โครงงาน เครื่องเตือนภัยน้ำท่วม

เคร่ืองเตือนภัยน้ำท่วม
Flood warning device

ผจู้ ัดทำ
นาย ปรุ เชษฐ์ เสนห่ ร์ ตั น์ รหสั นกั ศกึ ษา 014

รายงานการศึกษาค้นคว้าฉบับนเ้ี ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การ
จัดการอาชพี

รหสั วชิ า 30001-2001
ตามหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชนั้ สูง

สาขาวชิ า อเิ ล็กทรอนิกส์
ปีการศกึ ษา 2565

วิทยาลัยเทคนคิ สรุ าษฎร์ธานี
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กิตติกรรมประกาศ

งานนำเสนอวิชาเทคโนโลยีสานสนเทศเพ่ือการจดั การอาชีพเรือ่ งปัญหาน้ำทว่ มสำเร็จลุล่วงได้
ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างสูงยิ่งจากอาจารย์ จักรรัตน์ จักรานนท์อาจารย์ที่ปรึกษา
ประจำวิชาที่ได้กรุณาให้คำปรึกษาแนะนำและตรวจสอบแก้ไขข้อพกพร่องทุกขั้นตอน ของการจัดทำ
โครงงาน

คณะผู้จัดทำโครงงานขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงขอขอบพระคุณบิดามารดาเพื่อนนักเรียน
ตลอดจนผู้ท่เี กยี่ วขอ้ งทุกทา่ นท่ีไมไ่ ด้กลา่ วนามไว้ ณ ท่ีน้ที ่ไี ดใ้ ห้กำลังใจและมสี ว่ นช่วยเหลือให้โครงงาน
ฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดีท้ายที่สุดคณะผู้จัดทำโครงงานหวังว่าโครงงานฉบั บนี้จะเป็นประโยชน์กับ
ผ้สู นใจไมม่ ากก็นอ้ ย

ทา้ ยท่สี ุดนี้ขอขอบคุณคณะกรรมการพิจารณาทนุ อุดหนุนโครงงานทุกท่านท่ีให้การสนับสนุน
การจดั ทำ โครงงานในครัง้ นี้

ผู้ศึกษาค้นคว้า
เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2565

ชื่อผลงาน : เคร่ืองเตือนภัยน้ำทว่ ม
ชอ่ื ผู้ศึกษาค้นคว้า : นายปรุ เชษฐ์ เสนห่ ์รตั น์
อาจารย์ท่ปี รึกษา : นายจักรรัตน์ จักรานนท์
สาขาวชิ า : ช่างอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ปีการศึกษา : 2565

บทคัดยอ่

การพัฒนาระบบจำลองเตือนภัยน้ำท่วมมีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและทดสอบ
ประสิทธิภาพการทำงานของระบบจำลองเตือนภัยน้ำท่วมสำหรับชมุ ชนโดยวงจรควบคุมจะรับอินพุต
มาจากวงจรเซ็นเซอรซ์ ึ่งมคี ุณสมบตั ิในการวัดอัตราการไหลของนำ้ และวัด ปริมาณของน้ำจากนั้นจะทำ
การประมวลผลโดยการทำงานของระบบจำลองเตือนภัยน้ำท่วมสำหรับชุมชนนี้จะประกอบกับทั้ง
ภาคส่งและภาครับซง่ึ วงจรควบคุมจะใชไ้ มโครคอนโทรลเลอร์ เปน็ ตวั ประมวลผล

ครั้งการทำงานของระบบจำลองเตือนภัยน้ำท่วมสำหรับชุมชนนั้นเซ็นเซอร์เป็นตัวรับข้อมูล
ผ่านการวัดระดับการไหลของน้ำที่มีอัตราความเร็วในการไหลของน้ำโดยข้อมูลที่รับเข้าจะถูกส่งไปยัง
ไม โครคอนโทรลเลอร์เพื่อทำการประมวลผลซึ่งผู้วิจัยได้เขียนโปรแกรมขึ้นมาสำหรับใช้ทดสอบการ
ทํางานของเซ็นเซอร์เมื่อระบบได้ทําการทดสอบเงื่อนไขแล้วเป็นจริงระบบก็จะแสดงสถานะต่างๆ
ออกมาซึ่งได้กำหนดสถานะการแสดงผล ไว้ 3 สถานะด้วยกันคือสถานะที่ 1 จะแสดงไฟสีแดงพร้อม
เสียงแสดงว่าให้ราษฎรอพยพหรือย้ายไปอยู่ในที่ที่ปลอดภัยสถานะที่ 2 จะแสดงไฟสีเหลืองนั่นจะ
แสดงวา่ ให้ราษฎรเตรียมพร้อมสถานะที่ 3 จะแสดงไฟ สเี ขียวมันจะแสดงว่าให้ราษฎรเฝา้ ระวัง

ผลการออกแบบและสร้างระบบจำลองเตือนภัยน้ำท่วมสำหรับชุมชนนีจากผลการทดสอบ
ประสิทธิภาพการทำงานปรากฏว่าระบบจำลองเตือนภัยน้ำท่วมสำหรับชุมชนสามารถแสดง
สถานการณ์แสดงของไฟและเสยี งเป็นไปตามท่ีไดก้ ำหนดไวไ้ ด้ถูกตอ้ งและน่าเชอ่ื ถือ

คำสำคัญ: การพฒั นา, ระบบ, เตอื นภัยน้ำท่วม

Project Title : Flood warning device
Name : Purachet Sanerat
Project Advisor : Chakrarat Chakranon
Major Field : Industrial electronics
Academic Year : 2022

Abstract

The development of a flood warning simulation system aims to design and test
the performance of a flood warning simulation system for a community where the
control circuit takes input from a sensor circuit which has features to measure water
flow rate and measure. The amount of water is then processed by the operation of
this community flood warning simulation system with both the transmission and the
receiver, which is controlled by a microcontroller. as a processor

When the community flood warning simulation system works, the sensor
receives the data through measuring the water flow level with the water flow rate.
Microcontroller for processing, which the researcher has written a program to test the
operation of the sensor. When the system has tested the conditions and is true, the
system will show various states that determine the display status 3 statuses together
is that the 1st state will show a red light with a sound indicating that the people
evacuate or move to a safe place, the 2nd state will show a yellow light that will show
the people are ready, the 3rd status will show the colored light Green it will show that
the people watch out

The results of the design and construction of a flood warning simulator for this
community Based on performance tests, it appears that the community flood warning
system can accurately reflect the specified situation of lights and sounds, and reliable.

Keywords: Development, Systems, Flood Warning

สารบัญ

หน้า
กิตตกิ รรมประกาศ.................................................................................................................. ข
บทคัดย่อภาษาไทย................................................................................................................. ค
บทคัดยอ่ ภาษาอังกฤษ............................................................................................................ ง
สารบัญ .................................................................................................................................. จ
สารบัญตาราง ........................................................................................................................ ช
สารบญั ภาพ ........................................................................................................................... ซ
บทที่ 1 บทนำ ........................................................................................................................ 1

1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา ....................................................................2
1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษาค้นควา้ ............................................................................2
1.3 สมมติฐานของการศกึ ษาคน้ ควา้ ................................................................................2
1.4 กรอบแนวคิดของการศึกษาค้นคว้า............................................................................2
1.5 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ...................................................................................2
1.6 ขอ้ ตกลงเบือ้ งตน้ .......................................................................................................2
1.7 นิยามศัพท์เฉพาะ ......................................................................................................2
1.8 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ ........................................................................................2
บทท่ี 2 เอกสารและงานศกึ ษาค้นคว้าท่เี ก่ียวข้อง.................................................................... 3
2.1 เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง.....................................................................................................3
2.2 งานศกึ ษาคน้ คว้าทเ่ี กี่ยวข้อง......................................................................................8
บทที่ 3 วิธดี ำเนินการศึกษาค้นควา้ ........................................................................................ 10
3.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง........................................................................................10
3.2 การสร้างเครืองมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย..............................................................................10
3.3 การสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ......................................................11
3.4 การสรา้ งแบบประเมนิ ความพึงพอใจ.........................................................................11
3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล...............................................................................................13
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล................................................................................................ 14
4.1 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวจิ ยั ...............................................................14
4.2 ผลการวิจยั ................................................................................................................18

