จง อธิบาย การ แบ่ง ชนชั้น ทาง สังคม ของ คน สมัย รัตนโกสินทร์ ตอน ต้น มี ชนชั้น ใด บ้าง

จง อธิบาย การ แบ่ง ชนชั้น ทาง สังคม ของ คน สมัย รัตนโกสินทร์ ตอน ต้น มี ชนชั้น ใด บ้าง

สังคมไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา แม้ว่าจะต่อเนื่องมาจากสังคมสมัยสุโขทัย แต่ก็ได้มีความเปลี่ยนแปลงแตกต่างไปจากสังคมสมัยสุโขทัยหลายด้าน ทั้งนี้ก็เพราะว่าสถาบันสูงสุดของการปกครองได้เปลี่ยนฐานะไป นั่นคือ พระมหากษัตริย์ได้เปลี่ยนฐานะจากมนุษยราชในสมัยสุโชทัยเป็นเทวราชขึ้นในสมัยอยุธยา เปลี่ยนจากฐานะความเป็น “พ่อขุน” มาเป็น “เจ้าชีวิต” ของประชาชนซึ่งเป็นผลให้ระบบและสถาบันทางการปกครองต่างๆ แตกต่างไปจากสังคมไทยสมัยสุโขทัยด้วย
สังคมอยุธยา เป็นสังคมที่เต็มไปด้วยชนชั้น นับตั้งแต่การแบ่งแยกชนชั้นอย่างเด็ดขาด ระหว่างกษัตริย์กับราษฎรแล้ว พระบรมวงศานุวงศ์ ก็มีอันดับสูงต่ำลดหลั่นกันเป็นชั้นๆ ในหมู่ราษฎร ก็มีการแบ่งชนชั้นกันเป็นชนชั้นผู้ดีกับชนชั้นไพร่ ในหมู่ข้าราชการก็มี ศักดินาเป็นตัวกำหนดความสูงต่ำของข้าราชการในชนชั้นต่างๆ ซึ่งชนชั้นต่างๆ เหล่านี้ จะก่อให้เกิดมีสิทธิในสังคมอยุธยาขึ้นแตกต่างกันด้วย
ชนชั้นสูงสุดในสมัยอยุธยาคือพระบรมวงศานุวงศ์ ส่วนข้าราชการหรือขุนนางนั้น ก็แบ่งเป็นชั้นๆ ลดหลั่นกันไปตามลักษณะหน้า ที่และความรับผิดชอบ พร้อมกับตำแหน่งหน้าที่แล้ว ราชการสมัยอยุธยายังมีศักดินาซึ่งมากน้อยตามตำแหน่งหน้าที่ ระบบศักดินานี้เป็น ระบอบของสังคมอยุธยาโดยแท้ เพราะศักดินานั้น ทุกคนต้องมีตั้งแต่ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ พระบรมวงศานุวงศ์ลงไปจนถึงข้าราชการชั้นผู้น้อย และประชาชนธรรมดา จำนวนลดหลั่นลงไป

จง อธิบาย การ แบ่ง ชนชั้น ทาง สังคม ของ คน สมัย รัตนโกสินทร์ ตอน ต้น มี ชนชั้น ใด บ้าง

ที่มาภาพ : http://konchopkid.blogspot.com/2013/

จง อธิบาย การ แบ่ง ชนชั้น ทาง สังคม ของ คน สมัย รัตนโกสินทร์ ตอน ต้น มี ชนชั้น ใด บ้าง

1. พระมหากษัตริย์ พระราชฐานะและอำนาจของพระมหากษัตริย์ ในสมัยอยุธยา
ทรงมีฐานะเป็นสมมติเทพ (ไทยได้รับแนวความคิดนี้ มาจากคติความเชื่อของศาสนาพราหมณ์
ทรงเป็นประมุขของประเทศ มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง
ทรงมีพระราชอำนาจในฐานะเป็นเจ้าชีวิตและเจ้าแผ่นดิน
ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์พระพุทธศาสนา

2. พระบรมวงศานุวงศ์ หรือเจ้านาย คือเชื้อพระวงศ์ของพระมหากษัตริย์ มีฐานะรองจากพระมหากษัตริย์ อำนาจจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับตำแหน่ง หน้าที่การงานกับความโปรดปรานของพระมหากษัตริย์ ยศของเจ้านายแบ่งได้เป็น
สกุลยศ เป็นยศที่ได้รับมาตั้งแต่เกิด สืบเชื้อสายจากพระมหากษัตริย์โดยตรง มีลำดับชั้นดังนี้ เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า
อิสริยยศ เป็นยศที่ได้รับพระราชทานจากการได้รับราชการ เช่น พระราเมศวร พระบรมราชา เป็นต้น
ยศที่ได้รับอาจมีการเลื่อนขั้นหรือลดขั้นได้แล้วแต่ความผิดที่ได้กระทำลงไปหรือความชอบ ที่ได้รับ แต่มิได้สืบทอดยศที่ได้นั้นไปถึงลูกหลาน สิทธิตามกฏหมายของเจ้านายนั้น เช่น สามารถได้รับส่วนแบ่งรายได้จากภาษีอากรของแผ่นดินจะถูกพิจารณาคดีความได้ภายใน ศาลของกรมวังเท่านั้น และจะนำไปขายเป็นทาสไม่ได้ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการสถาปนาเจ้านายให้ทรงกรมมีตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นตำแหน่ง ที่สำคัญที่สุดในตำแหน่งของเจ้านายทั้งหมดจะตั้งให้กับพระราชโอรสผู้หนึ่งผู้ใด เพื่อแสดงว่า ผู้นั้นสมควรจะได้ครองแผ่นดินเป็นกษัตริย์ต่อไป

3. ขุนนาง มีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือพระเจ้าแผ่นดิน ในการปกครองประเทศ โดยพระเจ้าแผ่นดินพระราชทานศักดินา ให้เป็นเครื่องตอบแทนอำนาจ และฐานะของขุนนาง มีดังนี้
1. ขุนนางเป็นชนชั้นที่มีอำนาจมากทั้งในด้านการปกครองและการควบคุมพลเมือง
2. ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงออกกฎหมายศักดินา จัดทำเนียบขันนาง ข้าราชการ ซึ่งประกอบด้วย ตำแหน่ง ยศ ราชทินนาม
3. ขุนนางที่มีไพร่พลมาก จะเป็นฐานแห่งกำลังและอำนาจที่สำคัญปัญหาความขัดแย้งในกลุ่มขุนนางและเจ้านายจึงเกิดขึ้นบ่อยครั้ง

จง อธิบาย การ แบ่ง ชนชั้น ทาง สังคม ของ คน สมัย รัตนโกสินทร์ ตอน ต้น มี ชนชั้น ใด บ้าง

https://www.gotoknow.org/posts/431413

จง อธิบาย การ แบ่ง ชนชั้น ทาง สังคม ของ คน สมัย รัตนโกสินทร์ ตอน ต้น มี ชนชั้น ใด บ้าง

จง อธิบาย การ แบ่ง ชนชั้น ทาง สังคม ของ คน สมัย รัตนโกสินทร์ ตอน ต้น มี ชนชั้น ใด บ้าง

        สังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น คือ ตั้งแต่ช่วงสมัยรัชกาลที่ 1-3 (พ.ศ. 2325-2394) ส่วนใหญ่ยังคง

เป็นเช่นเดียวกับสมัยอยุธยา เนื่องจากผู้นําชาติที่สร้างบ้านเมืองในสมัยรัตนโกสินทร์ คือเจ้านายและขุนนางใน

สมัยอยุธยาตอนปลาย จึงได้นํารูปแบบการปกครอง กฎหมาย เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของอยุธยามาปรับ

ใช้ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

        การจัดระเบียบสังคมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยังคงเป็นแบบอยุธยา คือ การกําหนดสิทธิและหน้าที่ ความ

รับผิดชอบของบุคคลในสังคมตามจํานวนนาที่กําหนดไว้อย่างชัดเจน เรียกว่า ศักดินา ระบบศักดินา ดังกล่าวนี้ทํา

ให้สังคมไทยแบ่งออกเป็น 2 ชนชั้น คือ

             1.ชนชั้นปกครอง ประกอบด้วย พระมหากษัตริย์ เจ้านาย และขุนนางที่มีศักดินา 400 ขึ้นไป โดยพระมหา

กษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะสูงสุดเหนือศักดินาทั้งปวง ส่วนเจ้านายคือ พระบรมวงศานุวงศ์ มีตําแหน่งลดหลั่นกันลง

มาตามพระสกุลยศและพระอิสริยยศ ดังนี้ พระสกุลยศตามลําดับคือ เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า และหม่อมเจ้า ส่วนพระ

อิสริยยศเป็นตําแหน่งที่เจ้านายจะได้เมื่อรับราชการมีความดี ความชอบ โดยได้รับพระราชทานตําแหน่งให้เป็นเจ้า

ทรงกรมเพื่อให้ช่วยปกครองบ้านเมือง รวมทั้ง การควบคุมกําลังไพร่พล ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นพระ

อิสริยยศของเจ้านายตามลําดับ คือ กรมพระยา กรมพระ กรมหลวง กรมขุน กรมหมื่น ลดหลั่นกันลงมาตามลําดับ

              ส่วนขุนนางพระมหากษัตริย์จะพระราชทานยศศักดิ์ประกอบด้วย ยศ ตําแหน่งราชทินนาม และศักดินา

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นบรรดาศักดิ์ของขุนนางตามลําดับคือ สมเด็จเจ้าพระยา เจ้าพระยา พระยา พระหลวง 

ขุนหมื่น พัน ลดหลั่นกันลงมาตามลําดับ ยศ ตําแหน่ง ราชทินนาม และศักดินาของขุนนางไทย เช่น เจ้าพระยา

จักรีศรีองครักษ์สมุหนายกอัครมหาเสนาบดี ถือศักดินา 10,000 (เจ้าพระยา คือ ยศ หรือ บรรดาศักดิ์,

สมุหนายกอัครมหาเสนาบดี คือ ตําแหน่ง ส่วนราชทินนาม คือ จักรีศรีองครักษ์)

               2.ชนชั้นใต้ปกครอง ประกอบด้วย ไพร่ ซึ่งเป็นพลเมืองไทยโดยทั่วไปเป็นชนชั้นที่มีอิสระในการ ดําเนิน

ชีวิตและเป็น   แรงงานสําคัญของบ้านเมือง มีศักดินาต่ํากว่า 400 ลงมา และทาสซึ่งเป็นชนชั้นที่ไม่มี อิสระในการ

ดําเนินชีวิต มีศักดินา 5 นอกจากนี้ยังมีกลุ่มพระสงฆ์ สามเณร และพราหมณ์ที่ทําหน้าที่ประสาน ความร่วมมือของ

ผู้คนในสังคม ได้รับการยกเว้นจากภาระการเป็นไพร่ที่ต้องผูกพันกับบ้านเมืองเสมอศักดินา 100-2,500 ตามความ

สําคัญของบรรพชิตแต่ละรูป

               ขุนนางที่มีศักดินาตั้งแต่ 400 ขึ้นไป จะมีฐานะเป็น “มูลนาย” มีบทบาทในการควบคุมกําลังคน ที่เรียก

ว่าไพร่ การควบคุมกําลังคนเป็นไปตามลําดับชั้น มูลนายและไพร่มีความสัมพันธ์กันในระบบ “อุปถัมภ์” คือ มูลนาย

จะควบคุมดูแลไพร่และให้ความช่วยเหลือไพรในสังกัดเมื่อถูกกดขี่ข่มเหงหรือ มีคดีความ ส่วนไพร่จะตอบแทนด้วย

การให้แรงงานหรือผลผลิตของตน มูลนายที่มีไพร่สังกัดมากก็จะมีผลประโยชน์มากตามไปด้วย

               การควบคุมกําลังไพร่พลถือเป็นการบริหารราชการแผ่นดินที่สําคัญยิ่งกว่าการถือครองที่ดิน เพราะคน

เป็นทรัพยากรที่สําคัญทั้งทางด้านเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ สามัญชนทั้งชาย และหญิงมีฐานะเป็น

