ตัวอย่างการเขียน email ภาษาไทย ธุรกิจ

ในช่วงการสมัครงานหลาย ๆ คนอาจจะได้ลองเขียนอีเมลไปเพื่อส่งเรซูเม่และแฟ้มผลงานให้บริษัทต่าง ๆ ไปแล้ว แต่จะมีซักกี่คนกันนะ ที่เขียนอีเมลภาษาอังกฤษอย่างถูกต้องเหมาะสม วันนี้เรามาดูกันว่า องค์ประกอบง่าย ๆ ที่ใช้เขียนอีเมลนั้นมีอะไรบ้าง เพราะถ้าอย่างน้อยเราพลาดไปแล้วก็จะได้แก้ไขใหม่เพื่อจะได้เขียนอีเมลธุรกิจให้ปังไปเลยค่ะ

1. Subject line หัวข้อ

เป็นส่วนประกอบที่ย่อทุกอย่างมาเพื่อบอกว่าเราเขียนอีเมลฉบับนี้ขึ้นมาเพื่ออะไร อะไรคือเป้าหมายของการสื่อสารครั้งนี้ ดูเหมือนจะเป็นอะไรทั่วไปแต่ใครจะรู้ว่ามันสำคัญมากสำหรับการส่งอีเมลเพราะผู้รับจะสามารถรู้ได้ทันทีว่าจะพูดเกี่ยวกับอะไรและควรจะทำอย่างไรกับอีเมลฉบับนี้ เช่น ‘Follow up: New Product Presentation’ การติดตามการนำเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่

2. Salutation การขึ้นต้นจดหมาย

จะอยู่ในบรรทัดแรกของอีเมล เป็นการทักทายเบา ๆ ก่อนที่จะเริ่มต้นเนื้อหา เช่น

- Dear Ms. Lopez ถึง คุณโลเปซ

- Dear Sir ถึงคุณผู้ชาย

- Dear Madam ถึงคุณผู้หญิง

- หากไม่สามารถระบุเพศได้ให้ใช้ Dear Sir or Madam

- แต่ถ้าเราไม่ทราบว่ากำลังจะส่งถึงใครเลย ให้ใช้ To Whom It May Concern

3. Body เนื้อหา

เหมือนกับการเขียนเนื้อหาจดหมายทั่วไปซึ่งจะระบุทุกอย่างที่เราต้องการจะสื่อสาร เช่น

 “Thank you for attending the new product presentation this afternoon. I’ve attached a video file of the full recording so you can share it with your team. Please let me know if you have any questions.”

ขอขอบคุณที่เข้าร่วมการนำเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่เมื่อบ่ายนี้ ฉันได้แนบไฟล์วิดีโอเต็มมาด้วยเพื่อที่คุณจะสามารถแบ่งปันกับทีมได้ และหากคุณมีคำถามให้อะไรกรุณาบอกฉันได้เลยค่ะ

4. Closing การปิด

เป็นสิ่งสุดท้ายที่คุณจะบอกก่อนการจบอีเมล โดยสรุปสั้นๆใน 1-2 ประโยคหรือจะเป็นการกล่าวซ้ำเกี่ยวเรื่องที่คุณได้พูดมาก่อนหน้านี้ 

เช่น “I look forward to speaking with you on Tuesday. Thanks again!”

ผมตั้งตารอที่จะพูดคุย (เรื่องนี้) กับคุณอีกทีในวันอังคารนี้ ขอบคุณอีกครั้งครับ

5. Signature ลงชื่อ

เป็นส่วนที่ระบุตัวตนของคุณหรือเป็นข้อมูลที่จะทำให้ผู้รับสามารถติดต่อกลับได้ เช่น ชื่อ นามสกุล ตำแหน่ง บริษัท เบอร์โทรติดต่อ โดยระบุหลังคำลงท้าย ได้แก่ Yours faithfully, Yours sincerely, Sincerely, Sincerely yours, เป็นต้น และจำไว้เสมอว่าตัวข้างหน้าจะเป็นตัวใหญ่ ตัวข้างหลังจะเป็นตัวเล็กและห้ามลืมลูกน้ำนะคะ