สารบัญ (ตอ่ )

หน้า
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ....................................................................... 19

5.1 สรุปผลการทำโครงงาน..............................................................................................19
5.2 อภิปรายผลการวิจยั ...................................................................................................19
5.3 ข้อเสนอแนะในการวิจัย.............................................................................................19
บรรณานกุ รม.......................................................................................................................... 20

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา้

4.1 สถานภาพท่วั ไป ประเมินความพงึ พอใจ...................................................................14

4.2 ความพึงพอใจ / ไมพ่ ึงพอใจต่อการให้บริการ...........................................................14

4.3 ตารางค่าเฉล่ยี (x̅) และค่าเบ่ยี งแบนมาตรฐาน (S.D.) ระดับความคิดเห็นของ

ผู้เชยี่ วชาญด้านคุณภาพของเครือ่ งเตือนภัยนำ้ ท่วม ...............................................15

4.4 ตารางค่าเฉล่ีย (x̅) และค่าเบ่ียงแบนมาตรฐาน (S.D.) ระดับความคิดเหน็ ของการใช้งาน

ของโครงงานคุณภาพของเครื่องเตือนภัยน้ำท่วม ...................................................16

4.5 ตารางค่าเฉลีย่ (x̅) และค่าเบีย่ งแบนมาตรฐาน (S.D.) ระดบั ความคดิ เหน็ ของกาทำงาน

ของระบบเครื่องเตือนภัยน้ำท่วมของเครอื่ งเตอื นภยั น้ำทว่ ม ..................................17

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หน้า
2.1 ไฟสญั ญาณเตือนภัย.................................................................................................3
2.2 ลำโพงเตือนภยั ........................................................................................................4
2.3 แหล่งจา่ ยไฟ ............................................................................................................5
2.4 Arduino Uno R3...................................................................................................5
2.5 การใช้งานพอร์ต Digital I/O ...................................................................................6
2.6 ท่อพีวซี สี ีฟ้า.............................................................................................................7
2.7 Rain Water Detection Sensor Module.............................................................7
4.1 ระดบั ความคดิ เห็นของผู้เชย่ี วชาญดา้ นคณุ ภาพของเคร่ืองเตือนภยั น้ำท่วม ..............15
4.2 ระดบั ความคดิ เหน็ ของการใชง้ านของโครงงานคุณภาพของเคร่ืองเตือนภยั น้ำท่วม ..16
4.3 ระดับความคิดเหน็ การทำงานของระบบเครือ่ งเตอื นภัยน้ำทว่ มของเครื่องเตือนภัย
นำ้ ท่วม.....................................................................................................................17

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา

“อุทกภัย” ถือเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติอีกภัยหนึ่งที่ก่อเกิดปัญหาในหลายๆ ด้าน ถ้า หาก
ประชาชน ไม่สามารถ อพยพเคล่ือนย้ายได้ทันก่อนเกดิ ภาวะน้ำท่วมฉบั พลัน กอ่ ใหเ้ กดิ ความสูญเสียที่
ตามมาอีกมากมาย เนื่องจาก ด้วยภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นภายในระยะเวลาสั้นๆ และรวดเร็วซ่ึง
สาเหตุมา จากการสะสมหรือ รวมตัวของน้ำท่ีมอี ยู่เดมิ ให้เพิ่มขึ้นอยา่ งรวดเร็วบางครั้งอาจเกิดร่วมกับ
ภาวะดินโคลน ถล่มจากภูเขาอีกด้วย ปัญหาอุทกภัยหรือน้ำท่วมนั้น ส่งผลกระทบต่อประเทศชาติใน
หลายๆ ด้านดังท่ี ทราบกนั มาแล้วว่าหากเกิด

ปัญหาอุทกภัยแล้วอาจจะส่งผลกระทบถึงภาวะการขาดแคลนข้าวของ เครื่องใช้ทั้งด้าน
อุปโภคและบริโภค ซึ่ง เป็นปัจจยั หลักทจ่ี ําเป็นต่อการดำรงชวี ติ ภาวะเหลา่ นีเ้ กิดจาก ปัญหาท่ียากต่อ
การแก้ปัญหาที่ยากต่อการแก้ไข ผู้จัดทําเล็งเห็นถึงความสำคญั จึงได้คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ “เครื่องเตือน
ภัยน้ำทว่ ม” ขึ้นมา หากผ้ปู ระสบ

อุทกภยั ทราบเหตุการณ์การเกิดอทุ กภัยก่อนลว่ งหนา้ แลว้ อาจมโี อกาสท่ีจะอพยพและได้รับ
ผลกระทบน้อยลง จากภาวะเหตุการณด์ ังกลา่ ว เพ่อื เป็นการชว่ ยบรรเทา ผลกระทบท่ตี ามมาหลงั การ
เกิดอุทกภยั หรอื ถอื เปน็ การ ตัดไฟต้งั แตต่ ้นลม ซ่งึ สามารถลดความสูญเสยี ได้ อยา่ งแนน่ อน[9]

1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการศึกษาคน้ ควา้

1.2.1 เพ่อื สรา้ งระบบแจง้ เตือนความปลอดภัยภายในบ้านผ่านแอปพลิเคชนั
1.2.2 เพื่อศึกษาการทํางานของระบบไมโครคอนโทรเลอร์
1.2.3 เพื่อศึกษาพฒั นาแอปพลิเคชนั บนระบบปฏบิ ตั กิ ารแอนดรอยด์

1.3 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า

1.3.1 เครื่องเตือนภยั น้ำทว่ มสามารถลดอตั ราเสีย่ งท่ีอาจจะก่อใหเ้ กิดความเสียหายได้
1.3.2 เครือ่ งเตือนภยั สามารถใชง้ านได้จรงิ
1.3.3 เครอ่ื งเตือนภัยสามารถคาํ นวณระดบั น้ำได้

2

1.4 กรอบแนวคิดของการศึกษาคน้ ควา้

1.4.1 ประดิษฐ์และศึกษาการใช้เครื่องเตอื นภยั น้ำท่วมที่พัฒนาขึน้ ใหม่ แล้วนํามาทดสอบใช้
กบั แหล่งในชมุ ชนของตัวเอง โดยผลที่ไดจ้ ะเผยแพรใ่ หก้ ับนกั เรยี นในชมุ ชนในเบื้องต้น เพอ่ื ให้นักเรยี น
ไดน้ ําไป เผยแพร่ตอ่ กบั ผู้ปกครองที่บ้านและชุมชนทอี่ าศัยอยู่บรเิ วณริมน้ำในขัน้ ตอ่ ไป

1.5 ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ คว้า

1.5.1 สามารถเตอื นภัยภายในบ้านผ่านแอปพลเิ คชันบนโทรศพั ท์เคลอื่ นท่ี
1.5.2 สามารถแจง้ เตือนบนหน้าจอโทรศัพทเ์ คล่ือนท่ี
1.5.3 สามารถตรวจจบั น้ำ ตรวจจับความเคลอ่ื นไหว
1.5.4 ตัวตรวจจับสามารถเชอ่ื มต่อแบบไร้สาย

1.6 ขอ้ ตกลงเบอ้ื งตน้

1.6.1 คกึ ษาโครงงาน
1.6.2 ค้นควา้ หาข้อมูล
1.6.3 รวมรวมข้อมลู
1.6.4 สรุปขอ้ มูลท้งั หมด
1.6.5 นําเสนอโครงงาน

1.7 นยิ ามศัพท์เฉพาะ

1.7.1 เซ็นเซอร์ คือ ตวั แปลงค่าหรอื ปริมาณทางฟสิ กิ ส์ใหเ้ ป็นค่าทางกลหรือทางไฟฟ้า
1.7.2 NodeMCU คอื คือ บอร์ดคล้าย Arduino ที่สามารถเชอ่ื มต่อกับ WiFi ได้
1.7.3 พร้อมอปุ กรณอ์ ํานวยความสะดวกต่างๆ เช่น พอร์ต micro USB สําหรบั จ่ายไฟ
อปั โหลด

1.8 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ ไดร้ ับ

1.8.1 ได้เครื่องมืออปุ กรณใ์ นการช่วยแจง้ เตือนภัยนำ้ ทว่ ม
1.8.2 สามารถลดอตั ราเสยี่ งที่เกดิ จากอทุ กภัย
1.8.3 สามารถรบั มือกับภยั นำ้ ท่วมได้ทันเวลาก่อนทจ่ี ะได้รบั อันตาราย
1.8.4 มเี ทคโนโลยี IOT แจ้งเตอื นผ่าน application line

บทที่ 2
เอกสารและงานศกึ ษาค้นควา้ ที่เก่ยี วข้อง

2.1 เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง

ลักษณะการเตือนภัย เมื่อการตรวจวัดปริมาณน้ำฝนและอุปกรณ์อื่น ๆ และส่งข้อมูลผ่าน
ระบบสื่อสารต่าง ๆ (GSM, GPRS, ระบบดาวเทียม) มายังส่วนกลาง เพื่อทำการประมวลผลด้วย
model ทางอุทกวทิ ยา และสง่ สัญญาณการ เตือนภัยไปยังสถานีตามหมูบ่ ้านเส่ยี งภัยโดยมเี กณฑ์การ
เตือนภัยใน 3 ระดับ คือ

ระดับท่ี 1 สญั ญาณเสยี งและแสงสีเขยี ว ให้ราษฎรเฝา้ ระวงั
ระดบั ท่ี 2 สญั ญาณเสียงและแสงสีเหลือง ให้ราษฎรเตรียมพร้อม
ระดับที่ 3สัญญาณเสียงและแสงสีแดงให้ราษฎรอพยพหรือย้ายไปอยู่ในที่ที่ปลอดภัยโดย
การศึกษาจะมีการจำลองแบบเพือ่ กำหนดระดับและตำแหนง่ ของผลกระทบหรือบ้านเรือนท่ี จะได้รับ
ผลกระทบหากมีปรมิ าณน้ำฝนถงึ จดุ วิกฤต[9]

ภาพท่ี 2.1 ไฟสัญญาณเตือนภยั ทม่ี า https://www.allnewstep.com/product/3050[6]

4

ภาพท่ี 2.2 ลำโพงเตือนภัย ที่มา https://thai.alibaba.com/product-detail/high-power-
alarm-speaker-best-for-439651724.html[7]

แหลง่ กำเนิดเสียง (Sound Source ทใี่ ชง้ านในระบบเสยี งแบง่ ออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1)
แหล่งกำเนิดเสียงที่เป็นสัญญาณไฟฟ้า (Electrical Sound Source, ESS) ได้แก่ เครื่องเล่นและ
บันทึกเทปคาสเซฟเครื่องเล่น CD / VCD / DVD และ เครื่องเล่นดนตรีทางอิเล็กทรอนิกส์
(Electronics Instruments) แหล่งกำเนิดเสียงอะคูสติก (Acoustic Sound Source, ASS) ได้แก่
เสียงพูดหรือเสียงร้องอะคูสติกกีตาร์กลองเป็นต้น การเชื่อมต่อของแหล่งกำเนิดเสียงเป็น
สัญญาณไฟฟ้า ต้องมีการป้อนแหลง่ จา่ ยไฟฟ้าและเชือ่ มต่อสายสัญญาณจากจุดหนึง่ ยังอีกจดุ หน่ึงเพอ่ื
จะได้แหล่งกำเนิดที่เป็นสัญญาณไฟฟ้า การเซียมต่อของแหลง่ กำเนดิ เสียงที่เป็นอะคูสติกแหล่งกำเนดิ
เสียงที่เป็นอะ คูสติก ได้แก่ เสียงพูดคุยสนทนาหรือเสียงร้องเพลงกลองชุดกีตาร์โปร่งที่ไม่ใช่กีตาร์
ไฟฟา้ เปน็ ต้นโดยเสียงดังกลา่ วจะดังออกลำโพงได้จะต้องผา่ นไมโครโฟนโดยไมโครโฟนท่ีใช้มีทั้งแบบมี
สายและไรส้ ายขนึ้ อยู่กบั การ ใช้งานถา้ ใชไ้ มโครโฟนแบบไร้สายควรท่ีจะใช้ยา่ นความถี่ UHF เพราะจะ
ใหค้ ุณภาพเสียงทีด่ กี วา่ ไมโครโฟนท่ไี รส้ ายท่ีใช้ยาน VHF (ความถย่ี า่ น UHF ที่เหมาะสมของไมโครโฟน
ไร้สายควรมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 900 MHzชนิดของลําโพงในงานระบบเสียงลำโพง (Loud
Speakers) มีหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าเป็นสัญญาณเสียงมีหลายรูปแบบเช่นลำโพงตอบสนอง
ความถี่ได้กว้าง (Full Range) ลำโพงทวีตเตอร์ (Tweeter) ลำโพงมิดเรนจ์ (Midrange) ลำโพงวูฟ
เฟอร์ (Woofer) และลำโพงซับวูฟเฟอร์เป็นต้น ลำโพงตอบสนองความถี่ได้กว้าง (Full Range) เป็น
ลำโพงทส่ี ามารถสนองความถเี่ สียงได้

5

ภาพที่ 2.3 แหล่งจา่ ยไฟ ท่ีมา https://www.voake.com/product/hp-301d/[1]
แหล่งจ่ายจำพวกนี้จะเป็นแหล่งจ่ายที่เป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงโดยตรงจะเป็นจำพวก
แบตเตอร่ีอาจจะเป็นชนิดกรดหรือชนิดแห้ง แต่แรงดนั ท่ีใช้กับวิทยสุ ่ือสารประเภทมือถือต้องมีแรงดัน
ระหว่าง 15 โวลท์กระแสตั้งแต่ 800 มิลลิแอมป์ถึง 3 แอมป์เพียงพอต่อการใช้งานแรงดันไฟตรงที่ดี
ต้องเป็นแรงดันที่ราบเรียบหมายถึงไม่มี ความถี่ความถี่ของแหล่งจ่ายประเภทแบตเตอรี่และถ่านจึงมี
ความเข้าใกล้ศูนย์และแหล่งจ่ายประเภทนี้เมื่อใช้กระแสไฟฟ้าหมดแล้วทำการเพิ่มประจุใหม่โดยการ
ชาร์จกระแสเข้าไปซึ่งการชาร์จที่จะทำโดยการปล่อยกระแสเข้าไปเป็นเวลานานอย่าง ต่อเนื่องทำให้
เกิดการสะสมของกระแสไฟฟ้าจนกระทั่งตัวแบตเตอรี่หรือถ่านเต็มซึ่งอายุการใช้งานของแหล่งจ่าย
ประเภทน้ขี ึน้ อยู่กบั จำนวนครง้ั ของการชารต์ และอุณหภูมขิ ณะใช้งาน

ภาพท่ี 2.4 Arduino Uno R3 ทมี่ า https://www.ai-corporation.net/2021/11/19/arduino-
uno-r3/[2]

Arduino Uno R3 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ใช้ ATmega328P มีพินอินพุตและเอาท์พุต
ดิจิตอล 14 พิน (สามารถใช้เป็นเอาต์พุต PWM ได้ 6 พิน) อินพุตอะนาล็อก 6 พิน เรโซเนเตอร์เซรา
มิก 16 MHz สามารถเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ด้วยสาย USB หรือจ่ายไฟด้วยอะแดปเตอร์ AC-
to-DC หรือแบตเตอรี่เพื่อเริ่มต้นใช้งาน ใช้ซอฟต์แวร์ Arduino IDE ที่ใช้ภาษาซี C/C++ สำหรับการ
พฒั นาโปรแกรม

6

ภาพท่ี 2.5 การใชง้ านพอร์ต Digital I/O
ทีม่ า http://bannokarduino.blogspot.com/2016/07/bannokarduino-digital-io.html

พินดิจิตอลทั้ง 14 ขาบนบอร์ดสามารถใช้เป็น input หรือ output ได้ตามความต้องการ
โดยใช้ฟังก์ชั่น pinMode () digitalWrite () และ digitalRead () แต่ละขาทำงานที่แรงดัน 5 โวลต์
สามารถจ่ายหรือรับกระแสไฟฟา้ ได้สูงสุด 40 mA และบางขายงั มหี น้าทพี่ ิเศษต่างออกไป ดงั นี้

พิน RX (ขา 0) เปน็ พินรบั สัญญาณสื่อสารแบบอนุกรม
พิน TX (ขา 1) เปน็ พนิ ส่งสัญญาณสอื่ สารแบบอนกุ รม
พนิ Interrupts เป็นพนิ รับสัญญาณอนิ เตอร์รัพต์ภายนอก
(พนิ 2 และ พนิ 3) สามารถกำหนดค่าให้รับสัญญาณขัดจังหวะได้ทั้งแบบลอจิกสูง ลอจกิ ตำ่ หรือ แบบ
อ่นื ๆพินสัญญาณเอาตพ์ ุตแบบ PWM : พนิ 3, พนิ 5 , พนิ 6,พิน 9, พนิ 10, และ พิน 11 สามารถส่ง
สัญญาณPWM ขนาด 8 บิต ด้วยฟังก์ชัน analogWrite () พินพอร์ตสื่อสารแบบ SPI : พิน SS( พิน
10), พนิ MOSI (พิน 11) พิน MISO (พนิ 12 ), พิน SCK (พิน13 ) สามารถทำงานไดใ้ นระดบั ฮารด์ แวร์
พินควบคุม LED : พิน 13 เปน็ ขาทีต่ ่อกับแอลอีดีท่ีตดิ ต้ังบนบอร์ด สามารถใชฟ้ งั กช์ ัน digitalWrite ()
ไปควบคมุ ไดเ้ ลย
มีอะนาล็อกอินพุต ุ6 ช่อง (พิน A0- พิน A5) แต่ละช่องมีความละเอียด 10 บิต แบ่งระดับ
ความแตกต่าง 1024 ระดับ มี GND 0 โวลต์ ถึงระดับลอจิกหนึ่ง 5 โวลต์ และสามารถจะเปลี่ยน
ระดับแรงดันอ้างอิงได้โดยใช้ป้องแรงดันอ้างอิงภายนอกให้ ขา Aref ร่วมกับการใช้ฟังก์ช่ัน
analogReference() นอกจากนี้ยังมีบางขาที่มีหน้าที่พิเศษ เช่นพินสื่อสารแบบ I2C : พิน SDA (พิน
A4) พิน SCL (พิน A5)พิน Aref แรงดันอ้างอิงสำหรับอินพุตอะนาล็อก ใช้งานร่วมกับการใช้ฟังก์ชั่น
analogReference()พินรีเซ็ต เมื่อได้รับลอจิกศูนย์ไมโครคอนโทรลเลอร์ จะรีเซ็ทการทำงาน
โดยทั่วไปจะใช้ในการเพิ่มปุม่ รีเซ็ต ไว้ทว่ี งจรส่วนขยาย[4]

7

ภาพท่ี 2.6 ท่อพีวีซีสีฟา้ ท่ีมา https://www.hardwarehouse.co.th/1073226-ea.html
ท่อพีวีซีสีฟ้า หรือ ท่อพีวีซีแข็งสำหรับใช้เปน็ ทอ่ น้ำด่ืม ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

หรือ มอก. 17-2532 ท่อชนิดนี้เป็นที่นิยมใช้งานประปาสุขาภิบาลภายในอาคาร เช่น ใช้เป็นท่อ
น้ำประปา หรือใช้กับ ปั๊มน้ำ ซึ่งท่อประเภทนี้เป็นเพียงประเภทเดียวใน 3 สหายของเราที่มีการระบุ
มาตรฐานความดันหรือชั้น คุณภาพ อันได้แก่ PVC 5, PVC 8.5, PVC 13.5 ซึ่งตัวเลขที่ได้ระบุคือค่า
ความดนั ระบุและค่าความดันระบุ หมายถงึ ความดันทีก่ ำหนดให้สำหรับใช้งาน ณ อุณหภูมิ 27 องศา
เซลเซียส โดยในมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้อธิบายไว้ว่า ชั้นคุณภาพคือ ความดันระบุที่มี
หนว่ ยเป็นเมกะพาสคลั [5]

ภาพที่ 2.7 Rain Water Detection Sensor Module ทมี่ า
https://www.arduinostore.in.th/product/170

Rain Water Detection Sensor Module เป็นโมดูลวัดความชื้นในอากาศและน้ำฝน โดย
ค่าที่ได้ออกมาเป็นความต้านทาน (ADC) เมื่ออยู่ในสภาพ ปกติจะมีความต้านทานสูง ในขณะที่มี
ความชืน้ มากหรอื มีปรมิ าณนำ้ ฝนในปริมาณมาก ค่าความตา้ นทานทีไ่ ด้ จะลดลง สามารถปรับค่าความ
ไวในการตรวจวดั ได้ และสามารถให้ Output ได้ทั้ง Analog (ADC)[3]

8

2.2 งานศกึ ษาคน้ ควา้ ที่เกยี่ วข้อง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุราชาติสินวรณ์ และคณะ (2557) ได้ทำการศึกษาเรื่องการพัฒนาระบบ
ตรวจจับการรั่วไหลของก๊าซแอลพีจี และควันเพื่อการแจง้ เตือนภยั ฉุกเฉิน จากการวิจยั ในครัง้ นี้พบว่า
ระบบตรวจจับการรั่วไหลของก๊าซหุงตม้ มีการประยุกตน์ ำเทคโนโลยีมาใช้ในการแจ้งเตือน เพื่อรองรับ
การส่งสัญญาณเตือนภัยจากชุดอุปกรณ์การตรวจจับก๊าซหุงต้มที่ถูกติดตั้งไว้ โดยที่เซ็นเซอร์สามารถ
ตรวจจับค่าความเข้มข้นของก๊าซหุงต้มได้ถึง 20,000 พีพีเอ็ม(ppm) ซึ่งผลการศึกษาพบว่าระบบ
สามารถตรวจจับก๊าซหุงต้มและสามารถแจ้งเตือนผ่านระบบสัญญาณเสียงไซเรน มีระบบการระบาย
อากาศ และการแจ้งเตือนผ่านสัญญาณโทรศัพท์มือถือซึ่งผลจากการสอบระยะเวลาในการสั่งการให้
แจ้งเตือน ผ่านระบบสัญญาณเสียงไซเรนและการทำงานของพัดลมระบายอากาศอยู่ระหว่าง 4.80-
6.02 วนิ าทีระยะเวลาสง่ั การให้ระบบแจ้งเตือนผ่านสัญญาณโทรศัพท์มือถือทำงานอย่รู ะหว่าง 11.13-
16.39 วนิ าทีซงึ่ จากการทดสอบครง้ั ที่12 มกี ารทำงานของระบบเรว็ ที่สุดและผลจากการตรวจวัดความ
เข้มข้นของก๊าซมีเทนที่เซ็นเซอร์ตรวจจับได้อยู่ระหว่าง 10,000-20,000 พีพีเอ็ม (ppm) ซึ่งมีค่า
เบ่ียงเบนมาตรฐานอยู่ในระดบั เกณฑ์ท่ียอมรับได้ และผลการประเมินประสิทธิภาพในการแจ้งเตือนอยู่
ในเกณฑ์ดีมากระบบจงึ มีความเหมาะสมทีจ่ ะนำไปใช้งานในสภาพการทำงานจรงิ ได้

นายชลทิศ กิตติคุณ (2551)ได้ทำงานวิจัยเรื่องแนวทางการเตือนภัยน้ำทว่ มพื้นท่ีลุ่มน้ำคลอง
ตะกั่วป่าจังหวัดพังงาวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการจัดทำแนวทางการเตือนภัยน้ำท่วมพื้นที่ลุ่มน้ำคลอง
ตะกว่ั ป่าจังหวดั พงั งาโดยอาศยั ข้อมูลจากโครงข่ายสถานีตำรวจน้ำ ฝนและสถานตี ำรวจน้ำท่าที่มีอยู่ใน
ปัจจุบันในการศึกษาได้ทำการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลฝนปริมาณน้ำหลากระดับน้ำทะเลและ
สภาพภูมิประเทศเพื่อนำมาใช้ศึกษาปรากฏการณ์น้ำท่วมและเนื่องจากในพื้นที่ลุ่มน้ำมสี ถานีตรวจวดั
น้ำหานอ้ ยมาก การประเมินปรมิ าณนำ้ หลากจากลมุ่ นำ้ สาขาทไี่ หลลงสู่คลอง

