ดอกเบี้ย 2.75 ต่อเดือน คิดยังไง

1. ฝากเงินก้อนนึงตั้งแต่เดือนมกราคม ในบัญชีออมทรัพย์ธรรมดา ดอกเบี้ย 0.5% ต่อปีและไม่ถอนเลย จำนวน 10,000 บาท เมื่อสิ้นปีจะได้ดอกเบี้ยเท่าไหร่

ดอกเบี้ยที่ได้ = เงินฝาก* อัตราดอกเบี้ย * (จำนวนวันที่ฝาก/ 365 วัน) แทนค่าไปในสูตร 10,000 บาท * 0.5% * (365/365) = 50 บาท

2. ถ้ากรณีคิดดอกเบี้ยครึ่งปีจำนวนวันที่ฝากก็จะลดลง เหลือ 180 วัน แทนค่าในสูตรได้ 10,000* 0.5% *( 180/365) = ประมาณ 24.65 บาท

โดยปกติแล้วธนาคารจะจ่ายดอกเบี้ย 2 รอบคือเดือนมิถุนายนและเดือนธันวาคม ฉะนั้นให้ใช้แบบตัวอย่างที่ 2 ก็ได้เพราะครึ่งปีแรกกับครึ่งปีหลังก็จะได้ดอกเบี้ยเท่ากัน

แบบที่ 2 กรณีฝากเงินไม่ได้เริ่มต้นปี

1. ฝากเงินก้อนนึงตั้งแต่เดือนเมษายน ในบัญชีออมทรัพย์ธรรมดา ดอกเบี้ย 0.5% ต่อปีและไม่ถอนเลย จำนวน 10,000 บาท ธนาคารจ่ายดอกเบี้ยเดือน มิถุนายน ดังนั้นตั้งแต่เดือนเมษายน-มิถุนายน ระยะเวลาประมาณ 90 วัน จะได้ดอกเบี้ยเท่าไหร่

ดอกเบี้ยที่ได้ = เงินฝาก* อัตราดอกเบี้ย * (จำนวนวันที่ฝาก/ 365 วัน) แทนค่าไปในสูตร 10,000 บาท * 0.5% * (90/365) = 12.32 บาท

แบบที่ 3 กรณีฝากเงิน 2 รอบก่อนจ่ายดอกเบี้ยครึ่งปี

ฝากเงินก้อนนึงตั้งแต่ วันที่ 1 เดือนมกราคม ในบัญชีออมทรัพย์ธรรมดา ดอกเบี้ย 0.5% ต่อปีและไม่ถอนเลย จำนวน 10,000 บาท และมาฝากเงินอีก 10,000 บาท วันที่ 1 เดือนเมษายน ในคอบครึ่งปีเดือนมิถุนายนจะได้ดอกเบี้ยเท่าไหร่

1. ดอกเบี้ยจากเงินฝากก้อนแรก 10,000 บาทตั้งแต่ วันที่ 1 เดือนมกราคมมาถึงวันที่ 31 เดือนมีนาคมประมาณ 90 วันดอกเบี้ยที่ได้ = เงินฝาก* อัตราดอกเบี้ย * (จำนวนวันที่ฝาก/ 365 วัน) แทนค่าไปในสูตร 10,000 บาท * 0.5% * (90/365) = 12.32 บาท

2. ดอกเบี้ยจากเงินฝากเพิ่มอีก 10,000 บาทในวันที่ 1 เดือนเมษายนรวมเงินฝากก้อนเดิมอีก 10,000 บาทเป็น 20,000 บาท ไปจ่ายดอกเบี้ยในเดือน มิถุนายน รวมเวลา 90 วัน ดอกเบี้ยที่ได้ = เงินฝาก* อัตราดอกเบี้ย * (จำนวนวันที่ฝาก/ 365 วัน) แทนค่าไปในสูตร 20,000 บาท * 0.5% * (90/365) = 24.65 บาท

