เชื้อเพลิงมีกี่ประเภท อะไรบ้าง


������ԧ ��� ���� � ������Դ������������� ������ѧ�ҹ������͹�͡�� ��觹�������ª���� �ҵط����ͧ���Сͺ����Ӥѭ�ͧ������ԧ��� ����͹ (C ) �������ਹ( H ) �����������ԧ�١������ �ҵؤ���͹�������ਹ�зӻ�ԡ����ҡѺ��ҫ�͡��ਹ �����Դ��ѧ-�ҹ������͹ �����С�ҫ����͹��͡䫴� ����㹺ҧ�����Ҩ���Դ��ҫ����͹�͹͡䫴� ���� ����
������ԧ �觵��ʶҹ����� 3 ������ ���
1. ������ԧ��ҫ ��������ԧ�����ʶҹ��繡�ҫ����س�������ͧ������ԧ������������ǹ�˭�����û�Сͺ���ä���͹ �� ��ҫ�����ҵ� ��ҫ�ا��� ��ҫ����Ҿ �繵�
2. ������ԧ���� ��������ԧ�����ʶҹ��繢ͧ���Ƿ���س�������ͧ �� ����ѹ��������� ��š����� ����ѹ�ת ����ѹ�ѵ�� �繵�
3. ������ԧ�� ��������ԧ�����ʶҹ��繢ͧ�秷���س�������ͧ �� ��ҹ�Թ �׹��ҹ��� �ź ��������� �ҹ���� �ҧ���� �����ʴص�ҧ � �繵�
������ԧ �觵�����觡��Դ ���� 2 ������ ���
1. ������ԧ�ҡ�����ҵ� ���¶֧ ������ԧ����Դ����ͧ��������ҵ� �ҡ�ת�ѵ�� ���ͨҡ��÷Ѻ���ͧ�ҡ�ת �ҡ�ѵ�� �����ҹҹ�Ѻ��ҹ � �� (fossil fuel) ������ԧ����ҹ������ö���������ª��������ͧ���ٻ���� �� �׹ ��ҹ ��ҹ�Թ ��ҫ�����ҵ� �Թ����ѹ ��������� �ź �繵�
2. ������ԧ���ٻ ���¶֧ ������ԧ����ͧ��ҹ��кǹ���㹡�ü�Ե��͹�֧�й��������ª����

ในสมัยก่อนการเติมน้ำมันมีเพียงเบนซินธรรมดากับพิเศษ แต่ปัจจุบันมี น้ำมันเชื้อเพลิง เกิดขึ้นอีกหลายประเภททำเอามือใหม่หัดขับสงสัยกันเป็นแถวเวลาเลี้ยวเข้าปั๊มน้ำมัน วันนี้จะมาทำความรู้จักกับ นํ้ามันเชื้อเพลิง ที่เกิดขึ้นใหม่ให้ได้หายสงสัยกัน ก่อนอื่น เราต้องมาทำความรู้จักกับคำว่าน้ำมันเชื้อเพลิง กันก่อนว่ามันคืออะไร มีกี่ประเภท ใช้สำหรับรถยนต์ประเภทไหน เพื่อเราจะได้เติมน้ำมันได้อย่างถูกต้อง

น้ำมันเชื้อเพลิงคืออะไร

ของเหลวที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบ หลังจากนั้นจึงนำมาปรับปรุงคุณภาพให้เหมาะสมต่อการใชงาน เพื่อใช้เผาให้เป็นพลังงานในการขับเคลื่อนของเครื่องยนต์ เครื่องเทอร์ไบน์ หรือใช้งานในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น ต้มน้ำในหม้อไอน้ำ ใช้นในเตาอบเครื่องปั้นดินเผา หรือ ในโรงงานเซรามิก และใช้ในการทำความร้อนให้แสงสว่าง เป็นต้น ซึ่งโดยทั่วไปน้ำมันเชื้อเพลิงที่จำหน่ายในสถานีบริการจะมีอยู่ 2 ประเภทดังนี้

น้ำมันเชื้อเพลิงมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

  1. น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้กับเครื่องยนต์เบนซิน
  2. น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล

1. น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้กับเครื่องยนต์เบนซิน

น้ำมันเบนซิน GASOLINE เป็น น้ำมันเชื้อเพลิง ส่วนที่เบาที่สุด ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบ เรียกว่า แนฟธา Naphtha แล้วจึงนำมาปรับปรุงคุณภาพ ที่สำคัญคือการเพิ่มค่าออกเทนน้ำมันเบนซิน ปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ น้ำมันเบนซินรถยนต์ Motor Gasoline และน้ำมันเบนซินอากาศยาน Aviation Gasoline ทั้งสองประเภทนี้มีข้อแตกต่างกันตรงที่น้ำมันอากาศยานจะมีค่าออกเทนสูงกว่าน้ำมันเบนซินรถยนต์มาก