ณรงค์ กันทาดง (2548)ได้ทำงานวิจัยเรื่องการเตือนภัยน้ำท่วมของลำน้ำยมในอำเภอเมือง
แพร่โดยใช้แบบจำลองอุทกพลศาสตร์จากแบบจำลองอุทกพลศาสตร์ของลำนำ้ ยมในอำเภอเมืองแพร่
ที่สร้างขึ้นสามารถนำไปใช้สำหรับ การเตือนภัยน้ำท่วมเบื้องต้นได้โดยสามารถแสดงบริเวณที่คาดว่า
น้ำท่วมถึงโดยใช้แผนที่ GIS มาตราส่วน 1: 51,000 ที่สร้างขึ้นและสามารถคาดการณ์เวลาทีร่ ะดับน้ำ
จะสูงข้ึนได้

9

การพัฒนาระบบจำลองเตือนภัยน้ำท่วมมีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและทดสอบ
ประสิทธิภาพการทำงานของระบบจำลองเตือนภัยน้ำท่วมสำหรับชุมชนโดยวงจรควบคุมจะรับอินพตุ
มาจากวงจรเซ็นเซอรซ์ ึ่งมีคุณสมบตั ใิ นการวัดอตั ราการไหลของน้ำและวัด ปริมาณของน้ำจากนั้นจะทำ
การประมวลผลโดยการทำงานของระบบจำลองเตือนภัยน้ำท่วมสำหรับชุมชนนี้จะประกอบกันท้ัง
ภาคสง่ และภาครับซ่ึงวงจรควบคมุ จะใชไ้ มโครคอนโทรลเลอร์ เป็นตัวประมวลผล

การทำงานของระบบจำลองเตือนภัยน้ำท่วมสำหรับชุมชนนั้นเซ็นเซอร์เป็นตัวรับข้อมูลผ่าน
การวัดระดบั การไหลของน้ำที่มอี ัตราความเร็วในการไหลของนำ้ โดยข้อมูลทีร่ ับเข้าจะถูกสง่ ไปยังไมโค
รคอนโทรลเลอร์เพื่อทำการประมวลผลซึ่งผู้วิจัยได้เขียนโปรแกรมขึ้นมาสำหรับใ ช้ทดสอบการทํางาน
ของเซ็นเซอรเ์ มอื่ ระบบไดท้ ำการทดสอบเงื่อนไขแล้วเป็นจริงระบบกจ็ ะแสดงสถานะต่างๆออกมาซึ่งได้
กำหนดสถานะการแสดงผลไว้ 3 สถานะ ด้วยกันคือสถานะที่ 1 จะแสดงไฟสีแดงพร้อมเสียงแสดงว่า
ใหร้ าษฎรอพยพหรือย้ายไปอยู่ในท่ีทปี่ ลอดภัยสถานะที่ 2 จะแสดงไฟสีเหลืองนั้นจะแสดงว่าให้ราษฎร
เตรยี มพรอ้ มสถานะที่ 3 จะแสดงไฟสีเขียวนัน้ จะแสดงว่าให้ราษฎรเฝ้าระวงั

ผลการออกแบบและสร้างระบบจำลองเตือนภัยน้ำท่วมสำหรับชุมชนนีจากผลการทดสอบ
ประสิทธิภาพการทำงานปรากฏว่าระบบจำลองเตือนภัยน้ำท่วมสำหรับชุมชนสามารถแสดง
สถานการณแ์ สดงของไฟและเสียงเปน็ ไปตามท่ีไดก้ ำหนดไว้ไดถ้ ูกตอ้ งและ นา่ เชื่อถือ

บทที่ 3
วิธกี ารดำเนนิ งานวจิ ยั

ผวู้ ิจยั ไดด้ าํ เนินการวิจัยโดยเริ่มต้นการวิเคราะหาหลกั สตู รรายวชิ าการเครื่องเตือนภัยน้ำท่วม
(Flood warning device) เพอ่ื กําหนดหวั ข้อบทเรียน เขยี นวัตถุประสงค์ เชงิ พฤติกรรม จากน้ันจึงได้
พัฒนาชุดฝึกทักษะวงจรไฟฟ้าของเครื่องเตือนภัยน้ำท่วมแบบแยกส่วน คู่มือ การปฏิบัติงาน ใบงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจ โดย ประเมินความสอด
คล่อง (Mean) ระหว่างวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของข้อสอบและใบงาน ประเมิน ความเหมาะสม
ของชุดฝึกพื้นฐานวงจรไฟฟ้าโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา จํานวน 30 คน และผู้เชี่ยวชาญ ด้านส่ือ
(ชดุ ฝกึ ) จาํ นวน 30 คน และทดสอบหาประสิทธภิ าพของชดุ ฝกึ จากนน้ั ทาํ การเก็บรวบรวม ข้อมูลเพื่อ
วเิ คราะหาและสรุปผล

3.1 ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง

ประชากรคือนักเรียนวิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี ระดับชั้นปีที่ ปวส.1 สาขาอิเล็กทรอนิกส์
และกลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนภาคปกติสาขาอิเล็กทรอนิกส์ที่ลงทะเบียนเรียนเทคโนโลยีสานสนเทศ
เพอ่ื การจัดการอาชีพภาคเรียนท่ี 1 ประจำปกี ารศึกษา 2565 จำนวน 30 คน

3.2 การสรา้ งเครอื งมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั

การพัฒนาเครื่องเตือนภัยน้ำท่วมแบบแยกส่วนผู้วิจัยได้ดำเนินการศกึ ษางานวิจัยที่เกีย่ วข้อง
รวมถงึ ศึกษาความคดิ เห็นจากการสมั ภาษณผ์ ู้สอนและนักศึกษาสามารถนำมาสรปุ เป็นแนวทางเพื่อใช้
ในการพัฒนา เคร่ืองเตอื นภัยน้ำทว่ ม

3.2.1 การเรียนรู้การปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องเตือนภัยน้ำท่วมแบบแยกส่วนหากเน้นให้
ผู้เรียนเรียนรู้ด้านทฤษฎีโดยใช้วิธีการเรียนรู้ด้วยการบรรยายหรือการจัดการอบรมร่วม กับทำ
แบบฝึกหดั ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนร้ผู เู้ รยี นจะต้องใช้ระยะเวลาศึกษาทำความเข้าใจ

3.2.2 การพัฒนาชุดฝึกผู้สอนควรมีการ ทดสอบชุดฝึกให้เข้าใจและสร้างต้นแบบการ
ปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื นำไปใชใ้ นการเรียนการสอน

11

3.3 การสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน

สร้างแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนเครื่องเตือนภัยน้ำท่วมโดยพิจารณา
ความเห็นของนักเรียนใน 2 ด้านคือด้านการออกแบบและด้านการใช้งานลักษณะของแบบประเมิน
เป็นแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) ตามระดับการประเมิน 5 ตวั เลอื ก 5 หมายถึงระดับ
มากที่สุด 4 หมายถึงระดับมาก 3 หมายถึงระดับปานกลาง 2 หมายถึงระดับน้อยและ 1 หมายถึง
ระดับน้อยที่สดุ
ค่าเฉล่ยี (Mean) (วาโร เพ็งสวัสด์ิ 2551 : 284)

เม่อื x̅ = ∑ x

n

x̅ แทน ค่าเฉล่ีย
∑ x แทน รวมผลของคะแนนทั้งหมด
n แทน ขนาดตัวอยา่ ง
ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S) (วาโร เพง็ สวัสด์ิ 2551 : 296)

เมือ่ s = √n ∑ x2−(∑ x)2

n(n−1)

s แทน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน
∑ x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
∑ x2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตวั ยกกำลัง
n แทน ขนาดตวั อย่าง

3.4 การสร้างแบบประเมนิ ความพึงพอใจ

ตอนที่ 1 ข้อมลู ส่วนบคุ คล ประกอบดว้ ย เพศ ชั้นปี คณะท่ีศกึ ษาโดยลกั ษณะแบบสอบถาม
เป็นแบบเลือกตอบ (Check list) จำนวน 3ข้อ

ตอนที่ 2 แบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องเตือนภัยน้ำท่วมแบบสอบถามเลือกตอบตอบ
(Check list) จำนวน 3 ข้อและระดับความพึงพอใจที่มีต่อการบริการในแต่ละประเภทเป็น
แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดบั จำนวน 5 ขอ้ โดยกำหนดคะแนนในแต่
ละดับดงั นี้

1 หมายถึง ระดับความพงึ พอใจนอ้ ยที่สุด
2 หมายถึง ระดบั ความพึงพอใจ
3 หมายถึง ระดบั ความพึงพอใจปานกลาง
4 หมายถึง ระดบั ความพงึ พอใจมาก
5 หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจมากที่สุด

12

เกณฑ์การประเมินระดับความ พึงพอใจของนักศึกษาต่อโครงงานในแต่ละประเภทของ
วิทยาลยั เทคนิคสรุ าษฎร์ธานีแบง่ เปน็ 5 ระดับตามเกณฑ์ (2545: 165-166) เปน็ ดังนี้

4.41-5.00 นกั ศึกษามีความพงึ พอใจต่อโครงงานมากทส่ี ุด
3.51-4.50 นักศกึ ษามคี วามพึงพอใจต่อโครงงานมาก
2.51 3.50 นกั ศกึ ษามคี วามพงึ พอใจต่อโครงงานกลาง
1.51-2.50 นกั ศกึ ษามีความพงึ พอใจต่อโครงงานน้อย
1.00-1.50 นกั ศึกษามคี วามพงึ พอใจต่อโครงงานทสี่ ดุ
ตอนที่ 3 แบบสอบถามข้อมูลปัจจัยเกี่ยวกับโครงงานที่คาดว่าจะมีผลต่อความพึงพอใจ
วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานีเป็นแบบสอบถามประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับจํานวน 2 ด้าน
จํานวน 5 ขอ้ โดยกำหนดคะแนนใน แต่ระดบั ดังน้ี
5 = ใช่อย่างยง่ิ หมายถงึ ไม่แน่ใจหมายถงึ ท่านเห็นวา่ ประเด็นน้ันเป็นจรงิ มาก
4 = ใช่ หมายถงึ ท่านเห็นว่าประเด็นนน้ั เป็นจริง
3 = ไม่แน่ใจ หมายถึงทีส่ ุดหมายถึงท่านเห็นวา่ ประเดน็ น้ันเป็นจรงิ บา้ ง
2 = ไมใ่ ช่ หมายถึงท่านเหน็ วา่ ประเดน็ นน้ั ไมเ่ ป็นจรงิ
1 = ไม่ใช่เลย หมายถึงทา่ นเห็นวา่ ประเดน็ นั้นไม่เป็นจรงิ เลย
เกณฑก์ ารประเมินระดับความคิดเห็นของนักศึกษาต่อปัจจัยเก่ียวกับการบริการท่ีคาดว่าจะมี
ต่อความพึงพอใจในวิทยาลยั เทคนิคสุราษฎร์ธานีแบ่งเป็น 5 ระดับตามเกณฑ์ (2545: 165-166) เป็น
ดงั น้ี
4.41-5.00 นักศึกษามีความคิดเห็นว่าปัจจัยเหล่านั้นส่งผลต่อความพึงพอใจในโครงงานของ
วทิ ยาลัยเทคนิคสุราษฎรธ์ านีมากที่สดุ
3.51-4.50 ทีส่ ุดนกั ศึกษามีความคดิ เหน็ ว่าปัจจัย เหลา่ น้นั สง่ ผลตอ่ ความพึงพอใจในโครงงาน
ของวทิ ยาลัยเทคนคิ สรุ าษฎร์ธานีมาก
2.51 3.50 นักศึกษามีความคิดเห็นว่าปัจจัยเหล่านั้นส่งผลต่อความพึงพอใจในโครงงานของ
วทิ ยาลัยเทคนิคสุราษฎรธ์ านีปานกลาง
1.51-2.50 นักศึกษามีความคิดเห็นว่าปัจจัยเหล่านั้นส่งผลต่อความพึงพอใจในโครงงานของ
วทิ ยาลยั เทคนคิ สุราษฎร์ธานีน้อย
1.00 1.50 นักศึกษามีความคิดเห็นว่าปัจจัยเหล่านั้นส่งผลต่อความพึงพอใจในโครงงานของ
วทิ ยาลยั เทคนิคสุราษฎรธ์ านีนอ้ ยทีส่ ุด

13

ตอนที่ 4 แบบสอบถามข้อมูลความพึงพอใจที่มีต่อวิทยาลยั วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎรธ์ านีเป็น
แบบสอบถามประมาณค่า (Rating Scale ระดับจำนวน 2 ด้านจำนวน 5 ข้อโดยกำหนดคะแนนใน
แต่ระดับดงั น้ี

1 หมายถงึ ระดับความพึงพอใจนอ้ ยท่ีสุด
2 หมายถงึ ระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ย
3 หมายถงึ ระดบั ความพึงพอใจปานกลาง
4 หมายถึงระดบั ความพึงพอใจมาก
5 หมายถึงระดบั ความพงึ พอใจมากท่สี ดุ
เกณฑ์การประเมินระดับความ พึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อวิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี
แบ่งเปน็ 5 ระดบั ตามเกณฑ์ (2545: 165-166) เปน็ ดังนี้
4.41-5.00 นักศกึ ษามีความพงึ พอใจต่อโครงงานที่สุด
3.51-4.50 นักศึกษามคี วามพงึ พอใจต่อโครงงานมาก
2.51-3.50 นักศึกษามีความพึงพอใจต่อโครงงานปานกลาง
1.51-2.50 นกั ศกึ ษามีความพงึ พอใจต่อโครงงานน้อย
1.00-1.50 มีความพึงพอใจตอ่ โครงงานน้อยท่สี ุด[8]

3.5 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

3.5.1 ทำหนังสือขอความร่วมมือในการทำวิจัยถึง อาจารย์จักรรัตน์ จักรานนท์ของ
วิทยาลยั เทคนิคสุราษฎร์ธานีเพอื่ ขอในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล

3.5.2 เก็บรวบรวมข้อมูลความพึงพอใจของนักศึกษาท่ี วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี ตาม
ตัวอย่างที่กำหนดจนครบ 30 ฉบบั

3.5.3 นำแบบสอบถามมาตรวจสอบความสมบูรณ์และได้แบบสอบถามจากการตอบของ
นกั ศึกษา จำนวน 30ฉบบั คดิ เป็นร้อยละ 100.00

3.5.4 ทำการวเิ คราะห์

บทที่ 4
ผลการดำเนินการวจิ ยั

4.1 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย

4.1.1 การประเมินความเหมาะสมของเคร่ืองเตือนภัยน้ำทว่ มโดยผู้เชย่ี วชาญดา้ น) จำนวนคน
และผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาจำนวน 30 คนเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลและการสรุปผลความคิดเห็นของ
ผู้เชีย่ วชาญโดยใช้ค่ารอ้ ยละค่าเฉลีย่ ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและแปลความหมายโดยใช้ระดับความ
เหมาะสมดีมากดปี านกลางนอ้ ยน้อยทสี่ ดุ

4.1.2 การหาประสิทธิภาพของเคร่อื งเตือนภัยน้ำท่วมเกณฑ์ทใ่ี ชค้ ือคา่ เฉลยี่ (Mean) แบ่งเป็น
การหาประสทิ ธิภาพของกระบวนการจากการให้ผู้ใช้งานทำแบบทดสอบ 1 ครงั้ และประสิทธิภาพของ
ผลลพั ธ์

4.1.3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการใช้งานของกลุ่มตัวอย่างโดยเปรียบเทียบคะแนน
จากการทดสอบก่อนใช้งานและคะแนนจากหลังเการใช้งานโดยใช้สถติ ิทดสอบ แบบ ค่าเฉลย่ี (Mean)

4.1.4 การหาความพึงพอใจของผู้เรียนเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลและการสรุปผล ความคิดเห็น
ของผู้เรียนโดยใช้ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและแปลความหมาย (Standard
Deviation: S) (วาโร เพง็ สวัสดิ์ 2551 : 296) โดยใชร้ ะดับความพงึ พอใจมากทส่ี ุดมากปานกลาง

ตารางที่ 4.1 สถานภาพท่วั ไป ประเมินความพงึ พอใจ

คณะ ประชากร อายุ เพศ ระดบั การศึกษา
ปวส
ชาย หญิง

อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 30 18-24 15 15

ตารางที่ 4.2 ความพึงพอใจ / ไม่พงึ พอใจต่อการให้บริการ

ประเด็น/ด้าน ระดบั ความพงึ พอใจ ระดบั ความไม่พึงพอใจ

1. การใชง้ านของโครงงาน พอใจมาก พอใจ พอใจน้อย ไมพ่ อใจ ไมพ่ อใจมาก
1.1 ใช้งานไดท้ ุกสภาพอากาศ
1.2 ความคงทนของอปุ กรณ์ 15 15
2. การทำงานของระบบเคร่ืองเตือนภัยน้ำท่วม 14 16
2.1 ระบบการทำงานเครื่องเตือนภยั น้ำท่วมใชง้ านได้
สะดวก 29 1

15

4.2. ผลการวจิ ัย

ตารางที่ 4.3 ตารางคา่ เฉลยี่ (x̅) และค่าเบ่ียงแบนมาตรฐาน (S.D.) ระดับความคิดเห็นของ
ผู้เชย่ี วชาญด้านคุณภาพของเครื่องเตือนภัยน้ำท่วม

หวั ข้อประเมนิ ระดบั ความคดิ เห็น แปลความหมาย
x̅ S.D.
1. การใช้งานของโครงงาน 4.48 0.50 มากที่สดุ
2. การทำงานของระบบเครอื่ งเตือนภัยนำ้ ทว่ ม 4.97 0.18 มากทสี่ ุด
รวม 4.64 0.39 มากทส่ี ุด

ผลการประเมนิ ประสิทธิภาพผลงาน โดยผูเ้ ชี่ยวชาญโดยรวม มีค่าเฉล่ีย (x̅=4.64) ค่า
เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D. 0.39) อยู่ในระดับมากท่ีสุด

แบบประเมิน

15

10

5

0 S.D. ค่าเฉล่ยี x̅ ค่าเฉล่ยี S.D.

1. การใชง้ านของโครงงาน 1.1 การใชง้ านไดท้ กุ สภาพอากาศ

1.2 ความคงทนของอปุ กรณ์ 2. การทางานของระบบเคร่อื งเตือนภยั นา้ ทว่ ม

2.1 ระบบการทางานเคร่อื งเตือนภยั นา้ ทว่ มใชง้ านไดส้ ะดวก ผลรวมคา่ เฉลย่ี

ภาพท่ี 4.1 ระดับความคดิ เห็นของผ้เู ช่ยี วชาญด้านคุณภาพของเครอ่ื งเตือนภัยน้ำท่วม

16

ตารางที่ 4.4 ตารางคา่ เฉล่ยี (x̅) และค่าเบย่ี งแบนมาตรฐาน (S.D.) ระดับความคิดเหน็ ของ
การใช้งานของโครงงานคุณภาพของเครื่องเตือนภยั นำ้ ท่วม

หวั ข้อประเมนิ ระดบั ความคิดเหน็ แปลความหมาย
x̅ S.D.
1. การใชง้ านของโครงงาน
1.1 ใช้งานได้ทุกสภาพอากาศ 4.50 0.50 มากที่สดุ
1.2 ความคงทนของอุปกรณ์ 4.47 0.50 มากที่สุด
รวมการใช้งานของโครงงาน 4.48 0.50 มากที่สดุ

ด้านการใชง้ านของโครงงาน(x̅=4.48) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.50) อยูใ่ นระดับมาก
ที่สุด

แบบประเมิน

10 S.D. ค่าเฉล่ยี x̅ ค่าเฉลย่ี S.D.
9
8
7
6
5
4
3
2
1
0

1. การใชง้ านของโครงงาน 1.1 การใชง้ านไดท้ กุ สภาพอากาศ 1.2 ความคงทนของอปุ กรณ์ ผลรวมค่าเฉลย่ี

ภาพที่ 4.2 ระดับความคิดเห็นของการใช้งานของโครงงานคณุ ภาพของเครอื่ งเตือนภัยน้ำทว่ ม

17

ตารางท่ี 4.5 ตารางคา่ เฉลย่ี (x̅) และค่าเบย่ี งแบนมาตรฐาน (S.D.) ระดบั ความคิดเห็นของ
การทำงานของระบบเคร่อื งเตือนภัยนำ้ ทว่ มของเคร่ืองเตือนภยั นำ้ ท่วม

หวั ข้อประเมนิ ระดับความคดิ เห็น แปลความหมาย
x̅ S.D.
2. การทำงานของระบบเครอื่ งเตือนภัยน้ำทว่ ม มากทสี่ ดุ
2.1 ระบบการทำงานเครื่องเตือนภัยน้ำท่วมใช้ 4.97 0.18 มากท่ีสุด
งานไดส้ ะดวก
รวมการทำงานของระบบเครื่องเตือนภัยน้ำ 4.97 0.18
ทว่ ม

ด้านการทำงานของระบบเครื่องเตือนภัยน้ำท่วมคะแนนเฉลี่ย (x̅=4.97) ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D. =0.18) อย่ใู นระดบั มากทีส่ ุด

แบบประเมนิ

12

10
8

6

4

2

0 S.D. ค่าเฉล่ยี x̅ ค่าเฉลย่ี S.D.

2. การทางานของระบบเคร่อื งเตอื นภยั นา้ ท่วม 2.1 ระบบการทางานเคร่อื งเตอื นภยั นา้ ท่วมใชง้ านไดส้ ะดวก ผลรวมคา่ เฉล่ยี

ภาพท่ี 4.3 ระดับความคดิ เห็นการทำงานของระบบเครอ่ื งเตอื นภยั น้ำทว่ มของเครื่องเตือนภยั น้ำทว่ ม

บทท่ี 5
สรปุ ผลการวิจยั
5.1 สรปุ ผลการทำโครงงาน

5.1.1 สรุปผลการทดลองเครื่องเตอื นภัยน้ำท่วม จากการทดลองเครื่องเตือนภยั นำ้ ท่วม สรุป
ไดว้ ่าเคร่ืองเตือนภัยน้ำทว่ ม สามารถวดั ระดับน้ำ ไดท้ ั้งหมด 3 ระดับ ระดบั ที่1 มากกว่าหรือเท่ากับ10
เซนติเมตร ไฟจะไม่แจง้ เตือนแต่จะส่งสัญญาณการแจ้ง เตือนผ่าน Application line และจะแสดงผล
ผ่านหน้าจอ LCD ว่า “น้ำกำลังข้ึน” ระดับที่ 2 มากกว่าหรอื เท่ากับ 15 เซนติเมตร จะแจ้งเตอื นโดย
การส่งสัญญาณไฟ LED เมื่อไฟสีเขียวติด แล้วจะแจ้งเตือนผ่าน Application line และแสดงผลผ่าน
หน้าจอ LED ว่า“เตรยี มตวั อพยพ” ระดับท่ี 3 มากกว่าหรือเท่ากับ25 เซนติเมตรจะแจ้งเตือนโดยการ
ส่งสัญญาณไฟ LED เมื่อไฟสีแดงติด แล้วจะแจ้งเตือนผ่าน Application line และแสดงผลผ่าน
หน้าจอ LCD วา่ “อันตราย” พรอ้ มท้งั ส่งสัญญาณเสยี งแจ้งเตือน

5.1.2 สรุปผลการทดลองแจง้ เตอื นทาง Application Line จากการทดลองเครอื่ งเตอื นภัยน้ำ
ทว่ ม เมื่อมกี ารเร่ิมการทำงานของเซน็ เซอร์ultraxonic และหากเป็นไปตามเง่ือนไขท่ีกำหนดระบบจะ
ทำการสง่ ข้อความไปยงั Application Line ทถี่ กู ตดิ ตัง้ โปรแกรม ไว้อยา่ งรวดเร็ว

5.1.3 สรปุ ผลการทำต้นแบบจำลองเครื่องเตือนภัยน้ำท่วม จากการทดลองนำเคร่ืองเตือนน้ำ
ท่วม ปรากฏว่า เมื่อมีฝนตกลงมาโดนที่ตัวเซ็นเซอร์จะทำให้เกิดเสียง ดังแจ้งเตือนขึ้นมา เตือนว่า
ตอนนี้ฝนตกแล้วนะคอยเฝ้าระวังอุทกภัยเอาไว้ด้วย จะได้เตรียมพร้อมกับ สถานการณ์ฉุกเฉินเสมอ
ระบบสามารถส่งสัญญาณแจ้งเตือนผ่านไฟ LED ผ่าน Application line ผ่าน หน้าจอ LCD และ
สามารถสง่ สญั ญาณใหก้ บั คนในชมุ ชน เพื่อเตอื นภัยซงึ่ จะช่วยลดความเสยี หายต่อทรัพย์สิน และเฝ้าระ
รงั กับอุทกภยั ทีจ่ ะเกิดข้นึ

19

5.2 อภปิ รายผลการวจิ ยั

อภปิ รายผลจากการพฒั นาและหาประสทิ ธิภาพเครื่องเตือนภัยนำ้ ท่วมรายวชิ าเทคโนโลยีสาน
สนเทศเพื่อการจัดการอาชีพของนักเรียนช่างอิเล็กทรอนิกส์ (ชอ) ระดับชั้นปีที่ 1 ภาคปกติสาขา
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ประจำปกี ารศกึ ษา 2565 สามารถอภปิ รายผลได้ดังน้ี

5.2.1 การพฒั นาเครื่องเตือนภยั นำ้ ท่วมรายวชิ ารายวิชาเทคโนโลยสี านสนเทศเพ่ือการจัดการ
อาชีพมคี วามเหมาะสมในระดับดีมาก x̅ = 4.64 สามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ชุดฝึก
ทักษะเปน็ ส่ือประเภทสาธิตการฝึกปฏบิ ัตแิ ละสถานการณจ์ ำลองที่เปน็ รูปธรรมของส่ือการสอนช่วยให้
ผ้เู รยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ัตดิ ้วยตนเองเข้าใจความหมายและเป็นแนวทางใหเ้ ข้าใจส่ิงน้ัน ได้อธิบายถงึ สื่อเป็น
การเรียนรแู้ ละการใช้ส่ือแตล่ ะประเภทในกระบวนการเรียนร้ดู ว้ ยเป็นลักษณะของประสบการณ์ที่เกิด
แรงจูงใจในการเรียนรู้ของเรียนรู้ในสิ่งต่าง ๆ มากยิ่งขึ้นซึ่งได้รับจากสื่อการสอนประเภทนั้นและจัด
สภาพการเรยี นการสอนให้ผู้เรยี นอย่างเหมาะสม

5.2.2 ผลการหาประสิทธิภาพของเครื่องเตือนภัยน้ำท่วมที่ผู้วิจัยมีค่าเบี่ยงแบนมาตรฐาน
(S.D.) 0.39 เป็นไปตามเกณฑ์ และมีผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการใช้งานหลังการใช้งานสูง
กวา่ ก่อนใช้งานอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ่ี อาจเป็นเพราะการใช้งานผู้ใชง้ านจะไดฝ้ ึกทักษะการใช้งาน
เครื่องเตือนภัยน้ำท่วมผู้ใช้งานได้ฝึกทำทีละขั้นตอนทำใหผ้ ู้ใช้งานได้ฝกึ ทีละเลก็ ทีละนอ้ ยจนเกดิ ความ
ชำนาญไม่เกดิ ความกดดนั

5.3 ข้อเสนอแนะในการวิจัย

5.3.1 เซ็นเซอร์วัดระดับน้ำที่นำมาใช้ในการทำงานวิจัยในครั้งนี้หากต้องการประสิทธิภาพท่ี
สูงกว่านี้ควรเลือกเซน็ เซอร์วัดระดับน้ำที่มีประสทิ ธภิ าพมากกว่านี้ แต่อุปกรณ์ดังกล่าวนั้นมรี าคาแพง
กวา่ ทเ่ี ปน็ มาก

5.3.2 เซ็นเซอร์วัดรอบการหมุนของกังหันยังมีประสิทธิภาพการทำงานท่ีออกมาในระดับที่
ปานกลางควรเลอื กเซน็ เซอรท์ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพมากกว่าน้ี แต่เนื่องจากอปุ กรณ์มรี าคาคอ่ นขา้ งสงู

5.3.3 ตัวรับและตัวส่งสญั ญาณทีน่ ำมาใช้น้ันยงั คงมีข้อ จำกดั ในการรับและสง่ เน่ืองจากส่งได้
ในระยะทใี่ กล้ แต่เม่อื นำไปใชใ้ นสถานการณ์จริงนน้ั ควรเลือกใช้ตัวรับ-สง่ ท่มี ีกำลังสง่ มากกว่านี้

5.3.4 ในการเลือกวัสดุทีน่ ำมาใช้ในการทำกังหันและโครงสำหรับยดึ กังหนั น้ันควรเลือกวัสดุที่
แขง็ แรงพอสมควร เนอื่ งจากจะต้องรบั แรงดันจากนำ้ คอ่ นขา้ งสูง

5.3.5 ในการจัดวางกังหันนั้นควรวางไว้บริเวณกึ่งกลางของตลิ่งและควรทำตะแกรงกันตัว
กังหันไว้เพื่อป้องกันการเกิดความเสียหายเนื่องจากแรงดันและอัตราการไหลของน้ำและ เพิ่ม
ประสิทธิภาพการทำงานของกงั หนั

5.3.6 ไฟทแ่ี สดงสถานะควรใชท้ ี่มีขนาดใหญก่ วา่ น้ีเพื่อจะไดแ้ สดงผลออกมาได้อยา่ งชดั เจน

20

บรรณานกุ รม

นาย ไกรสร สืบบุญ. แหล่งจา่ ยไฟ สืบค้นเมื่อวันท่ี 4 กรกฎาคม 2565
จาก https://www.voake.com/product/hp-301d/.

นาย ไกรสร สบื บญุ . Arduino Uno R3 สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 4 กรกฎาคม 2565
จาก https://www.ai-corporation.net/2021/11/19/arduino-uno-r3/.

นาย ไกรสร สบื บุญ. Rain Water Detection SensorModule สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 4 กรกฎาคม 2565
จาก https://www.arduinostore.in.th/product/170.

นาย ดศิ รณ์ ตันตเิ กต.ุ การใชง้ านพอรต์ Digital I/O สืบคน้ เมอ่ื วันที่ 4 กรกฎาคม 2565
จาก http://bannokarduino.blogspot.com/2016/07/bannokarduino-digital-io.html.

นาย ดศิ รณ์ ตันติเกตุ. ท่อพีวซี ีสีฟ้า สืบค้นเม่อื วันท่ี 4 กรกฎาคม 2565
จาก https://www.hardwarehouse.co.th/1073226-ea.html.

นาย ดิศรณ์ ตันตเิ กตุ. ไฟสัญญาณเตือนภัย สืบค้นเม่อื วันท่ี 4 กรกฎาคม 2565
จาก https://www.allnewstep.com/product/3050.

นาย ดิศรณ์ ตนั ติเกตุ. ลำโพงเตอื นภยั สบื คน้ เม่ือวันที่ 4 กรกฎาคม 2565
จาก https://thai.alibaba.com/product-detail/high-power-alarm-speaker-best-for-
439651724.html.

พรี พล จันทร์หอม. การสรา้ งแบบประเมนิ ความพึงพอใจ
เรยี น คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟา้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล
สุวรรณภมู ิ ศูนย์นนทบุรีกนั ยายน,2562.

พรี พล จนั ทร์หอม. ความเป็นมาและมาสำคัญของปัญหา,เอกสารที่เกยี่ วข้อง มลู นิธิเทคโนโลยี
สารสนเทศตามพระราชดำริสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร,2563.