ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล

คำสำคัญ:

กระบวนการเผยแผ่, พระพุทธศาสนา, วัฒนธรรมไทย

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่อง กระบวนการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทยของพระสงฆ์ไทยในประเทศอินเดีย-เนปาล  มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษาหลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาล (2) เพื่อศึกษากำเนิดและพัฒนาการพระธรรมทูตไทยประเทศอินเดีย- เนปาล (3) เพื่อศึกษากระบวนการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทยของพระสงฆ์ไทยในอินเดีย-เนปาล 

ผลการศึกษาพบว่า พระพุทธเจ้าได้เผยแผ่พระพุทธศาสนาตลอด 45 พรรษา ทรงมีวิธีการแสดงธรรมของพระพุทธเจ้ามีเพียงแค่ 2 ประเภท (1) สัจจานุโลมกถา ทรงแสดงธรรมอนุโลมคล้อยตามอริยสัจ 4 ได้แก่ อนุบุพพีกถา เพื่อให้เข้ากับจริตของผู้ฟัง แล้วสอนอริยสัจ 4 เป็นลำดับสุดท้าย (2) สัจจกถา ทรงแสดงอริยสัจ 4 โดยตรง พระพุทธเจ้าส่งพระธรรมทูตชุดแรกคือปัญจวัคคีย์และอริยสาวกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั่วชมพูทวีป พระธรรมทูตผู้ประกาศสัทธรรมของพระพุทธเจ้า สั่งสอนเพื่อประโยชน์แก่สันติภาพแก่สรรพสัตว์ ช่วยปิดประตูอบาย  ช่วยเปิดประตูสวรรค์  มรรคและผล  พระธรรมทูตยุคเริ่มแรกในประเทศไทยกรมการศาสนาได้ฟื้นฟู ให้มีงานพระธรรมทูตขึ้นในปี พ.ศ. 2507 ถึง ปี
พ.ศ.2508 โดยมีความมุ่งหมายให้ประชาชนยึดมั่นในพระพุทธศาสนา  พระสงฆ์ไทยที่ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา  ต้องดำเนินตามนโยบาย  2  ประการ คือ (1) นโยบายพระธรรมและพระวินัย (2) นโยบายการปกครองคณะสงฆ์ไทย  กระบวนการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและวัฒนธรมไทยของพระสงฆ์ไทยในอินเดีย-เนปาล ผ่านองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ (1) ศาสนาบุคคล  (2) ศาสนธรรม (3) ศาสนวัตถุ  (4) ศาสนพิธี  

Downloads

Download data is not yet available.

References

บรรณานุกรม
กระทรวงวัฒนธรรม. (2559). นำความเป็นไทย สู่ประชาชนสู่อาเซียนและสากล
กรุงเทพมหานคร: รุ่งศิลป์การพิมพ์.
กรมศิลปากร. (2539). พระบรมสารีริกธาตุ. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์ พริ้นติ๊ง แอนด์พับลิงชิง.
พระครูวิเวกวราภรณ์ (ประสิทธิ์ ฐานวโร), (2558) บทบาทของพระธรรมทูตที่มีต่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในโรงเรียนมัธยมศึกษาอำเภอเมืองจังหวัดสุรินทร์. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต.บัณฑิตวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2542). มองสันติภาพโลกผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์.
กรุงเทพมหานคร: ธรรมสารจำกัด.
พระมหากัจจายนเถระ. (2558). เปฏโกปเทสปกรณ์. มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ แปล. กรุงเทพมหานคร:มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ
2500. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
_________.(2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2532). พระไตรปิฎกและอรรถกถา ชุด 91 เล่ม. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์มหามกุฏราชราชวิทยาลัย.
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (2545). สมัยแรกพระพุทธศาสนาเป็นประธาน
ของประเทศ ในสุวรรณภูมิอยู่ที่นี่ ที่แผ่นดินสยาม . กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มติชน.
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (2513). ตำนานพระพุทธเจดีย์, ธนบุรี : รุ่งวัฒนาการพิมพ์.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน). (2546). พระวรธรรมคติ.ในพระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ 9. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2540). พุทธวิธีการสอนจากพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร : เพชรรุ่งการพิมพ์ จำกัด,

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล

How to Cite

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล

सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणतन्त्र नेपाल (เนปาล)

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล

ธงชาติ

คำขวัญ: 
जननी जन्मभूमिश्च स्वर्गादपि गरीयसी (สันสกฤต)
"แผ่นดินแม่มีค่ายิ่งกว่าสวรรค์"

เพลงชาติ: सयौँ थुँगा फूलका हामी
"เราคือบุปผานับร้อย"

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล
เมืองหลวง

และเมืองใหญ่สุด

กาฐมาณฑุ
28°10′N 84°15′E / 28.167°N 84.250°Eพิกัดภูมิศาสตร์: 28°10′N 84°15′E / 28.167°N 84.250°E
ภาษาราชการภาษาเนปาล
การปกครองสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภา

• ประธานาธิบดี

พิทยา เทวี ภัณทารี

• รองประธานาธิบดี

Nanda Kishor Pun

• นายกรัฐมนตรี

Pushpa Kamal Dahal
การรวมชาติ

• สถาปนาราชอาณาจักร

21 ธันวาคม พ.ศ. 2311

• สถาปนารัฐชั่วคราว

15 มกราคม พ.ศ. 2550

• สถาปนาสาธารณรัฐ

28 มิถุนายน พ.ศ. 2551
พื้นที่

• รวม

147,181 ตารางกิโลเมตร (56,827 ตารางไมล์) (92)

• แหล่งน้ำ (%)

2.8
ประชากร

• สำมะโนประชากร 2554

26,494,504[1]

• ความหนาแน่น

180 ต่อตารางกิโลเมตร (466.2 ต่อตารางไมล์) (62)
จีดีพี (อำนาจซื้อ)2564 (ประมาณ)

• รวม

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล
$122.62 พันล้าน[2] (84th)

• ต่อหัว

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล
$4,199[2] (144th)
จีดีพี (ราคาตลาด)2564 (ประมาณ)

• รวม

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล
$36.084 พันล้าน (98th)

• ต่อหัว

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล
$1,236[2] (158th)
จีนี (2553)32.8[3]
ปานกลาง
เอชดีไอ (2562)
ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล
 0.602[4]
ปานกลาง · 142
สกุลเงินรูปี (NPR)
เขตเวลาUTC+5:45 (NPT)
ขับรถด้านซ้ายมือ
รหัสโทรศัพท์977
โดเมนบนสุด.np

ประเทศเนปาล (เนปาล: नेपाल) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (อังกฤษ: Federal Democratic Republic of Nepal; เนปาล: सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणतन्त्र नेपाल "สงฺฆีย โลกตานฺตฺริก คณตนฺตฺร เนปาล") เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียใต้ มีพื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 27 ล้านคน ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 93 ของโลก และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 41 ของโลก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย มีพรมแดนทิศเหนือติดสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศใต้ ตะวันออกและตะวันตกติดสาธารณรัฐอินเดีย ประเทศเนปาลแยกจากประเทศบังกลาเทศด้วยฉนวนศิลิกูริ (Siliguri Corridor) แคบ ๆ ในประเทศอินเดีย และแยกจากประเทศภูฏานด้วยรัฐสิกขิมของอินเดีย กรุงกาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศ

ภาคเหนือของประเทศเนปาลซึ่งเป็นแถบภูเขามีแปดจากสิบภูเขาสูงสุดในโลก ซึ่งรวมยอดเขาเอเวอร์เรสต์ จุดสูงสุดบนโลก ยอดเขากว่า 240 แห่งซึ่งสูงเกิน 6,096 เมตร (20,000 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเลอยู่ในประเทศเนปาล ส่วนภาคใต้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์และชื้น

ชาวเนปาลประมาณ 81.3% นับถือศาสนาฮินดู เป็นสัดส่วนสูงสุดในโลก ศาสนาพุทธมีความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับประเทศเนปาล และมีประชากรนับถือ 9% ตามด้วยศาสนาอิสลาม 4.4% Kiratism 3.1% ศาสนาคริสต์ 1.4% และวิญญาณนิยม 0.4% ประชากรสัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคภูเขา อาจระบุตัวว่าเป็นทั้งฮินดูและพุทธ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของธรรมชาติกลมเกลียวของทั้งสองความเชื่อในประเทศเนปาลก็เป็นได้

ประเทศเนปาลปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยตลอดประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ราชวงศ์ศาหะปกครองตั้งแต่ปี 2311 เมื่อพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะทรงรวมราชอาณาจักรเล็ก ๆ จำนวนมาก จนปี 2551 สงครามกลางเมืองนานหนึ่งทศวรรษซึ่งเกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) ตามด้วยการประท้วงใหญ่โดยพรรคการเมืองหลักทุกพรรค นำสู่ความตกลง 12 ข้อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2548 การเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ซึ่งตามมาสนับสนุนการเลิกราชาธิปไตยและการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนหลายพรรคการเมืองอย่างท่วมท้น แม้ความท้าทายทางการเมืองยังดำเนินไป แต่กรอบนี้ยังอยู่ โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 2 ซึ่งได้รับเลือกตั้งในปี 2556 ในความพยายามเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่

ประเทศเนปาลเป็นประเทศกำลังพัฒนาโดยมีเศรษฐกิจรายได้ต่ำ อยู่ในอันดับที่ 145 จาก 187 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ในปี 2557 ประเทศเนปาลยังเผชิญกับความหิวและความยากจนระดับสูง แม้ความท้าทายเหล่านี้ ประเทศเนปาลยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐบาลผูกมัดยกระดับประเทศจากสถานภาพประเทศด้อยพัฒนาภายในปี 2565

ประวัติศาสตร์[แก้]

ยุคโบราณ[แก้]

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล

ยุคกลาง[แก้]

ราชอาณาจักร[แก้]

ดูบทความหลักที่: ราชอาณาจักรเนปาล

ก่อนปีพ.ศ. 2311 หุบเขากาฐมาณฑุแบ่งออกเป็นสามอาณาจักร จนกระทั่งผู้นำเผ่ากุรข่า ปฤฐวี นารายัณ ศาห์ สามารถรวบรวมอาณาจักรในหุบเขาเข้าด้วยกัน และหลังจากนั้นได้ทำสงครามขยายอาณาเขตออกไป จนในปี พ.ศ. 2357 - พ.ศ. 2359 เกิดสงครามอังกฤษ-เนปาล กองทัพกุรข่าพ่ายแพ้ ต้องทำสนธิสัญญาและจำกัดอาณาเขตเนปาลเหลือเท่าปัจจุบัน[5]

ในปี พ.ศ. 2391 ชัง พหาทุระ รานา ซึ่งเป็นขุนนางในประเทศ ยึดอำนาจจากราชวงศ์ศาห์ โดยยังคงราชวงศ์ศาห์ไว้เป็นประมุขแต่ในนาม ตระกูลรานาได้รับการสนับสนุนจากสหราชอาณาจักร เนปาลได้ส่งกองทัพเข้าร่วมกับกองทัพบริเตนในหลายสงคราม ทำให้สหราชอาณาจักรทำสนธิสัญญามิตรภาพกับเนปาลในปี พ.ศ. 2466 ซึ่งในสนธิสัญญานี้ สหราชอาณาจักรได้ยอมรับเอกราชของเนปาลอย่างชัดเจน[6]

ในปี พ.ศ. 2494 เกิดการต่อต้านการปกครองของตระกูลรานา นำโดยพรรคเนปาลีคองเกรสและกษัตริย์ตริภุวัน ทำให้โมหัน สัมเสระ ชัง พหาทุระ รานา ผู้นำคนสุดท้ายของตระกูลรานาคืนอำนาจให้แก่กษัตริย์ศาห์ และจัดการเลือกตั้ง

หลังจากเนปาลได้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยในช่วงสั้น ๆ โดยจัดการเลือกตั้งครั้งแรกในปี พ.ศ. 2502 แต่กษัตริย์มเหนทระได้ยุบสภา ยึดอำ นาจในปี พ.ศ. 2503 และใช้ระบอบปัญจายัตแทน จนมาถึงการปฏิรูปการปกครองในปี พ.ศ. 2533 ทำให้เปลี่ยนจากระบอบปัญจายัต ที่ห้ามมีพรรคการเมือง มาเป็นระบอบรัฐสภาแบบพหุพรรค[7]

ในปี พ.ศ. 2539 พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) ได้เปิดฉากสงครามประชาชน มีเป้าหมายที่จะสถาปนาสาธารณรัฐสังคมนิยมขึ้นแทนระบอบราชาธิปไตย นำมาซึ่งสงครามกลางเมืองซึ่งกินเวลายาวนานถึงสิบปี ในปี พ.ศ. 2544 เกิดเหตุสังหารหมู่ในพระราชวัง โดยเจ้าชายทิเปนทระ มกุฎราชกุมารในสมัยนั้น และกษัตริย์ชญาเนนทระได้ขึ้นครองราชสมบัติแทน ในปี พ.ศ. 2548 กษัตริย์ชญาเนนทระได้ยึดอำนาจจากรัฐบาล นำมาซึ่งการประท้วงจากประชาชนและพรรคการเมืองในเวลาต่อมา จนต้องคืนอำนาจให้กับรัฐสภา รัฐสภาเนปาลได้จำกัดพระราชอำนาจของกษัตริย์ และให้เนปาลเป็นรัฐโลกวิสัย (secular state)

ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2550 รัฐสภาเนปาลได้ผ่านกฎหมายที่จะเปลี่ยนเนปาลเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย โดยมีผลหลังการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2551[8]

ในวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 รัฐบาลเนปาลประกาศยกเลิกระบอบกษัตริย์ สถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยขึ้น โดยกำหนดให้ชญาเนนทระและอดีตพระบรมวงศานุวงศ์ต้องออกจากพระราชวังภายใน 15 วัน และกำหนดให้วันที่ 28 - 30 พฤษภาคม เป็นวันหยุดราชการ[9]

การเมืองการปกครอง[แก้]

บริหาร[แก้]

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล

ในปัจจุบัน เนปาลเข้าสู่ระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ มีนายราม วะรัณ ยาทวะ เป็นประธานาธิบดีคนแรก จากการลงคะแนนเสียงของสภาร่างรัฐธรรมนูญ 308 เสียง และนายคีรีชา ปราสาท โกอีราละ อดีตรักษาการณ์ประมุขแห่งรัฐทำหน้าที่นายกรัฐมนตรีต่อไป จนมีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่อันนำโดยพรรคคอมมิวนิสต์ลัทธิเหมา หรืออดีตกลุ่มกบฏลัทธิเหมา ซึ่งมีนายประจันดา เป็นนายกรัฐมนตรี [10] แต่หลังจากที่นายประจันดา ต้องการให้อดีตกลุ่มกบฏของเขาเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพ จึงมีกระแสกดดันมาจากผู้บัญชาการทหารสูงสุดของเนปาล และรวมทั้งประธานาธิบดียาดัฟ นายประจันดาจึงประกาศลาออก และสภาได้เลือกนายมาดัฟ คูมาร์ เนปาล อดีตเลขาธิการใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์ลัทธิมาร์ก-เลนิน ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ก่อนครบรอบ 1 ปีของการสถาปนาระบอบสาธารณรัฐในเนปาล

ปัจจุบัน นายซูชิล คอยราลา (Sushil Koirala) ได้รับเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 4 ของเนปาล สาบานตนเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557[11]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

ประเทศเนปาลแบ่งออกเป็น 14 รัฐ ดังนี้

  1. รัฐพาคมตี
  2. รัฐเภรี
  3. รัฐธวัลคิรี
  4. รัฐคันดากิ
  5. รัฐชนกปุระ
  6. รัฐการ์นาลี
  7. รัฐโกษิ
  1. รัฐลุมพินี
  2. รัฐมหากาลี
  3. รัฐเมจี
  4. รัฐนรยานี
  5. รัฐรัปติ
  6. รัฐสกรมาธา
  7. รัฐเสทิ

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล

เศรษฐกิจ[แก้]

โครงสร้าง[แก้]