เช่น “Sincerely,

Billy Smith

Senior Software Engineer

GlobishAcademia ( Thailand) Co.,Ltd


เป็นไงคะ องค์ประกอบของการเขียนอีเมลไม่ยากเลย แต่ถ้าคุณอยากเขียนอีเมลให้เป๊ะปังเหมือนมืออาชีพ Globish ก็มีคอร์สเรียนที่จะช่วยให้คุณเขียนอีเมลได้ครบทุกประเภทอีเมล ไม่ว่าจะเป็นอีเมลสมัครงาน อีเมลติดต่อลูกค้า อีเมลสอบถาม การตอบรับอีเมลผู้อื่น รวมทั้งการเลือกใช้ภาษาที่เป็นทางการในการเขียนอีเมล ในคอร์ส  Business Email Writing สามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://bit.ly/3wvQyZk

ตัวอย่างการเขียน email ภาษาไทย ธุรกิจ

ตัวอย่างการเขียน email ภาษาไทย ธุรกิจ

รหัสหลักสูตร: 22640

จำนวนคนดู 19398 ครั้ง

กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม


สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)

สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 094-489-6364 / 097-474-6644
อีเมล์
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรนี้จึงได้พัฒนาขึ้นมาเพื่อให้ทีมนักสื่อสารไม่ว่าจะเป็นนักบริหาร เลขานุการ ทีมนักขาย ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ และพนักงานที่ต้องการพัฒนาทักษะการสื่อสารได้เรียนรู้ทั้งเทคนิควิธีและฝึกปฏิบัติการสื่อสารในการเข้าถึงผู้รับสารด้วยการสื่อสารทางจดหมายและอีเมล์รวมทั้งเอกสารอื่นๆ อย่างเป็นระบบ รวมทั้งเคล็ดลับอื่นๆที่จะทำให้ผู้อบรมได้เข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้ได้ด้วยตนเองเมื่อปฏิบัติงานจริง

วัตถุประสงค์

1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักการและเทคนิคการสื่อสารทางจดหมายและอีเมล์อย่างมีประสิทธิภาพ2.   

3.   E-mail เชิงทางธุรกิจ

/สัมมนา:

  1. ความรู้ทั่วไปในการเขียนจดหมาย และ เอกสารอื่นๆที่จำเป็น
  2. สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการเขียนจดหมาย และ เอกสารทางธุรกิจ
  3. ขั้นตอนการเขียนจดหมาย และ เอกสารทางธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ
  4. หลักในการเขียนจดหมายทางธุรกิจ และ เอกสารทางธุรกิจ
  5. ประเภทของจดหมายธุรกิจ
  6. โครงสร้างของจดหมาย และ เอกสารทางธุรกิจ
  7. คำวลี และ สำนวนในจดหมายธุรกิจ และและ เอกสารทางธุรกิจ
  8. เทคนิคเพิ่มเติมในการเขียนเอกสารทางธุรกิจอื่น ๆ บันทึก และ รายงานการประชุม (Memorandum)
  9. วิธีการเขียนอีเมล์ที่เกี่ยวข้องทางธุรกิจ ได้แก่ การเขียนตอบขอบคุณลูกค้า  การเขียนจดหมายตอบรับแจ้งให้ทราบ การเขียนตอบข้อสงสัย การเขียนจดหมายตอบลูกค้าอย่างไรเมื่อลูกค้าโกรธ การเขียนจดหมายแสดงความเสียใจ เป็นต้น
  10. เทคนิคอื่นๆ ในการเขียนอีเมล์ ทางธุรกิจ
  11. ข้อพึงระวังในการเขียนอีเมล์ในทางธุรกิจ
  12. สรุปคำถามและคำตอบที่ผู้เข้าสัมมนาต้องการรู้ เพื่อนำไปใช้ในงาน

ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)

สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 094-489-6364 / 097-474-6644
อีเมล์
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด