ข้อสอบ สุขศึกษา ม.3 อาหารที่เหมาะสมกับวัย

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3 from teerachon

อาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่น
อาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่น
 ID: 3040872
Language: Thai
School subject: สุขศึกษา
Grade/level: M.1
Age: 13-14
Main content: อาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่น
Other contents: อาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่น

ข้อสอบ สุขศึกษา ม.3 อาหารที่เหมาะสมกับวัย
 Add to my workbooks (0)
ข้อสอบ สุขศึกษา ม.3 อาหารที่เหมาะสมกับวัย
 Download file pdf
ข้อสอบ สุขศึกษา ม.3 อาหารที่เหมาะสมกับวัย
 Embed in my website or blog
ข้อสอบ สุขศึกษา ม.3 อาหารที่เหมาะสมกับวัย
 Add to Google Classroom
ข้อสอบ สุขศึกษา ม.3 อาหารที่เหมาะสมกับวัย
 Add to Microsoft Teams
ข้อสอบ สุขศึกษา ม.3 อาหารที่เหมาะสมกับวัย
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
ข้อสอบ สุขศึกษา ม.3 อาหารที่เหมาะสมกับวัย

Amissara


ข้อสอบ สุขศึกษา ม.3 อาหารที่เหมาะสมกับวัย

What do you want to do?

ข้อสอบ สุขศึกษา ม.3 อาหารที่เหมาะสมกับวัย
ข้อสอบ สุขศึกษา ม.3 อาหารที่เหมาะสมกับวัย
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่     5   

คำชี้แจง     ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

   1.  ถ้ามื้อเช้ากินข้าวต้มแล้ว มื้อกลางวันควรกินอาหารตามข้อใด จึงจะตรงตามหลักโภชนบัญญัติ

       ก.   ก๋วยเตี๋ยว              

       ข.   สลัดผัก

       ค.   ยำผลไม้                

       ง.   ส้มตำ

   2.  เพราะเหตุใด เราจึงควรกินอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่