ไพร่ ซึ่งประกอบด้วยไพร่หลวง คือ ไพร่ที่ขึ้นต่อส่วนกลางและพระมหากษัตริย์ โดยไพร่หลวงที่ไม่สามารถมารับ

ราชการได้จะส่งเงินและสิ่งของแทนการรับราชการเรียกว่า ไพร่ส่วย และไพร่สมเป็นไพรในสังกัดของเจ้านายและ

ขุนนาง ไพร่ทุกคนต้องขึ้นสังกัดมูลนาย

                  ไพร่หลวงในสมัยอยุธยาต้องถูกเกณฑ์ไปรับราชการปีละ 6 เดือน คือ รับราชการ 1 เดือน ออกมาทํามา

หากิน 1 เดือน เรียกว่า เข้าเดือนออกเดือน ในสมัยรัตนโกสินทร์การเกณฑ์แรงงานไพร่ มีการเปลี่ยนแปลงตาม

สภาพทางเศรษฐกิจ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงเห็น ความทุกข์ยากของราษฎรจึงทรง

ผ่อนผันให้ไพร่รับราชการปีละ 4 เดือน ออกมาทํามาหากิน 8 เดือน  รับราชการ  1  เดือน ทํามาหากิน 2 เดือน 

เรียกว่า เข้าเดือนออกสองเดือน ในรัชกาลที่ 2 ภาวะสงคราม เริ่มลดน้อยลง บ้านเมืองสงบเรียบร้อยขึ้น จึงทรง

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ไพร่รับราชการปีละ 3 เดือน ออกมาทํามาหากิน 9 เดือน เรียกว่า เข้าเดือนออกสามเดือน

รัชกาลที่ 3 พระองค์พระราชทาน ตราภูมิคุ้มห้าม ให้ไพร่หลวงได้รับยกเว้นเงินอากรค่าน้ํา อากรตลาด และอากร

สมพัตสร (เก็บจากจํานวน ไม้ผลยืนต้น) และเริ่มมีการเกณฑ์ลูกหมู่บางกรมมาฝึกทหาร นอกจากนี้ยังจ้างแรงงาน

ชาวจีนแทนการเกณฑ์ แรงงานไพร่ อันนําไปสู่การเปลี่ยนแปลงการควบคุมกําลังคนด้วยระบบไพร่ในเวลาต่อมา

                 สังคมในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น นอกจากชาวไทยแล้ว ยังมีผู้คนหลายชาติหลายศาสนารวมอยู่ด้วย

เช่น ชาวมอญ ชาวเขมร ชาวลาว ชาวญวน ที่มาอยู่ในไทยหลายลักษณะ ทั้งลี้ภัยทางการเมืองและ การถูกกวาดต้อน

ในฐานะเชลยสงคราม ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้จะมีฐานะเป็นไพร่เช่นเดียวกับคนไทย ส่วนคนจีนที่อพยพเข้ามาอยู่ในไทย

มีจํานวนมาก ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นชาวจีนจะเสียภาษีด้วยการผูก” หรือ ถ้าไม่มีเงินจ่ายก็จะทํางานให้ทาง

ราชการแทน นอกจากนี้ยังมีชาวตะวันตก เช่น หมอสอนศาสนา พ่อค้า ซึ่งได้เผยแพร่วิทยาการต่างๆ ให้แก่สังคม

ไทย

จง อธิบาย การ แบ่ง ชนชั้น ทาง สังคม ของ คน สมัย รัตนโกสินทร์ ตอน ต้น มี ชนชั้น ใด บ้าง

                 ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้มีคณะมิชชันนารีนิกายโปรเตสแตนต์เข้ามาเผยแผ่คริสต์ศาสนา หลาย

คณะ โดยได้นําวิทยาการความรู้ใหม่ๆ เข้ามาสู่สังคมไทย คือ การเริ่มการศึกษาแบบใหม่ การพิมพ์ กิจการ

หนังสือพิมพ์ การแพทย์และสาธารณสุข การศึกษาภาษาอังกฤษ ที่สําคัญคือ นายแพทย์คาร์ล กุสตาฟ (Car