สำหรับน้ำมันเบนซินที่ขายอยู่ในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ น้ำมันเบนซิน น้ำมันแก๊สโซฮอล์ และน้ำมันดีเซล โดยสามารถจำแนกน้ำมันที่ขายตามท้องตลาดได้ ประมาณ 7 ประเภทและก๊าซ 2 ประเภท

  1. น้ำมันเบนซิน ออกเทน 91 มีความคล้ายคลึงกับเบนซิน ออกเทน 95 เป็นเวอร์ชั่นที่ถูกลดคุณภาพลงมาเล็กน้อย แต่ยังคงไม่มีส่วนผสมของเอทิลแอลกอฮอล์ใด ๆ แม้จะมีค่าออกเทนน้อย กว่าจนส่งผลทำให้การตอบสนองการขับขี่ไม่ดีเท่าออกเทน 95 แต่เมื่อใช้จริงก็แทบจะไม่ต่างกันเท่าใดนัก
  2. น้ำมันเบนซิน ออกเทน 95 – สุดยอดน้ำมันแห่งยานยนต์ ด้วยคุณสมบัติที่สามารถจะใช้ได้กับรถยนต์แทบทุกประเภท เนื่องจากไม่มีส่วนผสมของเอทิลแอลกอฮอล์พร้อมมีค่าออกเทนสูง การเผาไหม้ของเครื่องยนต์สมบูรณ์ ทำให้เบนซิลออกเทน 95 เป็นน้ำมันที่ตอบสนองการขับได้ดีที่สุด
  3. น้ำมันแก๊สโซฮอลล์ ออกเทน 95 – มีคุณสมบัติตามมาตรฐานที่กำหนด สามารถใช้ทดแทนน้ำมันเบนซิน 95 ธรรมดาได้มีส่วนผสมระหว่างเอทานอลหรือเอทิลแอลกอฮอล์ มีความบริสุทธิ์ 99.5% ผสมกับน้ำมันเบนซิน 95 ในอัตราส่วน น้ำมัน 9 ส่วน เอทานอล 1 ส่วน น้ำมันแก๊สโซฮอล์ 95 ต่างจากน้ำมันเบนซิน 95 โดยน้ำมันแก๊สโซฮอล์ 95 ผลิตจากน้ำมันเบนซินออกอทน 91 ผสมกับเอทานอบซึ่งเป็นตัวเพิ่มค่าออกเทน ทำให้ได้แก๊สโซฮอล์ที่มีออกเทนเท่ากับน้ำมันเบนซิน 95 ที่ใช้สาร MTBE (Methyl Tertiary Butyl Ether) เป็นสารเพิ่มค่าออกเทนแต่สาร MTBE มีข้อเสียคือ ทำให้เกิดการปนเปื้อนกับน้ำใต้ดินและน้ำดื่ม
  4. น้ำมันแก๊สโซฮอลล์ ออกเทน 91 – มีคุณสมบัติมาตรฐานที่กำหนดและสามารถใช้ ทดแทนน้ำมันเบนซิน 91 ธรรมดาได้ โดยมีส่วนผสมระหว่างเอทานอลหรือเอทิล แอลกอฮอล์มีความบริสุทธิ์ 99.5$ ผสมกับน้ำมันเบนซิน 91 ในอัตราส่วนน้ำมัน 9 ส่วน เอทานอล 1 ส่วนผลดีต่อเครื่องยนต์ ไม่มีผลกระทบต่อสมรรถนะเครื่องยนต์ และอัตราการเร่งไม่แตกต่างจากน้ำมันเบนซิน 91 สามารถเติมผสมกับน้ำมันเบนซินที่อยู่ในถังได้เลย
  5. น้ำมันแก๊สโซฮอลล์ E20 – คือน้ำมันที่มีส่วนผสมน้ำมันเชื้อเพลิงที่ได้จากการน้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่วผสมกับเอทานอล หรือ เอทิลแอลกอฮอล์ ซึ่งเป็น แอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 99.5% ในอัตราส่วน 80% ต่อเอทานอล 20%
  6. น้ำมันแก๊สโซฮอลล์ E85 – คือน้ำมันที่มีส่วนผสมน้ำมันเชื้อเพลิงที่ได้จากการนำน้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่วผสมกับเอทานอล หรือ เอทิลแอลกอฮอล์ ซึ่งเป็นแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 99.5% ในอัตราส่วน เบนซิน 15% ต่อเอทานอล 85% ได้เป็นน้ำมัน
  7. ไบโอดีเซล – คือน้ำมันพืชหรือน้ำมันสัตว์ รวมทั้งน้ำมัน้แล้วจากการปรุงอาหารนำมาทำปฏิกิริยาทางเคมีกับแอลกอฮอล์ เรียกอีกอย่างว่า สารเอสเตอร์ มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับน้ำมันดีเซลมาก
  8. ก๊าซ LPG – หรือก๊าซหุงต้ม เป็นก๊าซที่ได้จากกระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติและขบวนการกลั่นน้ำมันเป็นสารประกอบพวกไฮโดรคาร์บอน ประกอบด้วยก๊าซโปรเปน และบิวเทนเป็นส่วนประกอบหลัก มีคุณสมบัติหนักกว่าอากาศประมาณ 1.5-2 เท่า ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่เป็นพิษ
  9. ก๊าซ NGV – คือก๊าซธรรมชาติที่มี มีเทน เป็นส่วนประกอบหลักและถูกอัดจนมีความดันสูง ซึ่งถูกอัดที่แรงดัน 200 Bar หรือ 3000 PSI และถูกกักเก็บไว้ในถังบรรจุก๊าซธรรมชาติอัดที่ถูกผลิตขึ้นมาเป็นพิเศษให้สามารถรองรับแรงดันได้ โดยมีสภาพเป็นก๊าซหรือไอที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ มีค่าความถ่วงจำเพาะต่ำกว่าอากาศ จึงเบากว่าอากาศ เมื่อเกิดการรั่วไหลจะฟุ้งกระจายไปตามบรรยากาศอย่างรวดเร็ว จึงมีมีการสะสมลุกไหม้บนพื้นราบ

2. น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล

น้ำมันดีเซล DIESEL น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนต์ดีเซล มี 2 ชนิดคือน้ำมันดีเซล และ น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว แต่ในสถานีบริการทั่วไปจะจำหน่ายเฉพาะน้ำมันดีเซลหมุนเร็วเท่านั้น นอกจากนี้หากคุณจะไม่ได้ใช้รถยนต์มากกว่าหนึ่งเดือน ก็ไม่ควรจะเติมน้ำมันชนิดแก๊สโซฮอล์เด็ดขาด เพราะจะทำให้น้ำมันระเหย และเสียค่าในเครื่องยนต์ได้

อ่านเพิ่มเติม : เติมน้ำมันผิด เคลมประกันได้หรือไม่ พร้อมแนะนำวิธีรับมือ !

เป็นอย่างไรกันบ้าง เมื่อทราบกันดีแล้วว่า น้ำมันเชื้อเพลิง คืออะไร มีกี่ประเภท แล้วประเภทไหนที่เหมาะกับรถยนต์ของคุณ ก็ต้องเติมน้ำมันให้ถูกกับรถยนต์ของเรา เพื่อประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องยนต์ได้เต็มกำลังในการขับเคลื่อนยนต์และรักษาเครื่องยนต์ให้มีประสิทธิภาพไปนาน ๆ

ชนิดของเชื้อเพลิงแข็งมีกี่ชนิด

เชื้อเพลิงที่มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง เช่น ไม้ ฟืน ถ่านไม้ แกลบ หินน้ำมัน ถ่านหิน ลิกไนต์ ถ่านโค้ก เชื้อเพลิงอัดแท่ง (fuel briquetts) เป็นต้น เป็นเชื้อเพลิงที่สมารถใช้ประโยชน์ได้แพร่หลาย เช่น เป็นเชื้อเพลิงของหม้อน้ำในโรงงานอุตสาหกรรม โรงจักรกังหันไอน้ำ ตลอดจนเป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ่านโค้ก ...

เชื่อเพลิงคืออะไร มีความสําคัญอย่างไร

เชื้อเพลิง คือวัสดุใดๆ ที่นำไปเผาไหม้หรือแปรเปลี่ยนเพื่อนำมาซึ่งพลังงาน เชื้อเพลิงจะปลดปล่อยพลังงานผ่านปฏิกิริยาทางเคมีเช่นการเผาไหม้ หรือปฏิกิริยานิวเคลียร์เช่นการแตกตัวหรือการรวมตัวของนิวเคลียส อย่างใดอย่างหนึ่ง คุณสมบัติสำคัญของเชื้อเพลิงที่มีประโยชน์คือพลังงานที่มีอยู่สามารถถูกบรรจุและปลดปล่อยได้ตามต้องการ และการ ...

ธาตุที่เป็นองค์ประกอบสําคัญของเชื้อเพลิงแข็ง มีธาตุใดบ้าง

ๆ โครงสร้างของถ่านหินจะประกอบด้วยธาตุ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ หลัก และมีธาตุอื่นเป็นส่วนผสมรอง ๆ ลงไป เช่น กำมะถัน ซิลิคอน ไนโตรเจน อะลูมิเนียม ฯลฯ โดย ปริมาณของคาร์บอนจะมากที่สุด ถ่านหินที่มีเวลาในการทับถมและไล่ความร้อนออกไปนาน ๆ จะทำให้มี เปอร์เซ็นต์ของคาร์บอนในเนื้อถ่านมากขึ้น มีผลให้คุณภาพของ ...

น้ํามันเชื้อเพลิง มีอะไรบ้าง

น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้กับรถยนต์แบ่งได้เป็น 3 ประเภทด้วยกันคือ น้ำมันเบนซิน น้ำมันแก๊สโซฮอล์ และน้ำมันดีเซล