ขาดส่งประกันสังคม มาตรา 40

สำนักงานประกันสังคมถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยของสมาชิกที่เข้าเป็นผู้ประกันตน เพราะถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ผู้ประกันตนควรรู้ แต่หากขาดส่งประกันสังคมขึ้นมาจะเกิดปัญหาอะไรบ้าง และขาดส่งกี่เดือนถึงจะโดนตัดสิทธิ

สำนักงานประกันสังคมถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยของสมาชิกที่เข้าเป็นผู้ประกันตน เพราะถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ผู้ประกันตนควรรู้ เพราะหากต้องเข้าโรงพยาบาลหรือเกิดเหตุฉุกเฉินอื่น ๆ ประกันสังคมสามารถช่วยเหลือได้ในหลาย ๆ เรื่อง แต่หากขาดส่งประกันสังคมขึ้นมาจะเกิดปัญหาอะไรบ้าง และขาดส่งกี่เดือนถึงจะโดนตัดสิทธิ จะทำอย่างไรหากขาดส่งประกันสังคม วันนี้ TNN มีคำตอบมาให้คุณค่ะ


ใครที่อาจขาดสิทธิประกันสังคม

- ผู้ประกันตนมาตรา 39 และมาตรา 40 ที่เป็นสมาชิกของสำนักงานประกันสังคม


เมื่อไหร่ถึงขาดสิทธิประกันสังคม

- ขาดส่งเงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือภายในระยะเวลา 12 เดือน

- เสียชีวิต

- กลับไปเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33

- ลาออกจากความเป็นผู้ประกันตนจากการแสดงความจำนงที่สำนักงาน


กรณีผู้ประกันตนตามมาตรา 39 มีการขาดส่งเงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือภายในระยะเวลา 12 เดือน ส่งเงินสมทบไม่ครบ 9 เดือน จะสิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 โดยไม่สามารถส่งเงินสมทบตามมาตรา 39 ต่อได้อีก


ทั้งนี้ เว้นแต่ผู้ประกันตนมีการทำงานกับนายจ้างใหม่จึงจะสามารถเข้ามาเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 โดยจะมีการบันทึกข้อมูลต่อเนื่องจากของเดิม และเมื่อลาออกจากงานสามารถสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ได้ ภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่ลาออกจากงาน โดยติดต่อ สปส.กทม.พื้นที่/จังหวัด/สาขาใกล้ที่พักอาศัย

สำนักงานประกันสังคม เตือนผู้ประกันตน ม.40 ส่งเงินสมทบ ก่อนถูกตัดสิทธิ์ เช็กเงื่อนไข ช่องทางการชำระเงิน

วันที่ 26 ธันวาคม 2564 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน แจ้งเตือนผู้ประกันตน มาตรา 40 หรือกลุ่มผู้ประกอบอาชีพอิสระ ฟรีแลนซ์ ให้ส่งเงินสมทบก่อนถูกตัดสิทธิ์์ โดยเงื่อนไขที่จะสามารถใช้สิทธิ์ตามมาตรา 40 ได้ มีดังนี้

  • เชียงใหม่ ไชน่าทาวน์ ทุนจีนยึด “สันกำแพง-หางดง”
  • สถิติหวย ตรวจหวย ผลสลากกินแบ่งรัฐบาลงวด 16 กุมภาพันธ์ ย้อนหลัง 10 ปี
  • รู้ยัง! เพิ่มคุ้มครองประกันรถใหม่ ตายรับขั้นต่ำ 1 ล้านต่อราย ดีเดย์ 1 เม.ย.นี้

กรณีประสบอันตราย/เจ็บป่วย

Advertisement

ผู้ประกันตนต้องจ่ายเงินสมทบครบ 3 เดือน ภายใน 4 เดือน ก่อนประสบอันตราย/เจ็บป่วยฃ

กรณีทุพพลภาพ

กรณ๊นี้ ขึ้นอยู่กับระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบ

Advertisement

  • จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 6 เดือน ภายในระยะเวลา 10 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 500 บาทต่อเดือน
  • จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 12 เดือน ภายในระยะเวลา 20 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 650 บาทต่อเดือน
  • จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 24 เดือน ภายในระยะเวลา 40 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 800 บาทต่อเดือน
  • จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 36 เดือน ภายในระยะเวลา 60 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 1,000 บาทต่อเดือน

กรณีตาย

ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบครบ 6 เดือน ภายใน 12 เดือนก่อนเสียชีวิต โดยผู้จัดการศพจะได้รับค่าทำศพ

ช่องทางชำระเงินสมทบ ม.40

  • เคาน์เตอร์เซอร์วิส (เซเว่น-อีเลฟเว่น)
  • แอปพลิเคชัน ShopeePay
  • ตู้บุญเติม
  • เซ็นเพย์ พาวเวอร์ by บุญเติม
  • ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
  • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)
  • ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
  • เคาน์เตอร์โลตัส
  • เคาน์เตอร์บิ๊กซี

