดีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 หลงั จากทาการศึกษาและวิเคราะห์จากข้อมูลท่ีได้เก็บรวบรวมมาท้งั หมดจากการปฏิบตั ิงานน้ัน สามารถสรุปผลได้ 3 ประเดน็ หลกั ๆ คือ 1. สรุปผลโครงการ 2. ปัญหาที่พบ 3. วธิ ีการแกไ้ ขและขอ้ เสนอแนะ 4.1 สรุปผลโครงการ โครงการชุดสาธิตการถอด-ประกอบเคร่ืองยนตด์ ีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 น้ี สามารถท่ีจะให้ ความรู้แก่ผเู้ รียนและผทู้ ่ีมีความสนใจในการศึกษาเกี่ยวกบั เครื่องยนตด์ ีเซลท้งั ในขอ้ มูลของลาดบั ข้นั ตอน การถอด-ประกอบชิ้นส่วนของเคร่ืองยนต์ดีเซล การใช้เทคนิคต่างๆ ในการถอด-ประกอบเครื่องยนต์ดีเซล ตลอดจนหลกั การทางานของเครื่องยนต์ดีเซล เพื่อพฒั นาผเู้ รียนให้มีความรู้ ความเขา้ ใจและความ ชานาญเกิดทกั ษะทางการปฏิบตั ิงาน 4.2 ปัญหาทพ่ี บ 4.2.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการจดั ทาชิ้นงานไม่มีความพร้อมต่อการใชง้ าน 4.2.2 ชิ้นส่วนบางชิ้นตอ้ งมีการดดั แปลงใหไ้ ดต้ ามแบบที่กาหนด 4.2.3 การร่วมหม่คู ณะในการปฏิบตั ิงานยงั ไม่มีความพร้อมเพยี ง 4.2.4 การจดั เตรียมขอ้ มลู ทารายงายโครงการมีความล่าชา้ 4.2.5 นกั ศึกษาส่วนหน่ึงไมใ่ หค้ วามร่วมมือในการปฏิบตั ิงาน 4.3 วธิ ีแก้ไขและข้อเสนอแนะ 4.3.1 แจง้ ประเภทและจานวนเคร่ืองมือและอุปกรณ์ที่จะตอ้ งใชใ้ หก้ บั อาจารยท์ ่ีปรึกษา โครงการรับทราบล่วงหนา้ 4.3.2 จดั ซ้ือชิ้นส่วนและน๊อตยดึ ใหม้ ีขนาดถูกตอ้ งตามแบบที่กาหนด 4.3.3 ดาเนินการจดั เตรียมขอ้ มูลอยา่ งเป็นระบบจากขอ้ มลู เอกสารและอินเตอร์เน็ต

38 4.3.4 จดั ทารูปเล่มโครงการในรูปแบบไฟลข์ อ้ มลู และส่งใหอ้ าจารยท์ ่ีปรึกษาโครงการ ตรวจสอบแกไ้ ขอยา่ งตอ่ เนื่อง 4.3.5 ควรมีการกระจายความรับผดิ ชอบใหน้ กั ศึกษาทุกคนมีส่วนร่วมใหม้ ากยง่ิ ข้ึน 4.3.6 จดั ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานส่วนท่ีมีความสาคญั มากท่ีสุดมาก่อน 4.3.7 ควรขอคาแนะนาและวธิ ีแกไ้ ขปัญหาจากอาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงการมากกวา่ น้ี 4.3.8 ควรจดั ให้มีการเรียนเก่ียวกบั การจดั ทารูปแบบรายงานของโครงการ เพื่อให้ทราบ ข้นั ตอนและรูปแบบต่างๆ ในการจดั พมิ พร์ ายงาน

39 เอกสารอ้างองิ อาพล ซ่ือตรง เทคโนโลยเี ครื่องยนต์. กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พส์ ถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระ นครเหนือ , 2522 อาพล ซ่ือตรง ปฏิบัติเครื่องยนต์ 2. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพศ์ ูนยส์ ่งเสริมวชิ าการ , 2545 วรี ะศกั ด์ิ กรัยวเิ ชียร เครื่องยนต์ดเี ซล และระบบนา้ มันเชื้อเพลงิ . ซีเอด็ ยเู คชน่ั , 2542 ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ เครื่องยนต์ดีเซล. ซีเอด็ ยเู คชนั่ , บมจ , 2544

40

24 บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินงาน ในโครงการศึกษา ชุดสาธิตการถอด-ประกอบเครื่องยนตด์ ีเซล Mitsubishi รุ่น L-200 ท่ี จดั ทาข้ึนมาน้ี มีข้นั ตอนในการศึกษาโครงการดงั รายละเอียดต่อไปน้ี 3.1 การจัดทาแท่นยดึ เครื่องยนต์แก๊สดเี ซล 3.1.1 ออกแบบโครงสร้างแท่นยดึ เคร่ืองยนตด์ ีเซล 3.1.2 กาหนดวสั ดุที่จดั ทาชุดสาธิตการถอด-ประกอบเครื่องยนตด์ ีเซล 3.1.3 จดั ทาแท่นยดึ เครื่องยนตด์ ีเซล 3.1.4 การประกอบและติดต้งั โครงสร้างแท่นยดึ เคร่ืองยนตด์ ีเซล 3.1.5 ตรวจสอบความถูกตอ้ งและความแขง็ แรงของแท่นยดึ 3.1.6 ทาสีแทน่ ยดึ เครื่องยนตด์ ีเซล 3.2 การจัดเตรียมเครื่องยนต์ดเี ซล Mitsubishi รุ่น L-200 3.2.1 ตรวจสอบความครบถว้ นของชิ้นส่วนอุปกรณ์เครื่องยนตด์ ีเซล 3.2.2 ถอดแยกชิ้นส่วนและอุปกรณ์ของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 3.2.3 ลา้ งทาความสะอาดชิ้นส่วนและอุปกรณ์ของเครื่องยนตด์ ีเซล 3.2.4 ประกอบชิ้นส่วนและอุปกรณ์ของเครื่องยนตด์ ีเซล 3.3 การตดิ ต้งั เคร่ืองยนต์ดีเซล 3.3.1 กาหนดตาแหน่งการติดต้งั เคร่ืองยนตด์ ีเซล เขา้ กบั แทน่ ยดึ 3.3.2 ประกอบเครื่องยนตด์ ีเซล เขา้ กบั แท่นยดึ 3.3.3 ตรวจสอบความถูกตอ้ งในตาแหน่งการติดต้งั 3.3.4 ตรวจสอบความแขง็ แรงในการติดต้งั เครื่องยนต์ 3.3.5 ตรวจสอบความเรียบร้อยของชิ้นงาน

25 รูปที่ 3-1 การทาความสะอาดโครงแทน่ ยดึ รูปที่ 3-2 การประกอบลอ้ ของฐานโครงแท่นยดึ

26 รูปท่ี 3-3 การประกอบแกนโครงกบั ฐานแทน่ ยดึ รูปที่ 3-4 การตรวจสอบความแขง็ แรงของโครงแท่นยดึ

27 รูปท่ี 3-5 การเตรียมอุปกรณ์ทาสีโครงแท่นยดึ รูปที่ 3-6 การเตรียมสีทาโครงแทน่ ยดึ

28 รูปท่ี 3-7 การทาสีแขนยดึ เครื่องยนต์ รูปที่ 3-8 การทาสีโครงแทน่ ยดึ

29 รูปที่ 3-9 การทาสีถาดรองชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ รูปท่ี 3-10 การฉีดน้าทาความสะอาดเคร่ืองยนต์

30 รูปที่ 3-11 การลา้ งน้ายาทาความสะอาดเครื่องยนต์ รูปที่ 3-12 การเป่ าสิ่งสกปรกออกจากเคร่ืองยนต์

31 รูปที่ 3-13 การตรวจสอบชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ รูปที่ 3-14 การเคล่ือนยา้ ยเครื่องยนตก์ ่อนติดต้งั

32 รูปที่ 3-15 การติดต้งั เคร่ืองยนตเ์ ขา้ กบั โครงแท่นยดึ รูปท่ี 3-16 การจดั ตาแหน่งการติดต้งั

33 รูปท่ี 3-17 การตรวจสอบความแขง็ แรงของชิ้นงาน รูปท่ี 3-18 การประกอบถาดรองชิ้นส่วนเครื่องยนต์

34 รูปท่ี 3-19 การตรวจสอบความเรียบร้อยของชิ้นงาน รูปที่ 3-20 ดา้ นขา้ งของชุดสาธิตการถอด-ประกอบเครื่องยนตด์ ีเซล

35 รูปที่ 3-21 ดา้ นซา้ ยของชุดสาธิตการถอด-ประกอบเคร่ืองยนตด์ ีเซล รูปท่ี 3-22 ดา้ นขวาของชุดสาธิตการถอด-ประกอบเครื่องยนตด์ ีเซล