การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

              การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก หรือการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (simple harmonic motion) เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุกลับไปมาซ้ำทางเดิมผ่านตำแหน่งสมดุล โดยมีขนาดของการกระจัดสูงสุดคงตัว เรียกว่า แอมพลิจูด ช่วงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ เรียกว่า คาบ ( T ) และจำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน 1 วินาที เรียกว่า ความถี่ f เมื่อผูกวัตถุเข้ากับยางยืดหรือปลายสปริง ห้อยในแนวดิ่ง ดึงวัตถุให้ยางหรือสปริงยืดออกเล็กน้อย แล้วปล่อย วัตถุก็จะสั่นขึ้นลง โดยการเคลื่อนที่ไปกลับทุกครั้งผ่านตำแหน่งสมดุล ที่จุดบนสุดและต่ำสุดซึ่งเป็นตำแหน่งที่มีการกระจัดมากที่สุด วัตถุจะมีอัตราเร็วเป็นศูนย์ และขณะวัตถุเคลื่อนผ่านตำแหน่งสมดุลซึ่งมีการกระจัดเป็นศูนย์ วัตถุจะมีอัตราเร็วมากที่สุด ความถี่ในการสั่นของวัตถุจะขึ้นกับมวลวัตถุที่ติดอยู่กับปลายยางหรือสปริง และขึ้นกับค่าคงตัวสปริง k (spring constant) ซึ่งเป็นค่าของแรงที่ทำให้สปริงยืดหรือหดได้ 1 หน่วยความยาว โดย ความถี่ในการสั่นของวัตถุที่ติดปลายสปริงหาได้จากความสัมพันธ์ ดังนี้

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

ส่วนคาบของการสั่น หรือเวลาที่ใช้ในการสั่นครบ 1 รอบจะหาได้จากความสัมพันธ์ต่อไปนี้

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

              การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกที่ชัดเจนอีกลักษณะหนึ่งคือ การแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย (simple pendulum) ซึ่งประกอบด้วยวัตถุมวล m แขวนห้อยที่ปลายเชือกยาว lโดยธรรมชาติจะแขวนห้อยในแนวดิ่งซึ่งเป็นตำแหน่งสมดุล เมื่อดึงวัตถุให้เชือกเอียงไปทำมุมกับแนวดิ่งเล็กน้อยแล้วปล่อย วัตถุจะแกว่งกลับไป มา ซ้ำทางเดิมผ่านตำแหน่งสมดุล ลูกตุ้มนาฬิกา ชิงช้า จะเป็นการแกว่งแบบเดียวกับลูกตุ้มอย่างง่าย
              ความถี่และคาบในการแกว่งของลูกตุ้มจะสัมพันธ์กับความยาว l ที่วัดจากจุดแขวนไปจนถึงศูนย์กลางมวลของวัตถุ โดยไม่ขึ้นกับมวลที่แขวน

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

ความถี่ในการแกว่งหาได้จากความสัมพันธ์ต่อไปนี้

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

และคาบของการแกว่ง หาได้จากความสัมพันธ์ต่อไปนี้

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

http://fieldtrip.ipst.ac.th/intro_sub_content.php?content_id=18&content_folder_id=190

การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย

      การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย (Simple Harmonic Motion : SHM) คือ การเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำทางเดิมโดยผ่านตำแหน่งสมดุล และมีคาบของการเคลื่อนที่คงตัว เช่น การเคลื่อนที่ของวัตถุติดปลายสปริง การสั่นของสายเครื่องดนตรี การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา เป็นต้น

                                         

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร
                                     
การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

        ปริมาณที่สำคัญในการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย คือ     

1.ความถี่ (f) คือ จำหน่วยรอบของการเคลื่อนที่ใน 1 วินาที หน่วยเป็น เฮิรตซ์  

2.การขจัด คือระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปโดยนับจากจุดสมดุล

3.คาบ (T) คือ เวลาในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ หน่วยเป็นวินาที (s) 

4.แอมพลิจูด ตือ ระยะทางมากที่สุดที่วัตถุจะสามารถเคลื่อนที่ไปได้ โดยนับจากจุดสมดุลเช่นเดียวกัน อาจพิจารฯาได้ว่า แอมพลิจูดคือการขจัดที่มีปริมาณมากที่สุด

ความถี่และคาบมีความสัมพันธ์ตามสมการ 

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

การกระจัด X ในรูปฟังก์ชันของเวลา t ของ SHM เขียนได้เป็น   

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

ซึ่ง  

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร
    เป็นการกระจัดสูงสุดหรือแอมพิจูด

                         

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร
    เป็นความถึ่เชิงมุมมีค่าเท่ากับ
การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร
หรือ  
การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

         

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร
    เป็นค่าคงตัวทางเฟสหมายถึงเฟสเริ่มต้น

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

จากรูป หากอนุภาคเริ่มเคลื่อนที่จากตำแหน่งสมดุล (x = 0) ซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับกราฟของ    

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

จะได้สมการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย รูปที่วไปเป็น 

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร
 เมื่อ a คือ แอมพลิจูด

ลักษณะสำคัญประการหนึ่งของการเคลื่อนที่าแบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย คือ 

    การมีความเร่งแปรผันตรงกับการกระจัด แต่มีทิศทางตรงกันขจ้าม โดยทิศของความเร่งจะเป็นทิศเดียวกับแรง และแรงจะต้องเป็นแรงเข้าหาจุดสมดูลใน

ขณะที่การขัจดมีทิศออกไปจากจุดสมดุลดังสมการ

        ความเร่งของการเคลือ่นที่แบบฮาร์โมนิก 

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร
  
การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonics เป็นอย่างไร

       นายนพกร  น้ำผึ้ง                        ม.5/9    เลขที่ 1   

นายพิทวัส  หรือรัตนวงศ์              ม.5/9    เลขที่ 11 

นายเจตวัฒน์  สวัสดิ์มนัสชัย        ม.5/9    เลขที่ 15 

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmonic Motion) มีลักษณะอย่างไร

การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิอย่างง่าย (Simple Harmonic Motion : SHM) คือ การเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำทางเดิมโดยผ่านตำแหน่งสมดุล และมีคาบของการเคลื่อนที่คงตัว เช่น การเคลื่อนที่ของวัตถุติดปลายสปริง การสั่นของสายเครื่องดนตรี การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา เป็นต้น

การเคลื่อนที่แบบ Simple harmonic มีลักษณะอย่างไร

ในวิชากลศาสตร์และฟิสิกส์ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (อังกฤษ: simple harmonic motion : SHM) หมายถึง การเคลื่อนที่โดยที่วัตถุจะเคลื่อนที่ตามเส้นทางเดิมกลับมาเริ่มต้นที่เดิมซ้ำแล้วซ้ำอีก ผ่านจุดสมดุล เป็นการเคลื่อนที่เป็นคาบประเภทหนึ่ง โดยที่แรงดึงกลับแปรผันตรงกับการกระจัด และมีทิศทางตรงข้ามกับการกระจัด

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย มีอะไรบ้าง

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายเป็นการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้าทางเดิม โดยมุมที่เบนออก จากแนวดิ่งมากที่สุดเท่าเดิมตลอดเวลา (แอมพลิจูดคงตัวตลอดเวลา) ความเร่งแปรผันตรงกับการกระจัด แต่ทิศทางตรงกันข้าม ยกตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก เช่น การเคลื่อนที่ของชิงช้า การสั่นของสาย กีตาร์การเคลื่อนที่ของลูกตุ้มนาฬิกา ...

แอมพลิจูด ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย คืออะไร

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย คือ การเคลื่อนที่แบบสั่นหรือแกว่งกลับไปกลับมาซ้ำรอยเดิม ด้วยคาบที่คงที่ และระยะห่างที่วัตถุเคลื่อนผ่านตำแหน่งสมดุลไปได้ไกลที่สุด เรียกว่า แอมพลิจูด มักจะใช้สัญลักษณ์ว่า SHM การเคลื่อนที่แบบพีริออดิกชนิดหนึ่งที่กราฟของการกระจัดกับเวลาอยู่ในรูปของฟังก์ชันไซน์หรือโคไซน์ความถี่คงที่มีค่า ...