Advertisement

ม.40 ปรับลดเงินสมทบ 6 เดือน

ผู้ประกันตน มาตรา 40 หรือ ผู้ประกอบอาชีพอิสระ ค้าขาย ฟรีแลนซ์ การสมัครเข้าร่วมเป็นผู้ประกันตนจะไม่กระทบกับสิทธิ์บัตรทอง หรือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ และจะได้รับสิทธิประโยชน์เพิ่มขึ้น และปรับลดเงินสมทบให้ผู้ประกันตน 3 ทางเลือก ดังนี้

1. ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบ 70 บาท/เดือน (ลดเหลือ 42 บาท/เดือน) คุ้มครอง 3 กรณี

  • กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับเงินทดแทนการขาดรายได้
  • ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง วันละ 300 บาท
  • ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) มีใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง วันละ 200 บาท
  • ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) หยุดไม่เกิน 2 วัน ได้รับความคุ้มครอง ครั้งละ 50 บาท (ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง )
  • รับสิทธิผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกันไม่เกิน 30 วัน/ปี
  • กรณีทุพพลภาพ รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 500 – 1,000 บาท เป็นเวลา 15 ปี (ขึ้นกับระยะเวลาจ่ายเงินสมทบ)
  • กรณีตาย ได้รับเงินค่าทำศพ 25,000 บาท

2. ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบ 100 บาท/เดือน (ลดเหลือ 60 บาท/ เดือน) คุ้มครอง 4 กรณี

  • กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับเงินทดแทนการขาดรายได้
  • ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง วันละ 300 บาท
  • ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) มีใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง วันละ 200 บาท
  • ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) หยุดไม่เกิน 2 วัน ได้รับความคุ้มครอง ครั้งละ 50 บาท (ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง )
  • รับสิทธิผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกันไม่เกิน 30 วัน/ปี
  • กรณีทุพพลภาพ รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 500 – 1,000 บาท เป็นเวลา 15 ปี (ขึ้นกับระยะเวลาจ่ายเงินสมทบ)
  • กรณีตาย ได้รับเงินค่าทำศพ 25,000 บาท
  • กรณีชราภาพ ได้รับเงินก้อนพร้อมดอกผล (จากเงินออมสะสม ตามจำนวนงวดที่จ่ายเงินสมทบ) 50 บาท/เดือน

3. ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบ 300 บาท/เดือน (ลดเหลือ 180 บาท/เดือน) คุ้มครอง 5 กรณี

  • กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับเงินทดแทนการขาดรายได้
  • ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง วันละ 300 บาท
  • ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) มีใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง วันละ 200 บาท
  • รับสิทธิผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกันไม่เกิน 90 วัน/ปี
  • กรณีทุพพลภาพ รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 500 – 1,000 บาท ตลอดชีวิต
  • กรณีตาย ได้รับเงินค่าทำศพ 50,000บาท
  • กรณีชราภาพ ได้รับเงินก้อนพร้อมดอกผล (จากเงินออมสะสม ตามจำนวนงวดที่จ่ายเงินสมทบ) 150 บาท/เดือน
  • กรณีสงเคราะห์บุตร ได้รับเงินรายเดือนตั้งแต่แรกเกิด ถึงอายุครบ 6 ปีบริบูรณ์ เดือนละ 200 บาท/คน คราวละไม่เกิน 2 คน

ทั้งนี้ การจ่ายสิทธิประโยชน์เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเกิดสิทธิ สามารถติดต่อขอรับสิทธิประโยชน์ได้ที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด/สาขาที่สะดวก สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.sso.go.th หรือโทรสายด่วน 1506 ให้บริการทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง

ขาดส่งประกันสังคมมาตรา 40 ได้กี่เดือน

รวมชำระเงินสมทบได้ไม่เกิน 13 งวด 💬 กรณีเงินสมทบเพิ่มเติม ชำระได้ ไม่เกินเดือนละ 1,000 บาท 🚫 ไม่สามารถชำระเงินสมทบ

มาตรา 40 ขาดส่งส่งต่อได้ไหม

ผู้ประกันตนมาตรา 40 หากขาดส่งเงินสมทบ ยังสามารถกลับมาเริ่มจ่ายอย่างต่อเนื่องได้

ส่งประกันสังคมมาตรา 40 ย้อนหลังได้ไหม

ทั้งนี้ ในการจ่ายเงินสมทบของผู้ประกันตนมาตรา 40 จ่ายเป็นรายเดือน ๆ ละ 1 ครั้ง และจ่ายเงินสมทบล่วงหน้าได้ครั้งละไม่เกิน 12 เดือน แต่ไม่สามารถจ่ายเงินสมทบย้อนหลังได้

จ่ายประกันสังคม ช้าได้กี่วัน มาตรา40

เรียนคุณ Panisara Aum Sriwang ผู้ประกันตนมาตรา 40 มีสิทธิการได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย เมื่อนำส่งเงินสมทบครบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือภายใน 4 เดือนย้อนหลัง มีการนำส่งเงินสมทบรวมกันไม่น้อยกว่า 3 เดือน ก่อนเดือนที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยค่ะ สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