เศรษฐศาสตร์กับการดำรงชีวิต ม. 1

บทที่ 1 เป็นการเกริ่น นำถึงการบูรณาการมิติทางเศรษฐศาสตร์กับการดำเนินชีวิตที่ดี  ทำความเข้าใจความสัมพันธ์ของเศรษฐกิจระดับต่างๆ  ต่อการดำเนินชีวิตที่ดี  และการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ  ทางเศรษฐกิจที่มีต่อการดำเนินชีวิตที่ดี
บทที่ 2 เป็น การอธิบายความเป็นมนุษย์และบทบาทในสังคมเศรษฐกิจ  และการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในสังคมเศรษฐกิจ
บทที่ 3 ครอบ คลุมแนวคิดเบื้องต้นว่าด้วยเศรษฐศาสตร์  ปัญหาเศรษฐกิจขั้นพื้นฐานและความสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจ  เศรษฐศาสตร์กระแสหลักและกระแสทางเลือก
บทที่ 4 เป็น การอธิบายถึงองค์กรและกิจกรรมในแบบจำลองระบบเศรษฐกิจเบื้องต้น  ความเชื่อมโยงระหว่างองค์กร  กิจกรรมและการทำงานของระบบเศรษฐกิจเบื้องต้นในระดับชุมชนและขยายไปสู่ระดับ ประเทศ  ความเชื่อมโยงระหว่างองค์กรและกิจกรรมทางเศรษฐกิจกับการดำรงชีวิตที่ดี
บทที่ 5 กล่าวถึงรูปแบบเศรษฐกิจสำคัญในปัจจุบัน  จากเศรษฐกิจการแข่งขันไปสู่เศรษฐกิจอีกด้านหนึ่งที่เน้นความเป็นเศรษฐศาสตร์ ความร่วมมือ  รวมทั้งรูปแบบร่วมสมัย  เช่น  เศรษฐกิจพอเพียง  เป็นต้น
บทที่ 6  และ  บทที่ 7 ชี้ให้เห็นถึงเศรษฐกิจระดับต่างๆ  ทั้งในเศรษฐกิจระดับชุมชนและสังคม  และระดับครัวเรือน  ตามลำดับ  และครอบคลุมประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้อง  เช่น  การจัดการเศรษฐกิจ  การสร้างความร่วมมือ  แนวคิดพื้นฐานด้านรายได้  ค่าใช้จ่าย  การออม  และการกู้ยืมของครัวเรือน
บทที่ 8 กล่าวถึง ปัจจัย  องค์ประกอบ  เงื่อนไขต่างๆ  ที่มีความสำคัญ  ตลอดจนสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่สำคัญของสังคมไทย
บทที่ 9 เป็นการอธิบายองค์ประกอบทางธุรกิจ  การบริหารและหน้าที่ต่างๆ  ที่สำคัญในองค์การธุรกิจ  และการประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพได้
บทที่ 10 ศึกษาถึง  ความหมาย  บทบาท  ประเภท  คุณสมบัติของผู้ประกอบการ  และการจัดทำแผนธุรกิจ
บทที่ 11 ความเข้าใจในที่มา  ความหมายของจริยธรรมและธรรมาภิบาล  และบทบาทของจริยธรรมและธรรมาภิบาลในการดำเนินชีวิตที่ดี  ครอบคลุมทั้งในระดับบุคคล  ชุมชนและสังคม  ในบทสุดท้ายคือ
บทที่ 12 เป็นการยกประเด็นร่วมสมัยที่สำคัญและควรรู้ในทาง เศรษฐศาสตร์และการจัดการ  ได้แก่  โลกาภิวัตน์  การพัฒนาอย่างยั่งยืน  ผลิตภาพแรงงาน  การเพิ่มผลผลิตกับความสามารถในการแข่งขัน  มูลค่าเพิ่มและนวัตกรรม  ตลอดจนวิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของประเด็นเหล่านี้กับการดำเนินชีวิต ที่ดีของมนุษย์

top uk online casinos welcome bonus codes and promotions ukonlinecasinobonus.co.uk uk online casino welcome bonus at first deposit

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 เศรษฐศาสตรก์ ับการดำรงชวี ิต หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ือง เศรษฐศาสตรเ์ บอ้ื งต้น รายวชิ า สงั คมศึกษา(เศรษฐศาสตร์) รหสั วชิ า ส 21103 กล่มุ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 1 ช่ัวโมง ครูผู้สอน นายณรงคฤ์ ทธ์ิ ประดษิ ฐแ์ ท่น 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรยี นรู้ ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรพั ยากรในการผลิตและการบริโภค การใชท้ รัพยากรท่ีมอี ยจู่ ำกดั ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพและคุ้มคา่ รวมทัง้ เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อการดำรงชีวติ อยา่ งมดี ุลยภาพ ตัวชี้วดั ส 3.1 ม.1/1 อธบิ ายความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (จากตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนร)ู้ 1) อธิบายความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ได้ 2) อธบิ ายความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตรไ์ ด้ 3) อธิบายขอบขา่ ยและเปา้ หมายของวิชาเศรษฐศาสตรไ์ ด้ 3. สาระสำคญั เศรษฐศาสตรม์ ีความสำคัญท้ังในระดบั บุคคลและครวั เรอื น ระดับผู้ผลติ และระดบั ประเทศ ดงั นน้ั ทุกคนจึง ควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับขอบข่ายและเป้าหมายของวชิ าเศรษฐศาสตร์ 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 1) ทกั ษะการวิเคราะห์ 2) ทักษะการตีความ 3) ทกั ษะการเชือ่ มโยง 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. สาระการเรยี นรู้ 5.1 ความรู้ (Knowledge : K) - ความหมายและความสำคญั ของเศรษฐศาสตรเ์ บือ้ งตน้ 5.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process : P) - ทกั ษะการทำงานรายบุคคล/กลมุ่ 5.3 ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์(Attitude : A) - คุณลกั ษณะด้านมวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ มัน่ ในการทำงาน 6. จุดเนน้ สู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น(เลือกเฉพาะจดุ เน้นขอ้ ที่มีในแผนการจดั การเรยี นรู้ สามารถเพิ่มเติมจดุ เนน้

ตามนโยบายอื่นๆได้) 6.1 ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C  Reading (อ่านออก)  (W) Riting (เขยี นได้)  (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น)  ทกั ษะดา้ นการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem Solving)  ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)  ทักษะดา้ นความเขา้ ใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)  ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership)  ทักษะดา้ นการส่ือสาร สารสนเทศและรูเ้ ท่าทนั ส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)  ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT Literacy)  ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)  ทกั ษะการเปลยี่ นแปลง (Change) 6.2 ทกั ษะดา้ นชวี ิตและอาชีพ ของคนในศตวรรษท่ี 21  ความยดื หยุ่นและการปรบั ตัว  การรเิ ริม่ สรา้ งสรรคแ์ ละเป็นตัวของตวั เอง  ทักษะสังคมและสงั คมข้ามวฒั นธรรม  การเป็นผ้สู รา้ งหรือผผู้ ลติ (Productivity) และความรับผิดชอบเชือ่ ถือได้ (Accountability)  ภาวะผูน้ ำและความรบั ผดิ ชอบ (Responsibility) 6.3 คุณลกั ษณะของคนในศตวรรษท่ี 21  คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตวั ความเป็นผู้นำ  คุณลักษณะดา้ นการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ การชน้ี ำตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง  คณุ ลกั ษณะด้านศีลธรรม ไดแ้ ก่ ความเคารพผู้อ่นื ความซ่ือสัตย์ ความสำนึกพลเมือง 7. การบรู ณาการ(เลอื กเฉพาะขอ้ ที่สามารถบูรณาการในแผนการจดั การเรียนรู้ สามารถเพ่มิ เติมเร่ืองอ่นื ๆได้)  โครงการสถานศกึ ษาพอเพียง  โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม  อาเซยี นศกึ ษา  คณุ ธรรม คา่ นิยม 12 ประการ  อนุรักษพ์ ลังงานและสง่ิ แวดล้อม  อื่นๆ(ระบุ)..................................................................................... 8. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน/ร่องรอยแสดงความรู้) - ใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง เศรษฐศาสตรก์ ับการดำรงชีวติ 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วธิ สี อนตามรูปแบบ โมเดลซปิ ปา (CIPPA Model) นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1

ขัน้ ที่ 1 ทบทวนความรู้เดมิ คำถามกระตนุ้ ความคดิ ส่อื การเรยี นรู้ : บตั รภาพ  นกั เรียนคิดวา่ การศกึ ษาวชิ าเศรษฐศาสตรจ์ ะเปน็ ประโยชน์ต่อการดำเนนิ ชีวติ ของนกั เรียนอยา่ งไร 1. ครใู ห้นักเรียนดูภาพกิจกรรมดา้ นเศรษฐกิจกบั การดำรงชวี ิต (พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน เชน่ การซื้อขายในตลาดสด ห้างสรรพสนิ คา้ การประกอบ ดลุ ยพนิ ิจของครผู ู้สอน) อาชพี ต่างๆ ฯลฯ แล้วตอบคำถาม ดังนี้ - กิจกรรมในแตล่ ะภาพส่งผลดตี ่อเศรษฐกจิ ของประเทศ อยา่ งไร - กจิ กรรมในภาพใดมคี วามสมั พันธก์ ัน พรอ้ มทัง้ อธิบาย เหตผุ ล 2. ครูอธิบายเชอื่ มโยงใหน้ ักเรยี นเข้าใจวา่ กจิ กรรมต่างๆ ในภาพนน้ั แสดงถึงวถิ ีการดำเนินชีวติ ของมนุษย์ทางด้าน เศรษฐกิจท้ังในระดบั ครัวเรอื น ระดับผผู้ ลติ และระดับประเทศ ซงึ่ สง่ ผลต่อสภาพเศรษฐกจิ ของประเทศ ข้ันที่ 2 แสวงหาความรูใ้ หม่ สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ : 1. หนงั สือเรียน เศรษฐศาสตร์ ม.1 2. หนังสอื คน้ ควา้ เพมิ่ เติม 3. แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ 1. ครแู บ่งนกั เรยี นเปน็ กลมุ่ กลุม่ ละ 4 คน คละกันตามความ สามารถ คอื เกง่ ปานกลางคอ่ นขา้ งเก่ง ปานกลาง ค่อนข้างอ่อน และออ่ น และให้นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมมอื กัน ศกึ ษาความรพู้ น้ื ฐานเกยี่ วกับเศรษฐศาสตร์ จากหนังสือเรียน หนงั สือคน้ ควา้ เพ่มิ เติม และแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ ในหวั ข้อ ตอ่ ไปนี้ 1) ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ 2) ความสำคญั ของวชิ าเศรษฐศาสตรใ์ นระดับบคุ คลและ ครวั เรือน ระดบั ผู้ผลิต และระดบั ประเทศ 2. นักเรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคดิ ข้นั ท่ี 3 ศกึ ษาทำความเข้าใจข้อมูล/ความรูใ้ หม่ และเชื่อมโยงความรูใ้ หม่กับความร้เู ดิม ส่ือการเรยี นรู้ : 1. แบบวดั ฯ 2. ใบงานท่ี 1.1 1. สมาชกิ แตล่ ะคนร่วมกันอภปิ รายความรูท้ ่ีตนไดไ้ ปศกึ ษามาให้ สมาชกิ คนอน่ื ๆ ในกลุ่มฟงั จนมคี วามเข้าใจท่ีชัดเจน 2. สมาชิกในกลุ่มจับคู่กนั เปน็ 2 คู่ ใหแ้ ตล่ ะคู่ร่วมมือกนั ทำ ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง เศรษฐศาสตร์กบั การดำรงชีวิต โดย นำความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการศึกษาคน้ ควา้ และความรู้เดมิ มาเปน็ พื้นฐานในการทำ 3. ครูใหน้ กั เรยี นทำกจิ กรรมตามตัวชวี้ ดั : กิจกรรมที่ 1.3 จาก แบบวดั ฯ เปน็ การบา้ น

ขนั้ ที่ 4 แลกเปล่ียนความรู้ความเขา้ ใจกับกลุ่ม สือ่ การเรยี นรู้ : ใบงานท่ี 1.1 1. สมาชิกแตล่ ะคผู่ ลดั กนั อธิบายคำตอบในใบงานท่ี 1.1 ให้ สมาชิกอกี คหู่ นงึ่ ภายในกลุม่ ฟัง ถ้าในกรณีท่ีสมาชกิ มคี วาม สงสัยให้ช่วยกนั อธิบายหรือถามครูจนมคี วามเขา้ ใจที่ชดั เจน 2. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันเฉลยคำตอบในใบงานที่ 1.1 ขน้ั ที่ 5 สรปุ และจดั ระเบยี บความรู้ ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้ : — สมาชกิ ทุกคนในกลุม่ ช่วยกันสรปุ ขอบข่ายและเปา้ หมายใน การศึกษาวชิ าเศรษฐศาสตร์ แล้วเขียนเปน็ บทสรปุ โดยใช้สำนวน ของตนเอง หรือเขียนเป็นผงั มโนทศั น์ ขนั้ ท่ี 6 ปฏบิ ัตแิ ละ/หรือแสดงผลงาน สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ : — ตัวแทนกลมุ่ นำเสนอผลงานหน้าชนั้ เรียนโดยมีครเู ป็นผู้ ตรวจสอบความถกู ต้อง และเสนอแนะเพิ่มเตมิ ขั้นท่ี 7 ประยุกต์ใช้ความรู้ คำถามกระตนุ้ ความคดิ สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ : —  ถา้ ผ้นู ำของประเทศมีความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับ เศรษฐศาสตรจ์ ะสง่ ผลดตี อ่ เศรษฐกิจของประเทศ 1. ครใู หน้ ักเรยี นช่วยกันแสดงความคดิ เห็นว่า นกั เรยี นจะ อยา่ งไร สามารถนำความรเู้ กี่ยวกบั เปา้ หมายของวชิ าเศรษฐศาสตร์ ไปเป็นแนวทางการประยกุ ต์ใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์ในกิจกรรม (เข้าใจสาเหตุ ผลของปญั หา เศรษฐกิจของประเทศ ทางเศรษฐกจิ ในชีวติ ประจำวันไดอ้ ย่างไรบา้ ง โดยครูเปน็ แลว้ สามารถวิเคราะห์หาแนวทางแกไ้ ขได้ถกู ต้อง ผเู้ สรมิ เพม่ิ เตมิ เหมาะสม) 2. นักเรียนตอบคำถามกระต้นุ ความคิด 10. ส่ือการสอน 1) หนังสือเรียน เศรษฐศาสตร์ ม.1 2) แบบวดั และบนั ทึกผลการเรียนรู้ เศรษฐศาสตร์ ม.1 3) หนงั สอื ค้นควา้ เพม่ิ เติม (1) วันรักษ์ มิ่งมณีนาคนิ . (2545). เศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ สำหรบั บุคคลท่ัวไป. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. (2) จรนิ ทร์ เทศวานชิ . (2537). หลกั เศรษฐศาสตร์เบ้อื งต้น. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร.์ 4) บตั รภาพ

5) ใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง เศรษฐศาสตรก์ บั การดำรงชีวติ 11. แหล่งเรยี นรู้ในหรือนอกสถานที่ 1) หอ้ งสมดุ 2) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ - http://lpn.nfe.go.th/web_lpn8/index.htm - http://knowledge.eduzones.com/knowledge-2-10-27871.html

12. การวดั และประเมนิ ผล (ใสต่ ามความเหมาะสม) วิธีการ เครอ่ื งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ตรวจใบงานท่ี 1.1 ใบงานท่ี 1.1 (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) ประเมนิ การนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ น สงั เกตความมวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มนั ่ แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เกณฑ์ ในการทางาน ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์ 13. กิจกรรมเสนอแนะ - ใหน้ กั เรยี นบันทกึ การอ่านนอกเวลาเพ่ิมเติมในเรือ่ งทเี่ กย่ี วข้อง 14. บันทึกผลหลงั การสอน 14.1 ผลการจดั การเรยี นการสอน 1. นักเรยี นจำนวน .....................................คน ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ................... คน คิดเปน็ รอ้ ยละ .................................................. ไมผ่ า่ นจดุ ประสงค์ ................................คน คดิ เป็นร้อยละ ................................................. ได้แก่ 1. ............................................................................................................................ 2. ............................................................................................................................ นักเรยี นที่มคี วามสามารถพิเศษ/นักเรยี นพิการได้แก่ 1. ............................................................................................................................ 2. ............................................................................................................................ 2. นกั เรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจ ............................................................................................................................. ........................................... .............................................................................................................................................. .......................... 3. นักเรยี นมคี วามร้เู กดิ ทกั ษะ ............................................................................................................................. ........................................... ....................................................................................... ................................................................................. 4. นักเรียนเจตคติ คา่ นยิ ม 12 ประการ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ............................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ........................................... 14.2 ปัญหา/อปุ สรรค/แนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ...........................................

........................................................................................................................................................................ 14.3 เสนอแนะ ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ลงชือ่ ....................................................... ( นายณรงค์ฤทธิ์ ประดิษฐแ์ ทน่ ) ตำแหน่ง ครู ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ของ ......................................................แลว้ มีความคิดเหน็ ดงั นี้ 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้  ครบถ้วนและถกู ต้อง  ยงั ไม่ครบถว้ นหรอื ไมถ่ ูกตอ้ ง ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 2. ความสอดคลอ้ งของแผนการจดั การเรยี นรูก้ ับหลักสตู รสถานศึกษา  สอดคล้อง  ยังไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 3. รูปแบบของการจัดการเรยี นรู้  เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั  ยังเน้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 4. สอ่ื การเรยี นรู้  เหมาะสมกบั รูปแบบการจัดการเรียนรู้  ยงั ไม่เหมาะ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 5. การประเมินผลการเรยี นรู้  ครอบคลมุ จุดประสงค์การเรียนรู้  ยังไม่ครอบคลุมประสงค์การเรยี นรู้ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาตอ่ ไป 6. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ... ลงชอ่ื ................................................................ (นายสุเมธ หน่อแกว้ .) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนน้ำปลกี ศึกษา

ใบงานที่ 1.1 เศรษฐศาสตรก์ บั การดารงชีวิต คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี 1. วชิ าเศรษฐศาสตรม์ คี วามหมายว่าอย่างไร 2. วชิ าเศรษฐศาสตรม์ คี วามสาคญั ระดบั บคุ คลและครวั เรอื นอยา่ งไร 3. วชิ าเศรษฐศาสตรม์ คี วามสาคญั ระดบั ผผู้ ลติ อยา่ งไร 4. วชิ าเศรษฐศาสตรม์ คี วามสาคญั ระดบั ประเทศอย่างไร 5. เศรษฐศาสตรจ์ ุลภาคเป็นการศกึ ษาในเรอ่ื งใด 6. เศรษฐศาสตรม์ หภาคเป็นการศกึ ษาในเรอ่ื งใด 7. เศรษฐศาสตรจ์ ุลภาคและเศรษฐศาสตรม์ หภาค มคี วามสมั พนั ธก์ นั อย่างไร

8. การศกึ ษาเศรษฐศาสตรม์ ผี ลดตี ่อการบรหิ ารเศรษฐกจิ ของประเทศอย่างไร 9. การศกึ ษาวชิ าเศรษฐศาสตรม์ ปี ระโยชน์อย่างไร 10. เป้าหมายในการศกึ ษาวชิ าเศรษฐศาสตรค์ อื อะไร

ใบงานที่ 1.1 เศรษฐศาสตรก์ บั การดารงชีวิต คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี 1. วชิ าเศรษฐศาสตรม์ คี วามหมายวา่ อย่างไร เป็นวชิ าทศี่ กึ ษาถงึ การจดั สรรทรพั ยากรทมี่ อี ยอู่ ยา่ งจากดั เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการอนั ไมส่ ้นิ สดุ ของมนุษย์ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด หรอื เป็นวชิ าทใี่ หค้ วามสาคญั กบั การจดั สรรทรพั ยากรใหเ้ กดิ ประโยชน์ อยา่ งคมุ้ คา่ 2. วชิ าเศรษฐศาสตรม์ คี วามสาคญั ระดบั บุคคลและครวั เรอื นอยา่ งไร ช่วยใหบ้ ุคคลและครวั เรอื นจดั สรรทรพั ยากรทมี่ อี ย่อู ยา่ งจากดั นนั้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพเพอื่ ใหไ้ ดร้ บั ผลประโยชน์ สงู สุด 3. วชิ าเศรษฐศาสตรม์ คี วามสาคญั ระดบั ผผู้ ลติ อย่างไร ชว่ ยใหผ้ ผู้ ลติ ตดั สนิ ใจว่า ในการผลติ สนิ คา้ ชนิดใดชนิดหนงึ่ จะตอ้ งใชแ้ รงงาน วตั ถดุ บิ เป็นจานวนมากน้อย เท่าใด ในสดั ส่วนอยา่ งไร จงึ จะทาใหเ้ สยี ตน้ ทุนการผลติ ตา่ ทสี่ ุด และเมอื่ ผลติ สนิ คา้ แลว้ ผผู้ ลติ กต็ อ้ งตดั สนิ ใจต่อไป ว่าจะตงั้ ราคาขายสาหรบั ผบู้ รโิ ภคเท่าใด จงึ จะทาใหไ้ ดร้ บั ผลตอบแทนหรอื กาไรสงู สุด 4. วชิ าเศรษฐศาสตรม์ คี วามสาคญั ระดบั ประเทศอย่างไร ผบู้ รหิ ารประเทศนาความรทู้ างเศรษฐศาสตรม์ าชว่ ยจดั สรรทรพั ยากรใหแ้ กป่ ระชาชน เพอื่ ใหป้ ระชาชนไดร้ บั ประโยชน์สงู สดุ นอกจากนนั้ ยงั นาความรทู้ างเศรษฐศาสตรม์ าเป็นพน้ื ฐานในการตดั สนิ ใจวางแผนบรหิ ารงาน และ แกไ้ ขปัญหาเศรษฐกจิ ทปี่ ระเทศกาลงั เผชญิ อยใู่ หผ้ ่านลลุ ่วงไปไดด้ ว้ ยดี 5. เศรษฐศาสตรจ์ ลุ ภาคเป็นการศกึ ษาในเร่อื งใด เป็นการศกึ ษาถงึ พฤตกิ รรมทางเศรษฐกจิ ในสว่ นยอ่ ยระดบั บคุ คล หรอื องคก์ รธุรกจิ หน่วยใดหน่วยหนงึ่ ส่วนใหญ่เกยี่ วกบั การกาหนดราคาของสนิ คา้ และบรกิ าร หรอื ปัจจยั การผลติ 6. เศรษฐศาสตรม์ หภาคเป็นการศกึ ษาในเร่อื งใด เป็นการศกึ ษาพฤตกิ รรมทางเศรษฐกจิ ทงั้ ระบบในระดบั สว่ นรวมของประเทศ 7. เศรษฐศาสตรจ์ ลุ ภาคและเศรษฐศาสตรม์ หภาค มคี วามสมั พนั ธก์ นั อย่างไร การศกึ ษาพฤตกิ รรมของหน่วยเศรษฐกจิ ต่างๆ ในภาพรวมจาเป็นตอ้ งเขา้ ใจพฤตกิ รรมของหน่วยเศรษฐกจิ แตล่ ะหน่วยกอ่ นว่ามลี กั ษณะอยา่ งไร การศกึ ษาทงั้ สองแขนงจะช่วยใหเ้ ขา้ ใจการทางานและปัญหาทเี่ กดิ ข้นึ ใน

ระบบเศรษฐกจิ ทงั้ ระบบไดด้ ี 8. การศกึ ษาเศรษฐศาสตรม์ ผี ลดตี ่อการบรหิ ารเศรษฐกจิ ของประเทศอย่างไร ชว่ ยใหร้ ฐั บาลกาหนดนโยบายทเี่ หมาะสมกบั ปัญหาเศรษฐกจิ ตา่ งๆ รวมทงั้ การดาเนนิ นโยบายทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การบรหิ ารเศรษฐกจิ ของประเทศ 9. การศกึ ษาวชิ าเศรษฐศาสตรม์ ปี ระโยชน์อย่างไร 1) ในฐานะผบู้ รโิ ภค จะชว่ ยใหจ้ ดั สรรรายไดท้ มี่ อี ยจู่ ากดั ไปซ้อื สนิ คา้ และบรกิ ารต่างๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และเกดิ ประโยชน์มากทสี่ ุด 2) ในฐานะผผู้ ลติ หรอื ผปู้ ระกอบการ จะช่วยใหผ้ ผู้ ลติ นาไปใชต้ ดั สนิ ใจในการดาเนนิ ธรุ กจิ ว่าจะทาธรุ กจิ ใด หรอื ใช้ เทคนิคการผลติ อยา่ งไรเพอื่ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สุด 3) ในฐานะรฐั บาล จะช่วยใหเ้ ขา้ ใจสาเหตแุ ละผลของปัญหาทางเศรษฐกจิ ของประเทศ และสามารถวเิ คราะหห์ า แนวทางแกไ้ ขโดยกาหนดออกมาเป็นนโยบายทางเศรษฐกจิ ต่างๆ 10. เป้าหมายในการศกึ ษาวชิ าเศรษฐศาสตรค์ อื อะไร 1) มุ่งทาความเขา้ ใจในพฤตกิ รรมทางดา้ นเศรษฐกจิ ของมนุษย์ เช่น ศกึ ษาถงึ พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภคในการเลอื ก ซ้อื สนิ คา้ 2) เพอื่ ทาความเขา้ ใจถงึ สภาพปัญหาและผลกระทบตอ่ ชวี ติ ความเป็นอยขู่ องประชาชน 3) เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจการออกนโยบายต่างๆ ของรฐั บาลเพอื่ แกป้ ัญหาทางดา้ นเศรษฐกจิ

แบบประเมิน การนาเสนอผลงาน คาชี้แจง : ให้ ผ้สู อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ ลงในชอ่ ง ทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 รวม 32 1 เน้อื หาละเอยี ดชดั เจน 2 ความถูกตอ้ งของเน้อื หา 3 ภาษาทใ่ี ชเ้ ขา้ ใจงา่ ย 4 ประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากการนาเสนอ 5 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมีขอ้ บกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน 18 - 20 ดมี าก ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมีข้อบกพรอ่ งเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน 14 - 17 ดี ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมีขอ้ บกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน 10 - 13 พอใช้ ต่ากวา่ 10 ปรบั ปรุง

แบบสงั เกตพฤติกรรม การทางานรายบุคคล คาชี้แจง : ให้ ผสู้ อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ ลงในชอ่ ง ทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ช่ือ-สกลุ ความมวี ินัย ความมนี ้าใจ การรบั ฟัง การแสดง การตรงต่อ รวม ที่ ของผรู้ บั การ เอื้อเฟื้ อ ความคิดเหน็ ความคิดเหน็ เวลา 20 เสียสละ คะแนน ประเมิน 43214321432143214321 ลงช่อื ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ให้ 3 คะแนน 18 - 20 ดมี าก ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ 2 คะแนน 14 - 17 ดี ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครงั้ ให้ 1 คะแนน 10 - 13 พอใช้ ต่ากว่า 10 ปรบั ปรุง

แบบสงั เกตพฤติกรรม การทางานกลุ่ม ช่อื กลมุ่ ชนั้ คาชี้แจง : ให้ ผ้สู อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ ลงในช่อง ทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 รวม 32 1 การแบ่งหน้าทก่ี นั อย่างเหมาะสม 2 ความรว่ มมอื กนั ทางาน 3 การแสดงความคดิ เหน็ 4 การรบั ฟังความคดิ เหน็ 5 ความมนี ้าใจชว่ ยเหลอื กนั ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ให้ 3 คะแนน 18 - 20 ดมี าก ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ 2 คะแนน 14 - 17 ดี ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครงั้ ให้ 1 คะแนน 10 - 13 พอใช้ ต่ากวา่ 10 ปรบั ปรุง

แบบประเมิน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คาชี้แจง : ให้ ผ้สู อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ ลงในชอ่ ง ทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อนั พึงประสงคด์ า้ น 4321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเม่อื ไดย้ นิ เพลงชาติ รอ้ งเพลงชาตไิ ด้ และอธบิ าย กษตั ริย์ ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏบิ ตั ติ นตามสทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องนกั เรยี น 1.3 ใหค้ วามรว่ มมอื ร่วมใจ ในการทางานกบั สมาชกิ ในชนั้ เรยี น 1.4 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ ต่อโรงเรยี นและชมุ ชน 1.5 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทต่ี นนบั ถอื ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ของ ศาสนา 1.6 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ต์ ามทโ่ี รงเรยี น และชุมชนจดั ขน้ึ 2. ซ่ือสตั ย์ สจุ ริต 2.1 ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง และเป็นจรงิ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสงิ่ ทถ่ี กู ตอ้ ง ละอาย และเกรงกลวั ทจ่ี ะทาความผดิ ทา ตามสญั ญาทต่ี นใหไ้ วก้ บั เพอ่ื น พอ่ แมห่ รอื ผปู้ กครอง และครู 2.3 ปฏบิ ตั ติ อ่ ผอู้ ่นื ดว้ ยความซอ่ื ตรง 3. มีวินัย 3.1 ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของครอบครวั และโรงเรยี น มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่างๆ ใน ชวี ติ ประจาวนั รบั ผิดชอบ 4. ใฝ่ เรียนรู้ 4.1 แสวงหาขอ้ มลู จากแหลง่ การเรยี นรตู้ ่างๆ 4.2 มกี ารจดบนั ทกึ ความรอู้ ย่างเป็นระบบ 4.3 สรปุ ความรไู้ ดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 5.1 ใชท้ รพั ยส์ นิ ของตนเอง เช่น สงิ่ ของ เครอ่ื งใช้ ฯลฯ อย่างประหยดั คมุ้ คา่ และเกบ็ รกั ษาดแู ลอย่างดี และใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสม 5.2 ใชท้ รพั ยากรของสว่ นรวมอย่างประหยดั คมุ้ คา่ และเกบ็ รกั ษาดแู ล อย่างดี 5.3 ปฏบิ ตั ติ นและตดั สนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มเี หตผุ ล 5.4 ไม่เอาเปรยี บผอู้ ่นื และไมท่ าใหผ้ อู้ น่ื เดอื ดรอ้ น พรอ้ มใหอ้ ภยั เมอ่ื ผอู้ น่ื กระทาผดิ พลาด

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อนั พึงประสงคด์ า้ น 4321 5.5 วางแผนการเรยี น การทางานและการใชช้ วี ติ ประจาวนั บนพน้ื ฐาน ของความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร 5.6 รเู้ ท่าทนั การเปลย่ี นแปลง ทางสงั คม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรบั และปรบั ตวั อย่รู ว่ มกบั ผอู้ ่นื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ 6. มุ่งมนั ่ ในการ 6.1 มคี วามตงั้ ใจและพยายามในการทางานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ทางาน 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แทต้ ่ออปุ สรรคเพอ่ื ใหง้ านสาเรจ็ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มจี ติ สานึกในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย 7.2 เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ตั ติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 8.1 รจู้ กั ชว่ ยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครทู างาน 8.2 อาสาทางาน ช่วยคดิ ชว่ ยทา และแบ่งปันสง่ิ ของใหผ้ อู้ น่ื 8.3 รจู้ กั ดแู ล รกั ษาทรพั ยส์ มบตั แิ ละสงิ่ แวดลอ้ มของหอ้ งเรยี น โรงเรยี น ชุมชน 8.4 เขา้ ร่วมกจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรยี น ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ให้ 3 คะแนน 91 - 108 ดมี าก ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ 2 คะแนน 73 - 90 ดี ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครงั้ ให้ 1 คะแนน 54 - 72 พอใช้ ต่ากว่า 54 ปรบั ปรงุ

ชอื่ หนังสอื ราคา ชอ่ื ผู้แตง่ แบบบนั ทึกการอ่าน สำนักพิมพ์ สถานที่พิมพ์ จำนวนหน้า บาท อา่ นวันท่ี เดือน นามปากกา ปีทพ่ี ิมพ์ พ.ศ. เวลา 1. สาระสำคญั ของเร่ือง 2. วิเคราะห์ข้อคดิ /ประโยชน์ท่ไี ดจ้ ากเร่ืองทอ่ี ่าน 3. ส่ิงทส่ี ามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั 4. ข้อเสนอแนะของครู ลงชอื่ นกั เรยี น ลงช่อื ผปู้ กครอง ( )( ) ลงชอ่ื ครูผู้สอน (นายณรงค์ฤทธ์ิ ประดิษฐแ์ ท่น) เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน ผลงานมีความสมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 3 คะแนน ผลงานมขี อ้ บกพร่องเปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน ผลงานมขี อ้ บกพร่องเพยี งเล็กนอ้ ย ให้ 1 คะแนน ผลงานมขี อ้ บกพร่องมาก