ฉะนั้นในรอบเดือนมิถุนายนที่ธนาคารจ่ายดอกเบี้ยก็จะได้ประมาณ  36.97 บาท

ฝากเงินอาทิตย์เดียวได้ดอกเบี้ยเบี้ยเท่าไหร่

เนื่องจากเงินฝากของเราธนาคารคิดดอกเบี้ยให้เป็นรายวันอยู่แล้วแต่จะจ่ายให้ทุกรอบกลางปีและสิ้นปี ถ้าสมมติว่าไม่นับว่าเริ่มต้นฝากเงินเดือนไหนแต่ฝากแค่ 7 วันธนาคารก็ให้ดอกเบี้ยเหมือนกัน ตัวอย่างวิธีคิดคือ

ฝากเงินในบัญชีออมทรัพย์ธรรมดา ดอกเบี้ย 0.5% ต่อปีและไม่ถอนเลย จำนวน 10,000 บาท ระยะเวลา 7 วัน จะได้ดอกเบี้ยที่ได้ = เงินฝาก* อัตราดอกเบี้ย * (จำนวนวันที่ฝาก/ 365 วัน) แทนค่าไปในสูตร 10,000 บาท * 0.5% * (7/365) = 0.95 บาท ครับ

หลายคนไม่รู้ว่าถ้าเรามีเงินนิ่งๆ อยู่ในธนาคาร 1 วันหรือ 2 วันเค้าก็คิดดอกเบี้ยให้แล้ว แต่อาจจะไม่ได้เยอะ ฉะนั้นอย่าทิ้งเงินไว้ในกระปุกที่บ้านเลย เอาไปฝากไว้กับธนาคารจะดีกว่า

เปลี่ยนจากฝากเงินเอาดอกเบี้ยหลักสิบเป็นความคุ้มครองหลักล้านและได้ลงทุนดีกว่า

เพื่อนๆ กำลังฝากเงินไว้ในธนาคารเพื่อเอาดอกเบี้ยที่เท่ากับเงินทอนอยู่รึป่าว หรือกำลังมองหาประกันสะสมทรัพย์เพื่อความคุ้มครองแต่ผลตอบแทนที่ได้ก็ไม่คุ้มค่า

จํานวนเงินดีจัง โอนเงินเข้าบัญชี 10,000.00 บาท อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 0.99 ต่อเดือน จํานวนงวดทีเลือกผ่อน 10 งวด ค่างวดทีลูกค้าต้องชําระทุกงวด (((10,000 x 0.99%) x10) +10,000) / 10 = 1,099 บาท

2.2 เลือกชำระหนี้แบบผ่อนชำระขั้นต่ำหรือเต็มจำนวน
อัตราดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก 25% ต่อปี

ยอดที่ต้องชำระขั้นต่ำ คือ ยอดที่ต้องชำระขั้นต่ำ 3% + ยอดใช้จ่ายส่วนที่เกินวงเงิน + ยอดค้างชำระยอดที่ต้องชำระขั้นต่ำ 3% = (ยอดหนี้รวม* – ยอดใช้จ่ายส่วนที่เกินวงเงิน – ยอดค้างชำระ) x 3%
**ยอดหนี้รวม หมายถึง เงินต้น + ดอกเบี้ย
ทั้งนี้ ในกรณีที่ท่านมียอดหนี้ที่ต้องชำระเป็นรายงวดต้องชำระหนี้ ตามงวดนั้นๆ เพิ่มเติมจากยอดที่ต้องชำระขั้นต่ำที่คำนวณข้างต้น

ใช้คำนวณดอกเบี้ยของสินเชื่อเกือบทุกประเภท เช่น สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย โดยคิดดอกเบี้ยจากเงินต้นคงเหลือในแต่ละงวด​​​​​

กรณีทั่วไป

มีสูตรการคำนวณคือ

ดอกเบี้ย 2.75 ต่อเดือน คิดยังไง


กรณีกำหนดให้ชำระหนี้เดือนละเท่า ๆ กัน

สมมติว่า ต้องการกู้เงิน 12,000 บาท ระยะเวลาผ่อน 6 เดือน อัตราดอกเบี้ย 24% ต่อปี สถาบันการเงินจะคำนวณจำนวนเงินผ่อนต่องวดจากสูตรดังต่อไปนี้​

ดอกเบี้ย 2.75 ต่อเดือน คิดยังไง


ในกรณีนี้สถาบันการเงินปัดยอดเงินต่องวดขึ้นและให้ผ่อนชำระงวดละ 2,150 บาท ยกเว้นเดือนสุดท้ายที่จะให้ผ่อนชำระ 2,093 บาท ซึ่งสามารถจำแนกเป็นสัดส่วนของเงินต้นและดอกเบี้ยในแต่ละงวดตามสูตรที่ได้กล่าวถึงในกรณีทั่วไปได้ดังนี้

ดอกเบี้ย 2.75 ต่อเดือน คิดยังไง
 



FCCPageContent2

​อยากรู้ว่าดอกเบี้ยที่ไหนถูกหรือแพง ลองแปลง Flat Rate เป็น Effective Rate ช่วยได้

ในการเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยของสินเชื่อที่ต่างประเภทกัน เราไม่สามารถนำตัวเลขอัตราดอกเบี้ยเงินกู้แบบเงินต้นคงที่ (Flat Rate) มาเปรียบเทียบโดยตรงกับตัวเลขอัตราดอกเบี้ยเงินกู้แบบลดต้นลดดอก (Effective Rate) ได้ เพราะวิธีการคิดดอกเบี้ยแตกต่างกันดังที่ได้อธิบายข้างต้น แต่หากจะแปลงอัตราดอกเบี้ยจากอัตราดอกเบี้ยเงินกู้แบบเงินต้นคงที่เป็นแบบลดต้นลดดอกแบบคร่าว ๆ  ก็สามารถทำได้โดยใช้ 1.8 คูณกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้แบบเงินต้นคงที่



ตัวอย่าง

วัลลภต้องการเช่าซื้อรถยนต์ แต่เขากำลังคิดว่าจะเลือกใช้บริการจากที่ไหนดีระหว่างผู้ให้เช่าซื้อ A และ B

​​

​​​ ผู้ให้เช่าซื้อ​อัตราดอกเบี้ยต่อปี​​วิธีคิดดอกเบี้ยA4 %เงินต้นคงที่ (Flat Rate)B6 %ลดต้นลดดอก (Effective Rate)​​​​

ถ้าดูกันแค่ตัวเลขก็เหมือนว่า A จะถูกกว่า แต่ที่จริงแล้ว เมื่อวัลลภลองแปลงอัตราดอกเบี้ยแบบเงินต้นคงที่ของ A เป็นแบบลดต้นลดดอก ก็จะพบว่า อัตราดอกเบี้ยของ A แบบลดต้นลดดอกโดยประมาณ =  4% x 1.8  =  7.2%


เห็นอย่างนี้แล้ว วัลลภก็ได้รู้ว่าเมื่อคำนวณเป็นแบบลดต้นลดดอกเหมือนกันเพื่อให้เปรียบเทียบกันได้แล้ว ดอกเบี้ยของ A แพงกว่า B ประมาณ 1.2% ต่อปี  ดังนั้น B ก็อาจเป็นทางเลือกที่ดีของวัลลภ หากคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ นอกเหนือจากอัตราดอกเบี้ย เช่น ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ความสะดวกในการชำระเงิน คุณภาพการให้บริการของ A และ B ประกอบด้วยแล้วไม่ได้แตกต่างกันเท่าใดนัก 


ดังนั้น ก่อนกู้เงินหรือขอสินเชื่อจึงต้องศึกษาข้อมูลให้แน่ใจว่าคิดดอกเบี้ยแบบไหน ใช้อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอะไรและเท่าไหร่ โดยแปลงให้เป็นวิธีคิดแบบเดียวกันเพื่อให้เปรียบเทียบได้ว่าถูกแพงต่างกันอย่างไร​

FCCPageContent3


คำถามถามบ่อย

ดอกเบี้ย 2.75 ต่อเดือน คิดยังไง

ทำไมอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง เช่น MLR ของแต่ละธนาคารไม่เท่ากัน​

ดอกเบี้ย 2.75 ต่อเดือน คิดยังไง
เพราะต้นทุนของธนาคารแต่ละแห่งไม่เท่ากัน ซึ่งเกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย เช่น อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก สภาพคล่อง อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงที่ธนาคารต้องดำรง ซึ่งอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงจะมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงในแต่ละช่วงเวลา  นอกจากนี้ ในทางปฏิบัติธนาคารก็มักจะใช้ MLR กับทั้งลูกค้ารายใหญ่และรายย่อย​
ดอกเบี้ย 2.75 ต่อเดือน คิดยังไง

ทำไมอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงมีบวกหรือลบต่อท้ายด้วย เช่น MLR + X% และทำไม X% ของลูกค้าแต่ละรายจึงไม่เท่ากัน

การคิดดอกเบี้ยต่อเดือนคิดยังไง

สูตรวิธีคิดดอกเบี้ยต่อเดือนของธนาคารจะมีสูตรในการคำนวนคือ เอาจำนวนเงินกู้ทั้งหมดคูณด้วยดอกเบี้ยคูณด้วยระยะเวลา ( จำนวนเงิน x ดอกเบี้ย x ระยะเวลา ) ก็จะได้จำนวนดอกเบี้ยเงินกู้ธนาคารที่เราจะต้องจ่ายให้กับธนาคาร หลายคนอาจสงสัยว่าการคิดดอกเบี้ยต่อปีคิดยังไง การคิดดอกเบี้ยต่อปีจะใช้วิธีคิดดอกเบี้ยเหมือนกันกับวิธีคิดดอกเบี้ย ...

ดอกเบี้ยร้อยละต่อปี คิดยังไง

ดอกเบี้ย = [(เงินต้น x อัตราดอกเบี้ย (%) x จำนวนวันที่ฝากในงวดนั้น) / จำนวนวันทั้งปี] โดยแบ่งคำนวณเป็น 2 ส่วน คือ ดอกเบี้ยงวดครึ่งปีแรก = [(10,000 x 0.25% x 181) / 365] = 12.39 บาท ดอกเบี้ยงวดครึ่งปีหลัง = [(10,012.39 x 0.25% x 184) / 365] = 12.61 บาท

อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย3 ปี คิดยังไง

ผู้กู้ควรเปรียบเทียบอีกครั้งด้วยการทำเป็นอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย 3 ปี โดยรวมอัตราดอกเบี้ยของแต่ละธนาคารทั้ง 3 ปี เข้าด้วยกัน จากนั้นหารด้วย 3 เช่น อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของธนาคาร A เท่ากับ (2.65%+2.65%+3.45%) ÷3 = 2.92% ต่อปี นำมาเปรียบเทียบในตารางได้ ดังนี้

ดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อเดือน ผิดกฎหมายไหม

“ท่านห้ามคิดดอกเบี้ยเกินร้อยละ 15 ต่อปี” กรณีจำนวนเงินตามสัญญากู้เงิน คิดดอกเบี้ยเกินอัตรารวมเป็นต้นเงินด้วย คงตกเป็นโมฆะเฉพาะต้นเงินที่ไม่ชอบเท่านั้น ผู้ให้กู้คงมีสิทธิฟ้องเรียกคืนเฉพาะส่วนต้นเงินที่ชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น