จ่ายเงินเดือนช้า ผิดกฎหมายไหม

กฎหมายแรงงานสัมพันธ์กำหนดให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ มีอำนาจสั่งให้นายจ้างรับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน หรือจ่ายค่าเสียหายกรณีนายจ้างผิดหน้าที่โดยการเลิกจ้าง ในลักษณะที่เป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม(มาตรา41(4)แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์)

         ในทางกฏหมายเราสามารถเรียกร้องเอาความยุติธรรมได้มากน้อยแค่ไหน  เรื่องมีอยู่ว่าแรก ๆ บริษัทที่ดิฉันทำงานอยู่สิ้นเดือนมาเงินก็ไม่ออกเลยมาถึงประมาณวันที่ 5 เดือน  ต่อมาจากวันที่ 5 จ่ายครึ่งเดียว  แล้วอีกครึ่งไม่มีผู้บริหารระดับสูงคนไหนออกมาแจ้งให้พนักงานทราบว่า อีกส่วนที่เหลือจะออกให้วันไหน  นี่ก็ผ่านมาหลายวันแล้วค่ะ ถ้าต้องป็นแบบนี้ทุกเดือนมันก็แย่ ทุกคนต่างมีภาระต้องจ่ายทั้งหนี้ธนาคารบัตรเครดิต ค่ารถฯลฯ ขอความช่วยเหลือและทางออกเกี่ยวกับด้านกฏหมายด้วย

สาเหตุที่ทําให้ลูกจ้างถูกไล่ออกตามกฎหมายมีอะไรบ้าง

- ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง เช่น ลูกจ้างกระทำการโกงเงิน ยักยอกเงิน หรือแสวงหาผลประโยชน์จากบริษัทเพื่อไปเป็นของตัวเอง - จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย ถือว่าเข้าข่ายกระทำความผิดโดยนายจ้างสามารถเลิกจ้างได้ทันทีโดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า และไม่ถือเป็นการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม

แจ้งเลิกจ้างกี่วัน

เลิกจ้างเพราะย้ายสถานประกอบกิจการ ต้องแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน หากลูกจ้างไม่ได้รับแจ้งจะได้รับเงินชดเชยแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน นอกจากนี้ในกรณีที่มีการบอกล่วงหน้า แต่ลูกจ้างไม่ต้องการย้ายไปทำงานที่ใหม่ ก็มีสิทธิได้รับค่าชดเชยไม่น้อยกว่า 50% ของค่าชดเชยถูกเลิกจ้างที่มีสิทธิได้รับ

กฎหมายกำหนดให้ลูกจ้างทำงานกี่ชั่วโมง

1. ชั่วโมงการทำงาน 4.1 สถานประกอบกิจการต้องกําหนดชั่วโมงการทํางานปกติของลูกจ้างไม่เกิน วันละ 8 ชั่วโมง หรือสัปดาห์ละไม่เกิน 48 ชั่วโมง และต้องจัดให้มีวันหยุดอย่างน้อย 1 วันในทุกสัปดาห์ 1.2 สถานประกอบกิจการต้องเป็นสิทธิของลูกจ้างในการทำงานล่วงเวลาสำหรับ งานทั่วไป.

ออกงานกระทันหัน มีความผิดไหม

ลูกจ้างลาออกกระทันหัน หรือยื่นใบลาออกแล้วหายไปไม่มาทำงานอีกเลย (เพราะได้งานใหม่ หรือไปเรียนต่อ หรือประกอบอาชีพอิสระ ) ย่อมเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมาย (ม.17 แห่ง พรบ.คุ้มครองแรงงานฯ) และผิดระเบียบข้อบังคับของนายจ้าง และอาจเป็นการทำผิดสัญญาจ้างหากมีข้อตกลงให้ลูกจ้างจะลาออกต้องบอกล่วงหน้าก่อน