Gustav) มิชชันนารีชาวดัตช์ และศาสตราจารย์จาคอบ ทอมลิน (Jacob Tomlin) มิชชันนารีชาวอังกฤษได้ทํา

หนังสือสอนคริสต์ศาสนาเป็นภาษาจีนเพื่อสอนให้คนจีนที่อาศัยอยู่ในไทย

                 มิชชันนารีอเมริกันคนแรกที่เข้ามาในไทย คือ ศาสตราจารย์เดวิด เอ. บีล (David A. Beale) ได้ตั้ง

ศูนย์กลางเผยแผ่ศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในเมืองไทย โดยครูสอนศาสนาเหล่านี้มีทั้งแพทย์ ครู นัก

วิทยาศาสตร์ และนักหนังสือพิมพ์ ซึ่งนอกจากสอนศาสนาแล้ว มิชชันนารีเหล่านี้ ยังช่วยรักษาโรค รวมทั้งแจกจ่าย

ยาให้ประชาชน ทําให้ชาวไทยเรียกพวกมิชชันนารีเหล่านี้ว่าหมอ เป็นส่วนใหญ่ นายแพทย์แดน บีช แบรดเลย์ (Dan

 Beach Breadley) หรือหมอบรัดเลย์ ได้นํา เครื่องพิมพ์และจัดตั้งโรงพิมพ์ขึ้น โดยพิมพ์พระราชโองการประกาศ

ห้ามสูบฝิ่นจํานวน 9,000 ฉบับ นับเป็นครั้งแรกที่ประกาศของทางราชการพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์ หมอบรัดเลย์ได้ชื่อว่า

เป็น “บิดาแห่ง การพิมพ์และหนังสือพิมพ์” ได้ริเริ่มการออกหนังสือพิมพ์แถลงข่าวรายปักษ์เป็นภาษาไทย ชื่อ

หนังสือ จดหมายเหตุ The Bangkok Recorder เมื่อ พ.ศ.2387 แห่งเมืองไทย นอกจากนี้ หมอบรัดเลย์ยังได้ ทํา

ประโยชน์ทางด้านสาธารณสุขคือ ทําการปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษได้สําเร็จ วิทยาการตะวันตก ได้รับความสนใจและ

ยอมรับจากคนในสังคมไทยโดยทั่วไป มีกลุ่มคนไทยโดยเฉพาะชนชั้นสูงพยายาม เรียนรู้วิทยาการตะวันตกให้ก้าว

หน้าและนําความรู้มาใช้ให้เป็นประโยชน์กับตนเองและสังคม

จง อธิบาย การ แบ่ง ชนชั้น ทาง สังคม ของ คน สมัย รัตนโกสินทร์ ตอน ต้น มี ชนชั้น ใด บ้าง

บาทหลวงปาลเลอกัวซ์ (Pallegoix)

                 ใน พ.ศ. 2337  คณะบาทหลวงนิกายโรมันคาทอลิกได้เข้ามาเผยแผ่คริสต์ศาสนาในเมืองไทยบาท

หลวงคาทอลิก ที่มีบทบาทสําคัญ คือ บาทหลวงปาลเลอกัวซ์ (Pallegoix) ซึ่งได้ แต่งหนังสือเกี่ยวกับเมืองไทย

ด้านต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ใน การศึกษาค้นคว้าเป็นอย่างมาก

                 แม้ว่าคนไทยส่วนใหญ่ไม่เลื่อมใสในคริสต์ศาสนา แต่คนไทยก็ยอมรับความเจริญทางด้านวิทยาการ

ตะวันตก โดยเฉพาะด้านการแพทย์สมัยใหม่ คนไทยในกลุ่มผู้นําที่เรียกว่า “กลุ่มชนชั้นนําหัวก้าวหน้า” เป็นคนรุ่น

ใหม่ที่สนใจศึกษาวิทยาการต่างๆ ของชาวตะวันตกและเห็นความสําคัญของความจําเป็นที่จะเรียนรู้ภาษาต่าง

ประเทศเพื่อการสมาคมติดต่อ กับชาวต่างชาติ มีทั้งเจ้านายและขุนนางที่สําคัญคือสมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฏ (ต่อมาคือ