       ก.   ทำให้ได้รับสารอาหารครบถ้วน

       ข.   ทำให้มีหน้าตาสวยงาม

       ค.   ทำให้เลือกซื้ออาหารได้ง่าย

       ง.   ทำให้มีรูปร่างดี

   3.  ข้อใดไม่ใช่หลักโภชนบัญญัติ

       ก.   ดื่มนมให้เหมาะสมกับวัย

       ข.   กินพืชผักและผลไม้เป็นประจำ

       ค.   หลีกเลี่ยงการกินอาหารที่มีรสจัด

       ง.   กินเนื้อสัตว์ติดมันมากๆ

   4.  รายการอาหารใน 1 วัน ข้อใดเหมาะสมกับเด็กวัยเรียนมากที่สุด

       ก.   น้ำเต้าหู้ ปาท่องโก๋ ยำวุ้นเส้น

       ข.   ข้าวต้มกุ้ง ส้มตำ ข้าวหมกไก่

       ค.   โจ๊กหมูใส่ไข่ ก๋วยเตี๋ยวผัดซีอิ๊ว ข้าวแกงเขียวหวานหมู

       ง.   ข้าวไข่เจียว ข้าวขาหมู ไข่ตุ๋น

   5.  การดูแลรักษาสุขภาพที่ดี ควรปฏิบัติอย่างไร

       ก.   แปรงฟันเฉพาะตอนเช้า

       ข.   ดื่มนมเป็นประจำทุกวัน

       ค.   ดื่มน้ำน้อยๆ ฟันจะได้สวย

       ง.   ทาน้ำหอมเมื่อไม่ได้อาบน้ำ

   6.  พฤติกรรมเกี่ยวกับสุขภาพใดที่ควรปรับปรุง

       ก.   อาบน้ำวันละ 2 ครั้ง

       ข.   ไม่ออกกำลังกาย

       ค.   ตรวจสุขภาพปีละ 1 ครั้ง

       ง.   รับประทานอาหารมื้อเย็นน้อย

   7.  พฤติกรรมสุขภาพที่ดี คือพฤติกรรมในข้อใด

       ก.   ดื่มกาแฟก่อนอาหาร

       ข.   หลังรับประทานอาหารควรนอนพักผ่อน

       ค.   ออกกำลังกาย

       ง.   หยุดใช้ยาเมื่อการอักเสบหาย

   8.  นักเรียนคิดว่า พฤติกรรมใดที่ทำให้เกิดโรคกระเพาะอาหาร

       ก.   ดื่มน้ำมากๆ

       ข.   ล้างมือก่อนกินอาหาร

       ค.   แปรงฟันหลังจากตื่นนอนตอนเช้า

       ง.   กินอาหารที่มีรสเผ็ดจัด

   9.  พฤติกรรมใดต่อไปนี้ไม่ใช่โภชนบัญญัติ

       ก.   การกินอาหารครบ 5 หมู่

       ข.   การดื่มน้ำชา กาแฟ

       ค.   การดื่มนมสด

       ง.   การออกกำลังกายเป็นประจำ

10.  ข้อใดเป็นการปฏิบัติตามธงโภชนาการ

       ก.   เด็กวัยเรียนควรงดกินอาหารเช้า     

       ข.   ผู้ใหญ่ควรดื่มนมสด วันละ 1 แก้ว

       ค.   ผู้สูงอายุควรกินเนื้อสัตว์ให้มากๆ

       ง.   เด็กวัยรุ่นควรกินอาหารประเภทวิตามิน


เฉลย

    1.  ก

    2.  ก

    3.  ง  

    4.  ค

    5.  ข

    6.  ข

    7.  ค 

    8.  ง

    9.  ข 

  10.  ข

ข้อใดเป็นอาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่นมากที่สุด

ส่วนประกอบอาหารของวัยรุ่นที่สำคัญ คือ อาหารประเภทแป้งเป็นพื้นฐาน อุดมด้วยผลไม้และผัก และมีผลิตภัณฑ์โปรตีนและนมในปริมาณปานกลาง นอกจากนี้พวกเขายังสามารถรับประทานอาหารเพื่อเพิ่มพลังงานได้จากขนมขบเคี้ยวที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เช่น ถั่ว ลูกเกดหรือน้ำผลไม้ปั่นระหว่างมื้ออาหาร

อาหารประเภทใดที่เหมาะสมกับวัยผู้ใหญ่

วัยผู้ใหญ่ อาหารสำคัญของคนวัยนี้ควรเลือกอาหารที่มีเส้นใยสูง เช่น ผักและผลไม้ ข้าว/แป้งที่ไม่ผ่านกระบวนการขัดสี ได้แก่ ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลต์วีต และธัญพืชต่างๆ รับประทานอาหารที่ให้โปรตีนพอประมาณ เช่น เนื้อสัตว์ นม ไข่และถั่วต่างๆ สิ่งสำคัญที่สุด คือ การควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสมกับส่วนสูงของตยอง ผู้สูงอายุ

รายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยเรียนเป็นอย่างไร

กินอาหารแหล่งธาตุเหล็ก เช่น ตับ เลือด สัปดาห์ละ 1 – 2 วัน เป็นต้น หรือการกินเนื้อสัตว์ในปริมาณที่เพียงพอ หรือประมาณ 6 – 9 ช้อนกินข้าว โดยเฉพาะเนื้องแดงก็จะทำให้ได้รับธาตุเหล็กเพียงพอ หรือสามารถทำเมนูอาหารวัยเรียนต่าง ๆ ที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น ต้มเลือดหมู ตับหมูผัดดอกไม้กวาด ตับอบผักต้ม หรือ ตับผัดกระเทียม เป็นต้น โดย ...

กําหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุเป็นอย่างไร

กินอาหารให้หลากหลายในสัดส่วนที่เหมาะสม และหมั่นดูแลน้ำหนักตัว.
กินข้าวเป็นหลัก เน้นข้าวกล้อง ข้าวขัดสีน้อย.
กินพืชผักและผลไม้ตามฤดูกาลให้มากเป็นประจำ.
กินปลา ไข่ เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ถั่วและผลิตภัณฑ์จากถั่วเป็นประจำ.
ดื่มนมและผลิตภัณฑ์จากนมเป็นประจำ.
หลีกเลี่ยงอาหาร ไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด.