การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564

การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564

Advertisement

อาเซียนเปิดฉากประชุมสุดยอดผู้นำวันแรก ไร้เงาผู้แทนเมียนเข้าร่วมประชุม หลังประกาศบอยคอตประท้วง ‘มิน อ่อง หล่าย’ ไม่ได้รับเชิญ

วันที่ 26 ต.ค. 2564 สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า การประชุมสุดยอดผู้นำสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน ครั้งที่ 38 และ 39 เปิดฉากขึ้นอย่างเป็นทางการในวันนี้ ในรูปแบบการประชุมทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีผู้นำจากชาติสมาชิก 9 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นเมียนมาซึ่งออกประกาศบอยคอตการประชุม หลังจากที่ พล.อ.อาวุโส มิน อ่อง ลาย ผู้นำรัฐบาลทหารถูกกีดกันไม่ให้เข้าร่วมการประชุม แม้ก่อนหน้านี้ อาเซียนได้มีมติเชิญเจ้าหน้าที่ระดับสูงของเมียนมาที่ไม่ได้มาจากฝ่ายการเมืองเข้าร่วมประชุมแทน 

การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนมีกำหนดจัดขึ้นเป็นเวลา 3 วัน ในระหว่างวันที่ 26-28 ต.ค. นี้ ภายใต้แนวคิดหลัก “เราห่วงใย เราเตรียมพร้อม เรารุ่งเรือง” (We care, We prepare, We prosper) โดยที่ประชุมจะหยิบยกประเด็นสำคัญๆ ในภูมิภาคขึ้นมาหารือ ทั้งประเด็นในเรื่องการเสริมสร้างความยืดหยุ่นของสมาคมอาเซียนต่อการฟื้นตัวในภูมิภาคการการแพร่ระบาดของโควิด-19 ตลอดจนปัญหาความท้าทายต่างๆ โอกาสใหม่ๆ และการรักษาความร่วมมือระหว่างสมาชิก

นอกจากนี้ ที่ประชุมจะมีการหารือกับประเทศคู่ค้านอกอาเซียน อาทิ สหรัฐฯ, จีน, ญี่ปุ่น, อินเดีย, เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย รัสเซีย และนิวซีแลนด์ ซึ่งทำเนียบขาวยืนยันว่า ประธานาธิบดีโจ ไบเดน ของสหรัฐฯ จะเข้าร่วมการประชุมด้วยตนเอง นับเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ปี ที่ผู้นำสหรัฐฯ เข้าร่วมการประชุมอาเซียน หลังจากที่อดีตประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ เคยเข้าร่วมการประชุมเมื่อปี 2560 หลังจากนั้นเป็นการส่งผู้แทนเข้าร่วมการประชุม

ขณะที่ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พร้อมรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง ได้เข้าร่วมและกล่าวถ้อยแถลงในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 38 ผ่านระบบการประชุมทางไกล พร้อมผู้นำสมาชิกอาเซียน ณ ตึกภักดีบดินทร์ ทำเนียบรัฐบาล โดยนายกรัฐมนตรี ได้กล่าวถ้อยแถลงในการประชุมเห็นว่าการต่อสู้กับโควิด–19 สะท้อนให้เห็นถึงความเปราะบางของภูมิภาคต่อภัยคุกคาม ดังนั้น นอกจากเราจะต้องร่วมมือกันแก้ไขเรื่องการแพร่ระบาดและผลกระทบของโควิด–19 แล้ว ควรถอดบทเรียนจากโควิด–19 มาใช้เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ประชาคมอาเซียนพร้อมรับมือกับความท้าทายใหม่ ๆ ในอนาคต 

นอกจากนี้ นายกรัฐมนตรียังได้เน้นย้ำความมุ่งมั่นของไทยในการขับเคลื่อนประชาคมอาเซียน และส่งเสริมการรวมตัวของภูมิภาคให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น เพื่อให้อาเซียนเป็นพลังสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของโลก

podcast

กำลังโหลดบทความถัดไป...

การประชุมสุดยอดอาเซียน

คำขวัญ: "One Vision, One Identity, One Community"
(หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม)

การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564

สีเขียวคือสมาชิกอาเซียน

สำนักงานใหญ่
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 
อินโดนีเซีย
รัฐสมาชิก

สิบรัฐ

  • การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
     
    กัมพูชา
  • การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
     
    ไทย
  • การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
     
    บรูไน
  • การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
     
    พม่า
  • การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
     
    มาเลเซีย
  • การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
     
    ลาว
  • การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
     
    เวียดนาม
  • การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
     
    ฟิลิปปินส์
  • การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
     
    สิงคโปร์
  • การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
     
    อินโดนีเซีย

ผู้นำ

• 

การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 
อินโดนีเซีย
[1]

• ประธาน

การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
เหงียน ซวน ฟุก

• เลขาธิการ

การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
ลิม จก โฮย
สถาปนา8 สิงหาคม 2510

เว็บไซต์
http://www.asean.org/

การประชุมสุดยอดอาเซียน[2] (อังกฤษ: ASEAN Summit) เป็นการประชุมประจำปีที่จัดขึ้นโดยสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) ภายใต้หัวข้อ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้แนวทางในการดำเนินกิจกรรมความร่วมมือต่าง ๆ ของเหล่าสมาชิก

ประวัติ[แก้]

ประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียนได้จัดการประชุมขึ้น เรียกว่า การประชุมสุดยอดอาเซียน ซึ่งหัวหน้ารัฐบาลแต่ละประเทศสมาชิกจะมาอภิปรายและแก้ไขประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ รวมไปถึงการจัดการประชุมร่วมกับประเทศนอกกลุ่มสมาชิกเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งแรกจัดขึ้นที่จังหวัดบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2519 จากผลของการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่สาม ณ กรุงมะนิลา ในปี พ.ศ. 2530 สรุปว่าผู้นำประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียนควรจะจัดการประชุมขึ้นทุกห้าปี[3] อย่างไรก็ตาม ผลของการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งต่อมาที่ประเทศสิงคโปร์ ในปี พ.ศ. 2535 ได้เสนอให้จัดการประชุมให้บ่อยขึ้น และได้ข้อสรุปว่าจะมีการจัดการประชุมสุดยอดขึ้นทุกสามปีแทน[3] ต่อมา ในปี พ.ศ. 2544 ผู้นำสมาชิกประเทศกลุ่มอาเซียนได้เสนอให้จัดการประชุมขึ้นทุกปีเพื่อแก้ไขประเด็นปัญหาด่วนที่ส่งผลกระทบในพื้นที่ ประเทศสมาชิกจะได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดขึ้นเรียงตามตัวอักษร ยกเว้นประเทศพม่า ซึ่งถูกยกเลิกการเป็นเจ้าภาพการประชุมในปี พ.ศ. 2549 เนื่องจากปัญหาทางด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีแรงกดดันจากสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547[4]

การประชุมอาเซียนอย่างเป็นทางการมีกำหนดการสามวัน ดังนี้

  • ผู้นำของรัฐสมาชิกจะจัดการประชุมภายใน
  • ผู้นำของรัฐสมาชิกจะหารือร่วมกันกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในที่ประชุมกลุ่มอาเซียน
  • การประชุมที่เรียกว่า "อาเซียนบวกสาม" ผู้นำรัฐสมาชิกจะประชุมร่วมกับผู้นำสาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ โดยจัดขึ้นพร้อมกับการประชุมสุดยอดอาเซียน
  • การประชุมที่เรียกว่า "อาเซียน-เซอร์" ผู้นำรัฐสมาชิกจะประชุมร่วมกับผู้นำออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
การประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างเป็นทางการ
ครั้งที่วันที่ประเทศสถานที่จัดการประชุม
1 23-24 กุมภาพันธ์ 2519
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 อินโดนีเซีย
บาหลี
2 4-5 สิงหาคม 2520
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 มาเลเซีย
กัวลาลัมเปอร์
3 14-15 ธันวาคม 2530
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 ฟิลิปปินส์
มะนิลา
4 27-29 มกราคม 2535
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 
สิงคโปร์
สิงคโปร์
5 14-15 ธันวาคม 2538
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 
ไทย
กรุงเทพมหานคร
6 15-16 ธันวาคม 2541
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 เวียดนาม
ฮานอย
7 5-6 พฤศจิกายน 2544
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 บรูไน
บันดาร์เซอรีเบอกาวัน
8 4-5 พฤศจิกายน 2545
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 กัมพูชา
พนมเปญ
9 7-8 ตุลาคม 2546
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 อินโดนีเซีย
บาหลี
10 29-30 พฤศจิกายน 2547
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 ลาว
เวียงจันทน์
11 12-14 ธันวาคม 2548
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 มาเลเซีย
กัวลาลัมเปอร์
12 11-14 มกราคม 25501
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 ฟิลิปปินส์2
เซบู
13 18-22 พฤศจิกายน 2550
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 
สิงคโปร์
สิงคโปร์
143 27 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม 2552
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 
ไทย
ชะอำ, หัวหิน
10–11 เมษายน 2552 พัทยา
15 23-25 ตุลาคม 2552 ชะอำ, หัวหิน
16 8-9 เมษายน 2553
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 เวียดนาม
ฮานอย
17 28-31 ตุลาคม 2553
18 7-8 พฤษภาคม 2554
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 อินโดนีเซีย4
จาการ์ตา
19 14-19 พฤศจิกายน 2554 บาหลี
20 3-4 เมษายน 2555
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 กัมพูชา
พนมเปญ
21 17–20 พฤศจิกายน 2555
22 24–25 เมษายน 2556
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 บรูไน
บันดาร์เซอรีเบอกาวัน
23 9–10 ตุลาคม 2556
24 10–11 พฤษภาคม 2557
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 พม่า
กรุงเนปยีดอ
25 10–12 พฤศจิกายน 2557
26 26‒27 เมษายน 2558
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 มาเลเซีย
กัวลาลัมเปอร์, เกาะลังกาวี
27 18–22 พฤศจิกายน 2558 กัวลาลัมเปอร์
28 6–8 กันยายน 2559
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 ลาว
เวียงจันทน์
29
30 26-27 เมษายน 2560
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 ฟิลิปปินส์
ปาไซ
31 10-14 พฤศจิกายน 2560
32 25-28 เมษายน 2561
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 
สิงคโปร์
สิงคโปร์
33 11–15 พฤศจิกายน 2561
34 20–23 มิถุนายน 2562[5]
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 
ไทย
กรุงเทพมหานคร
35 31 ตุลาคม–4 พฤศจิกายน 2562[6] กรุงเทพมหานคร, นนทบุรี[7][8]
36 14 เมษายน 2563
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 เวียดนาม
ฮานอย (ประชุมทางไกลผ่านวีดิทัศน์)5
37 11–15 พฤศจิกายน 2563
38 26–28 ตุลาคม 2564
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 บรูไน
บันดาร์เซอรีเบอกาวัน (ประชุมทางไกลผ่านวีดิทัศน์)5
39
40 10–13 พฤศจิกายน 2565
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 กัมพูชา
พนมเปญ
41
42 TBA
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
 อินโดนีเซีย
TBA
43 TBA
1 การประชุมเลื่อนออกไปเป็นวันที่ 10-14 ธันวาคม เนื่องจากภัยไต้ฝุ่น.
2 พม่าไม่ได้รับอนุญาตให้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม เนื่องจากความกดดันอย่างหนักจากสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป.
3 การประชุมถูกเลื่อนออกไปสองครั้งเนื่องจากการชุมนุมประท้วงของกลุ่มต่อต้านรัฐบาล.
4 อินโดนีเซียเสนอแลกเปลี่ยนกับบรูไนอาจจะเป็นเจ้าภาพเอเปค (และอาจมีการประชุม G20) ในปี 2013.
5 เวียดนามและบรูไนเป็นประธานการประชุมสมัยพิเศษว่าด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ผ่านระบบการประชุมทางไกล.
6 เลื่อนจากกำหนดเดิมปลายเดือนเมษายน เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 โดยเวียดนามเป็นประธานการประชุม.

การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 4[แก้]

จัดขึ้นใน พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) การประชุมในครั้งนี้ได้เป็นจุดเริ่มต้นของการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area หรือ AFTA) ขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและเพิ่มขีดความสามารถในการเป็นฐานการผลิตที่สำคัญของเหล่าประเทศสมาชิก ในการป้อนหรือส่งออกสินค้าไปสู่ตลาดโลก โดยเปิดเสรีทางการค้าและลดภาษีซึ่งถือเป็นอุปสรรคสำคัญ รวมทั้งลดข้อกีดขวางทางการค้าต่าง ๆ ที่นอกเหนือจากภาษีด้วย

การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 12[แก้]

การประชุมในครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) ณ ประเทศฟิลิปปินส์ โดยผู้นำอาเซียนได้เลื่อนการจัดตั้งสมาคมอาเซียนจากเดิมที่จะจัดตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ให้มาเป็น พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) เร็วขึ้นจากเดิมห้าปี นอกจากนี้ ยังมีการตรากฎบัตรอาเซียนขึ้นเป็นกรอบทางสถาบันและกฎหมายอันมีผลใช้บังคับแก่ประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิก

การประชุมสุดยอดอาเซียนสมัยพิเศษ[แก้]

การประชุมสุดยอดอาเซียน และผู้นำอเาซียนบวกสาม (จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้) สมัยพิเศษว่าด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) จัดขึ้นในวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2563 โดยเป็นการประชุมทางไกลผ่านวีดิทัศน์ ที่ประชุมได้สนับสนุนข้อเสนอของไทยเกี่ยวกับการจัดตั้ง “กองทุนอาเซียนเพื่อรับมือกับโควิด-19” เพื่อจัดหาอุปกรณ์และเครื่องมือแพทย์ให้แก่ประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งสนับสนุนการวิจัยพัฒนายาและวัคซีน[9]

อ้างอิง[แก้]

  1. http://www.lowyinterpreter.org/post/2010/06/29/Indonesia-as-ASEAN-Chair-A-test-of-democracy.aspx
  2. "การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit)". กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. 20 เมษายน 2555. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-28. สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2555. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  3. ↑ 3.0 3.1 ASEAN Structure เก็บถาวร 2007-12-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ASEAN Primer.
  4. Denis Hew (2005). Roadmap to an Asean Economic Community. Institute of Southeast Asian Studies. ISBN 981-230-347-2.
  5. "รายละเอียดการประชุม 34th ASEAN Summit".
  6. "รายละเอียดการประชุม 35th ASEAN Summit and Related Summits".
  7. กำหนดการสื่อมวลชน การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 35 และการประชุมสุดยอดที่เกี่ยวข้อง ระหว่างวันที่ 31 ตุลาคม – 4 พฤศจิกายน 2562 ณ กรุงเทพฯ และนนทบุรี
  8. ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 35
  9. "'อาเซียน' ตั้งกองทุน ระดมซื้ออุปกรณ์สู้โควิด". ฐานเศรษฐกิจ. 17 เมษายน 2563. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)

ดูเพิ่ม[แก้]

  • สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

รัฐสมาชิก

การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
กัมพูชา  ·
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
ไทย  ·
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
บรูไน  ·
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
พม่า  ·
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
ฟิลิปปินส์  ·
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
มาเลเซีย  ·
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
ลาว  ·
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
เวียดนาม  ·
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
สิงคโปร์  ·
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
อินโดนีเซีย

รัฐสังเกตการณ์

การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
ติมอร์-เลสเต ·
การประชุมอาเซียนครั้งล่าสุด 2564
ปาปัวนิวกินี

การบริหาร

กฎบัตร  · เขตการค้าเสรี  · สหภาพศุลกากร  · ประชาคมเศรษฐกิจ

สัญลักษณ์

เพลง  · ธง  · คำขวัญ  · ตราสัญลักษณ์  · ภาษาอาเซียน

การประชุม

การประชุมสุดยอด  · อาเซียน +3  · AMU · ASEAN Regional Forum  · อาเซม  · การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก · CEPEA  · มาตรการริเริ่มเชียงใหม่

กีฬา

ซีเกมส์  · อาเซียนพาราเกมส์  · กีฬามหาวิทยาลัยอาเซียน  · กีฬาโรงเรียนอาเซียน  · สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน  · ฟุตบอลแชมเปียนชิพ  · ฟุตบอลหญิงแชมเปียนชิพ  · ฟุตซอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน

บทความที่เกี่ยวข้อง

เวลามาตรฐาน · ปฏิญญากรุงเทพฯ · องค์การ · เลขาธิการ  · สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือ · ตลาดหลักทรัพย์อาเซียน · ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค