ระบบ ISO มีประโยชน์อย่างไร

รายการวันละนิดวิทย์เทคโนกับสวทช. ตอน ระบบ ISO คืออะไร?

ISO มาจากคำว่า International Organization for Standardization (ISO) เป็นมาตรฐานการวัดคุณภาพองค์กรต่างๆ เพื่อรับรองระบบการบริหารและการดำเนินงานขององค์กรในแต่ละประเทศเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก

ตัวเลขที่อยู่ด้านหลังคำว่า ISO นั้น หมายถึง สินค้าและบริการที่แตกต่างกัน เช่น โรงแรม ภัตตาคาร สนามบิน และ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ระดับของมาตรฐานการวัดคุณภาพจะแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่

  1. ISO9000
  2. ISO9001
  3. ISO9002
  4. ISO9003

ซึ่งเป็นการวัดคุณภาพจากการจัดการขององค์กร และ ISO14000 จะเป็นเรื่องสิ่งแวดล้อม

การจัดทำระบบคุณภาพ ISO มีข้อดีคือ ทำให้ผู้บริโภคมั่นใจในผลิตภัณฑ์ที่ใช้บริการว่าได้รับการคุ้มครองทั้งในเรื่องของ คุณภาพ และ ความปลอดภัย

ประโยชน์ของระบบบริหารจัดการ  ISO 9001:  2000

ประโยชน์ภายในองค์การ
                   1.  มีระบบการจัดการเอกสาร ดีขึ้นสามารถลดขั้นตอนการทำงานที่ซ้ำซ้อน

                   2.  บุคลากรมีความใส่ใจต่อการทำงานมากขึ้นเพราะการทำงานจะต้องมีร่องรอยหลักฐาน    

                    3. ระบบมีการทวนสอบความผิดพลาดทำให้พนักงานมีขวัญและกำลังใจในการทำงาน
                   4.  การทำงานมีระบบและมีคุณภาพ  ลดค่าใช้จ่ายเพิ่มผลผลิต และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
  ประโยชน์ภายนอกองค์การ
                    1. ลูกค้าหรือผู้ที่มีส่วนได้ส่วนได้ส่วนเสีย1ที่มาปฏิสัมพันธ์กับองค์การ มีความพึงพอใจในการให้

                         การบริการ
                    2. เป็นกลวิธี (Tactic)   ในการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันทางตลาดที่ทั่วโลกให้การยอมรับ


บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที


  • ตอนที่ 1 : การจัดการองค์การ
  • ตอนที่ 2 : ความสำคัญของ ISO
  • ตอนที่ 3 : เราจะประยุกต์ข้อกำหนด ISO ทั้งหมดกับสถาบันการศึกษาได้อย่างไร? กรณีศึกษา ระดับอาชีวศึกษา
  • ตอนที่ 4 : ข้อกำหนดที่ 6 การบริหารทรัพยากร
  • ตอนที่ 5 : การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุง
  • ตอนที่ 6 : การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุง (ต่อ)
  • ตอนที่ 7 : หลักการที่ 1 การมุ่งเน้นที่ตัวลูกค้า (Customers Focus)
  • ตอนที่ 8 : หลักการที่ 2 ความเป็นผู้นำ
  • ตอนที่ 9 : หลักการที่ 3 การมีส่วนร่วมของบุคลากร
  • ตอนที่ 10 : หลักการที่ 4 - 5- 6
  • ตอนที่ 11 : หลักการที่ 7 การตัดสินใจบนพื้นฐานของความเป็นจริง
  • ตอนที่ 12 : หลักการที่ 8 ความสัมพันธ์อันดีกับผู้ส่งมอบ (Supplier / Vendor)
  • ตอนที่ 13 : กลยุทธ์ การตลาดในแข่งขันสำหรับธุรกิจสถานศึกษาเอกชน
  • ตอนที่ 14 : กลยุทธ์ การตลาดในแข่งขันสำหรับธุรกิจสถานศึกษาเอกชน ต่อ
  • ตอนที่ 15 : ไพ่ใบสุดท้าย
  • ตอนที่ 16 : ประโยชน์ของระบบบริหารจัดการ ISO 9001: 2000
  • ตอนที่ 17 : การตรวจประเมินภายใน Internal Quality Audit: IQA
  • ตอนที่ 18 : สิ่งที่ตรวจพบจาก IQA CAR OBS OFI
  • ตอนที่ 19 : ขั้นตอนหลังจากการทำ IQA จะต้องทำอะไรต่อไป
  • ตอนที่ 20 : การประชุมทบทวนโดยฝ่ายบริหาร Management Preview
  • ตอนที่ 21 : การจัดทำ CHECK LIST
  • ตอนที่ 22 : ตัวอย่าง CHECK LIST
  • ตอนที่ 23 : ท่านผู้บริหารสถาบันการศึกษาจะเริ่มนำระบบ บริหารจัดการISO 9001 :2000 มาใช้ ได้อย่างไร
  • ตอนที่ 24 : การทบทวนสถานะของสถาบันการศึกษา
  • ตอนที่ 25 : การทบทวนสถานะของสถาบันการศึกษา( ต่อ)