การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหามีกี่รูปแบบ

         ��кǹ��÷�����㹡����ѭ���� 4 ��鹵͹ �ѧ�����
         1)  ��÷Ӥ������㨻ѭ��
              - �Ӥ������㨶��¤ӵ�ҧ � 㹻ѭ��
              - �¡�������͡�����觷���ͧ����Ҥ������
              - ������������͹䢡�˹���������ú�ҧ ��§�ͷ����Ҥӵͺ���������
         2) ����ҧἹ㹡����ѭ�� ���� 2 �óդ��
              2.1  �ջ��ʺ��ó�㹡����ѭ����ѡɳй�� � �ҡ�͹
                    - �Ԩ�ó���觷���ͧ�����
                    - ���͡�ѭ����ҷ�����ѡɳФ���¤�֧�Ѻ�ѭ�ҷ����� ��������Ƿҧ
                    - ��Ѻ��ا�Ƿҧ㹡����ѭ���������ʹ���ͧ��������Ѻ�ѭ������
                    - �ҧἹ��ѭ��
              2.2  ����ջ��ʺ��ó�㹡����ѭ���ѡɳй���ҡ�͹
                    - �Ԩ�ó���觷���ͧ�����
                    - ���Ըա������������������ѹ�������ҧ��觷���ͧ����ҡѺ�����ŷ��������
                    - �Ԩ�óҴ���� ��������ѹ��������ö�Ҥӵͺ��������� ���������ͧ�Ң������������ �����Ҥ�������ѹ����ٻẺ���
                    - �ҧἹ��ѭ��
               2.3  ���Թ�����ѭ�ҵ��Ἱ����ҧ��� ������ҧἹ�������ǡ���Թ�����ѭ�� ���Ἱ����ҧ��� �����ҧ��ô��Թ���
�������Ƿҧ��蹷��ա��� ������ö���һ�Ѻ����¹��
               2.4  ��Ǩ�ͺ�����ѭ�� ��������Ըա����ѭ������ ���繵�ͧ��Ǩ�ͺ��� �Ըա�÷���������Ѿ����١��ͧ�������         

      (3) ���Թ�����ѭ�ҵ��Ἱ����ҧ��� 
          ��������ա���ҧἹ���ǡ���Թ�����ѭ�� �����ҧ��ô��Թ�����ѭ�� �Ҩ���������Ƿҧ���ա��ҷ��Դ��������ö ��Ѻ����¹��

      (4)  ��õ�Ǩ�ͺ  �繢�鹵͹�ش���·����繵�ͧ�ա�õ�Ǩ�ͺ���Ѿ����� ����Թ��� ��ѭ�ҵ��Ἱ����ҧ���١��ͧ������� ��кǹ�����ѭ�� ����ö��ػ�͡����Ἱ�Ҿ�ѧ���

              

การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหามีกี่รูปแบบ

         �ٻ��� 1 �ʴ���кǹ�����ѭ��

- ปัญหาและความต้องการเกิดขึ้นกับใคร (Who)…

- ปัญหาและความต้องการนี้เกิดขึ้นที่ไหน (Where)

- ปัญหาและความต้องการนี้เกิดขึ้นเมื่อใด (When)

- ปัญหาและความต้องการนี้คืออะไร (What).

-ทำไมจึงเกิดปัญหาหรือความต้องการ (Why)

- ปัญหาหรือความต้องมีการมีลักษณะอย่างไร (How)

สิ่งสำคัญอันดับแรกในการจะแก้ปัญหาให้ได้ผล นั้น คือการยอมรับว่าปัญหาว่าเป็นปัญหา งงมั้ย หากงง อ่านใหม่  หากยังไม่เข้าใจอีกให้อ่านใหม่อีก สำคัญนะข้อนี้

2. กำจัดขอบเขตของปัญหา

คือการหาให้เจอว่าปัญหานั้นคืออะไร มีมากน้อยขนาดไหน เป็นปัญหาเล็ก ปัญหาใหญ่ เกิดบ่อยหรือนานๆเกิดที ปํญหาเล็กปัญหาใหญ่มีวิธีการแก้ไม่เหมือนกัน

3. กำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา

การมองหาทางออก วิธีที่จะใช้ในการแก้ปัญหา มีหลากหลาย บางวิธีแก้ระยะสั้น บางวิธีเป็นการแก้ระยะยาว

4. การลงมือทำตามแผน

ลงมือทำตามแผนที่วางไว้จริง เปรียบเหมือนการที่หมอจ่ายยาแล้วไม่กินยาตามสั่ง  ประเด็นคือเราจะไม่รู้ว่าอะไรคือปัญหา ไม่เกิดปัญญาในการเรียนรุ้ว่าแนวทางในการแก้ปัญหาคืออะไร

5. การติดตาม

การติดตามผลตอบรับและผลลัพธ์ที่ได้จากการแก้ไข ปัญหาเป็นเรื่องสำคัญ บางปัญหามีผลกระทบจากวิธีการแก้ มีปัญหาบานปลาย มีปัญหาข้างเคียง เพื่อหาทางเลือกอื่นๆในการแก้ปัญหาได้ตรงจุด

กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process). 

คือ  ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความต้องการซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากทรัพยากรให้เป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วยกระบวนการเทคโนโลยีก่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอย ตามที่มนุษย์ต้องการและเปลี่ยนแปลงการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำกิจกรรมต่างๆของมนุษย์  เพราะมนุษย์มีความต้องการในการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆในการดำรงชีวิต  ซึ่งจะนำไปสู่ปัญหาที่อาจเกิดจากการประดิษฐ์คิดค้นต่างๆที่มนุษย์สร้างขึ้น และบางครั้งปัญหาอาจเกิดการผลิตสิ่งของต่างๆไม่ตรงตามความต้องการไม่ได้คุณภาพจึงต้องมีการออกแบบ เพื่อจะนำมาแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าว.
ความสำคัญของกระบวนการทางเทคโนโลยี.

1. เป็นพื้นฐานปัจจัยจำเป็นในการดำเนินชีวิตของมนุษย์.

2. เป็นปัจจัยหลักที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนา.

3. เป็นเรื่องราวของมนุษย์ และธรรมชาติ.

ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วยกระบวนทางเทคโนโลยีทั้งหมด 7 ขั้นตอน ได้แก่.

1.กำหนดปัญหาหรือความต้องการ (Identification the problem,need or preference).
ละเอียด หรือกำหนดขอบเขตการแก้ปัญหา ระบุความต้องการให้ชัดเจนว่าต้องการอะไร โดยเขียนเป็นข้อความสั้น ๆให้ได้ใจความชัดเจน.

2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ(Information).
     เมื่อกำหนดปัญหาหรือความต้องการแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ เก็บรวบรวมข้อมูลและความรู้ทุกด้านที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือความต้องการเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมสำหรับแก้ปัญหา หรือสนองความต้องการที่กำหนดไว้ ทำได้หลายวิธี เช่น.
      • รวบรวมข้อมูลจากหนังสือ วารสารต่างๆ.
      • สำรวจตัวอย่างในท้องตลาด.
      • สัมภาษณ์พูดคุยกับคนอื่น.
      • ระดมสมองหาความคิด.
      • สืบค้นจากอินเตอร์เน็ต และจากแผ่นซีดีเสริมความรู้ ฯลฯ.
     ข้อมูลเหล่านี้จะนำไปสู่การได้วิธีการแก้ปัญหา หรือสนองความต้องการในหลายแบบ ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่สำคัญมาก ซึ่งจะเป็นช่องทางที่สามารถใส่เนื้อหาที่เราต้องการให้นักเรียนได้เรียนรู้ และถือว่าเป็นช่องทางของการบูรณาการได้ดีที่สุด.

 3.เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Selection of the best possible solution).
    ในขั้นนี้ เป็นการตัดสินใจเลือกแนวคิดที่ดีที่สุดสำหรับแก้ปัญหา โดยนำข้อมูล และความรู้ที่รวบรวมได้มาประกอบกันจนได้ข้อสรุปว่า จะเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือวิธีการสนองความต้องการเป็นแบบใด โดยวิธีการที่เลือกอาจยึดแนวที่ว่า เมื่อเลือกแล้วจะทำให้สิ่งนั้นดีขึ้น (Better) สะดวกสบายหรือรวดเร็วขึ้น(Fasterspeed) ประหยัดขึ้น (Cheaper) รวมทั้งวิธีการเหล่านี้ จะต้องสอดคล้องกับทรัพยากร (Resource) ที่มีอยู่

 4.ออกแบบและปฏิบัติ (Design and making).
    ขั้นตอนนี้ต้องการให้นักเรียนรู้จักคิดออกแบบ ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งของเครื่องใช้เสมอไป อาจเป็นวิธีการก็ได้ และการออกแบบไม่จำเป็นต้องเขียนแบบเสมอไป อาจเป็นแค่ลำดับความคิด หรือจินตนาการให้เป็นขั้นตอนซึ่งรวมปฏิบัติการลงไปด้วย นั่นคือเมื่อออกแบบแล้วต้องลงมือทำ และลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ออกแบบไว้.

5.ทดสอบ (Testing to see if it works).
    เป็นการนำสิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการนั้นทดลองใช้เพื่อทดสอบว่าใช้งานหรือทำงานได้ หรือไม่มีข้อบกพร่องอย่างไร ถ้ายังไม่ได้ก็ไปสู่ขั้นตอนต่อไป คือ ปรับปรุง แก้ไข.

 6.การปรับปรุง (Modification and improvement).
    หลังจากการทดสอบผลแล้วพบว่า สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้น หรือวิธีการที่คิดขึ้นไม่ทำงานมีข้อบกพร่อง ก็ทำการปรับปรุงแก้ไข โดยอาจเลือกวิธีการใหม่ก็ได้คือย้อนไปขั้นตอนที่ 3.

 7.ประเมินผล (Assessment).
    หลังจากปรับปรุงแก้ไขจนใช้งานได้ดีตามวิธีการที่ออกแบบแล้ว ก็นำมาประเมินผลโดยรวมโดยพิจารณาดังนี้
     • สิ่งประดิษฐ์สามารถแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการที่ระบุไว้ได้หรือไม่.
     • สวยงาม ดึงดูดใจผู้ใช้หรือไม่.
     • แข็งแรงทนทานต่อการใช้งานหรือไม่.
 • ต้นทูนสูงเกินไปหรือไม่.

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ.

         ไม่ว่าเราจะทำงานใดก็ตาม ปัญหาเป็นสิ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ การแก้ปัญหามีหลายวิธี ขึ้นกับชนิดของาน วิธีการแก้ปัญหาอย่างหนึ่งอาจแก้ปัญหาอีกอย่างหนึ่งไม่ได้ และการแก้ปัญหาอาจจำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือไม่ก็ได้ ดังนั้น จึงควรยึดหลักการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ เพื่อไม่ให้เสียเวลา หลงทาง และสับสน วิธีการแก้ปัญหาแต่ละวิธีมีความเหมาะสมกับงานแตกต่างกันไป ก่อนที่จะใช้วิธีแก้ปัญหา ด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ จะขอยกวิธีการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอนโดยทั้วไป มาให้พิจารณาดูจำนวนหนึ่ง
             การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหาที่ซับซ้อนด้วยวิธีการต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว ส่วนมากจำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วยเพื่อเพิ่มความรวดเร็ว ถูกต้อง และสามารถทำซ้ำได้ง่ายในกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วยแก้ปัญหา จำเป็นต้องปรับรูปแบบวิธีการทำงานให้เหมาะสมกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
            วิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นวิธีคล้ายกับการแก้ปัญกาทางวิศวกรรมมาก แต่ในการนำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานใดๆ ก็ตาม จะต้องมีการวิเคราะห์ปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้ให้รอบคอบเสียก่อน ทั้งนี้เนื่องจากคอมพิวเตอร์ไม่ใช้เครื่องมือวิเศษที่จะแก้ปัญหได้ทุกเรื่อง
            นอกจากนี้ยังจะต้องมีการศึกษาถึงความคุ้มค่าในการลงทุน เพื่อไม่ให้เป็นการลงทุนที่เสียเปล่า ต้องเลือกวิธีการแก้ปัญหาให้เหมาะสมกับงาน จัดหาเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ไม่เกินความจำเป็น
           การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เหมาะกับระบบงานที่ต้องทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งซากและมีปริมาณงานมากหรืองานที่ต้องการความรวดเร็วในการคำนวณเกินกว่าคนธรรมดาจะทำได้ วิธีการโดยทั้วไปคือ ปรับเปลี่ยนวิธีการหรือระบบการทำงานแบบเดิม มาใช้ระบบงานที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยทำงานเป็นบางส่วน หรือทั้งหมด เท่าที่สามารถจะทำแทนคนได้.

การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหามีกี่รูปแบบ