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล

พื้นที่เกษตรกรรมมีเพียงร้อยละ 17 พืชที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโพด ข้าวเจ้า พื้นที่ 2 ใน 3 ปกคลุมด้วยป่าไม้ มีการตัดไม้เพื่อเป็นวัตถุดิบของอุตสาหกรรมไม้อัด โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กที่แปรสภาพผลผลิตทางการเกษตร ได้แก่ โรงงานน้ำตาล โรงงานกระดาษ รายได้ส่วนใหญ่ของประเทศได้มาจากการค้าแรงงานของชาวเนปาลที่อยู่ต่างประเทศ และส่งเงินกลับมาให้กับครอบครัวที่อาศัยอยู่ในเนปาล ธุรกิจการท่องเที่ยวมีจุดสนใจอยู่ที่การท่องเที่ยวเชิงผจญภัยและวัฒนธรรม เช่นการเดินเขา ปีนเขา และล่องแก่ง ตัวอย่างสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญในเนปาล อาทิ ยอดเขาเอเวอร์เรสต์, วัดปศุปฏินาถ, วัดสวยมภูวนาถ, พระราชวังกาฐมัณฑุ, เมืองโพคารา และลุมพินีวัน เป็นต้น

ประชากร[แก้]

เชื้อชาติ[แก้]

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล

ภาษาที่พูดในเนปาล แบ่งตามจำนวนคนพูด

  • กลุ่มเนปาลีชาวเนปาลดั้งเดิมเป็นชนชาติมองโกลอยด์ ผสมกับพวกอินโด-อารยันจากอินเดีย เป็น
    • อินโด-เนปาลี 52%
    • ไมกิลิ 11%
    • โภชปุริ 8%
    • ถารู 3.6%
  • กลุ่มกิราต เช่น
    • ราอิ
    • สุนุวาร์
    • ลิมบุ
    • กุรุง
    • มอกร์
    • เนวาร์
    • ตามาง
    • เซร์ปา
    • ทากาลิ
    • ทีมาล

ศาสนา[แก้]

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล

  • ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 81%
  • ศาสนาพุทธนิกายมหายาน 11%
  • ศาสนาอิสลาม 4.2%
  • ศาสนาคริสต์ 1.4%

อ้างอิง[แก้]

  1. "National Population and Housing Census 2011 (National Report)" (PDF). Central Bureau of Statistics (Nepal). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-18. สืบค้นเมื่อ 26 November 2012.
  2. ↑ 2.0 2.1 2.2 "Report for Selected Countries and Subjects". IMF. สืบค้นเมื่อ 15 April 2020.
  3. "Nepal". World Bank.
  4. "Human Development Report 2020" (PDF) (ภาษาอังกฤษ). United Nations Development Programme. December 15, 2020. สืบค้นเมื่อ December 15, 2020.
  5. Andrea Matles Savada, ed. Nepal: A Country Study - The Enclosing of Nepal. Washington: GPO for the Library of Congress, 1991.
  6. Andrea Matles Savada, ed. Nepal: A Country Study - The Ranas. Washington: GPO for the Library of Congress, 1991.
  7. Country Profile: Nepal. 2005. Federal Research Division, Library of Congress.
  8. Vote to abolish Nepal's monarchy. BBC News. 2007-12-28.
  9. Republic Day celebrated in DC เก็บถาวร 2008-10-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Nepali Post. 2008-05-28
  10. Nepal declared secular, federal democratic republic. Sify. 2008-05-28. Retrieved 2008-05-28.
  11. http://sameaf.mfa.go.th/th/news/detail.php?ID=4977&SECTION=NEWS

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ผู้มีบทบาทสําคัญในการเผยแผ่ เนปาล
วิกิท่องเที่ยว มีคำแนะนำการท่องเที่ยวสำหรับ Nepal
  • ประเทศเนปาล เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บไซต์กระทรวงต่างประเทศไทย
  • ประวัติประเทศเนปาล เก็บถาวร 2009-04-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บไซต์กระทรวงต่างประเทศไทย
ภาษาอังกฤษ
  • รัฐบาลเนปาล
  • ข้อมูลเนปาลจากห้องสมุดคองเกรส
  • United States ข้อมูลเนปาลจากกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ
  • ข้อมูลเนปาลจากเดอะเวิลด์แฟกต์บุก ซีไอเอ เก็บถาวร 2010-12-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • ข้อมูลประเทศเนปาลจากแนชันแนลจีโอกราฟิก