การชำระบัญชี รายการ ขาย สินทรัพย์ แบ่ง ขาดทุน จะ บันทึก บัญชี อย่างไร

เข้าสู่ระบบ


แบ่งคืนทุนแก่ผู้ถือหุ้นกรณีชำระบัญชี

ธรรมนาถ 09 ธันวาคม 2552 11:42:26 IP:

ความคิดเห็นที่ 1

1. การชำระบัญชี คือการชำระสะสางการงานของบริษัทจำกัดให้เสร็จสิ้นไป โดยการใช้หนี้เงิน และจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินของบริษัท 2. ลูกหนี้ของบริษัท ที่บริษัทจำกัดยังไม่ได้รับการชำระหนี้ จึงเป็นเพียงสิทธิเรียกร้อง ที่เป็นทรัพย์สินอย่างหนึ่งของบริษัทจำกัดนั้น 3. การจำหน่ายจ่าย ทรัพย์สิน ของบริษัทจำกัด โดยผู้ชำระบัญชี กฎหมายมิได้จำกัดสิทธิหรือห้าม มิให้ผู้ถือหุ้นของบริษัทนั้นจะเข้ามาซื้อไม่ได้แต่อย่างไร 4. สิทธิเรียกร้อง สามารถโอนกันได้ ตามหลักกฎหมายเรื่องหนี้ จึงสามารถจำหน่ายจ่ายโอนได้ 5. บริษัทจำกัด จะสามารถแบ่งคืนทุน และกำไร ได้ ต่อเมื่อได้มีการใช้หนี้ต่อลูกหนี้(ถ้ามี) และจำหน่านจ่ายโอนทรัพย์สินของบริษัทหมดแล้ว ถ้ามีเงินเหลือก็แบ่งคืน ทุน ถ้ายังมีเงินเหลือ ก็แบ่งกำไร เท่านั้น

ส.อนัตตา 11 ธันวาคม 2552 10:07:37 IP: 10.6.12.74

ความคิดเห็นที่ 2

ในกรณีที่จดทะเบียนเลิกบริษัทแล้ว ผู้ชำระบัญชีพบว่า 1) มีลูกหนี้ส่วนหนึ่งซึ่งยังไม่สามารถเก็บเงินได้ในระยะเวลาอันสั้น 2) บริษัทฯมีที่ดินคงเหลือที่ยังขายไม่ได้ในระยะเวลาอันสั้น บริษัทฯสามารถจะคืนทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นโดย 1) โอนสิทธิการเรียกร้องในลูกหนี้ให้แก่ผู้ถือหุ้น 2) โอนที่ดินที่ยังไม่สามารถขายได้ เป็นการชำระคืนทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นได้หรือไม่ อย่างไร?

ธรรมนาถ 09 ธันวาคม 2552 11:42:26 IP: 58.8.27.154

ความคิดเห็นที่ 3

ในขั้นตอนการชำระบัญชีที่ผู้ชำระบัญชีต้องดำเนินการคือ เรียกลูกหนี้ให้ชำระหนี้ ขายทรัพย์สินต่างๆและหากมีทรัพย์สินเหลือจึงให้คืนทุนแก่ผู้ถือหุ้น จากคำถามที่ผู้ชำระบัญชีพบว่า ยังมีลูกหนี้ที่เก็บเงินไม่ได้และที่ดินที่ยังขายไม่ได้ข้างต้นนั้น บริษัทฯจะถือเป็นการชำระคืนทุนได้หากผู้ถือหุ้นตกลงยินยอมที่จะรับสิทธิ์การเรียกร้องนั้นหรือยอมรับที่ดินดังกล่าวนั้นเป็นการคืนทุน ทั้งนี้เมื่อผู้ชำระบัญชีดำเนินการชำระบัญชีเสร็จสิ้นต้องจัดประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อให้พิจารณาอนุมัติรายงานผลการชำระบัญชีเพื่อนำไปจดทะเบียนเสร็จการชำระบัญชีต่อไป

rattanat 11 ธันวาคม 2552 13:51:34 IP: 10.6.113.105

ความคิดเห็นที่ 4

1. การจำหน่ายจ่ายโอน ทรัพย์สินของบริษัทจำกัดนั้นโดยผู้ชำระบัญชี ผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัดนั้น ก็สามารถหรือมีสิทธิที่จะซื้อทรัพย์สินนั้นได้ เพราะไม่มีหลักกฎหมายใดห้ามไว้ 2. สิทธิเรียกร้อง(หนี้ที่ลูกหนี้ยังไม่ชำระ) ที่ดิน เป็นทรัพย์สินที่บริษัทจำกัด จะต้องจำหน่ายจ่ายโอนไปให้หมดก่อน บริษัทจำกัดนั้นจึงจะทราบว่ามีเงินเหลืออยู่เท่าไร ก่อน จึงจะแบ่งคืนทุน(ถ้ามี) จึงจะแบ่งกำไรได้(ถ้ามีเงินเหลือ)

ส.อนัตตา 16 ธันวาคม 2552 13:13:19 IP: 10.6.12.74

ความคิดเห็นที่ 5

1. บริษัทจะต้องจำหน่ายจ่ายโอน สิทธิเรียกร้อง ที่ดิน ให้เสร็จสิ้นก่อน โดยที่ผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัดก็มีสิทธิเข้าไปซื้อได้ เพราะไม่มีกฎหมายใดห้ามไว้ 2. เมื่อจำหน่ายทรัพย์สินเสร็จสิ้นแล้ว จึงจะรู้ว่าบริษัทจำกัดมีเงินเหลืออยู่เท่าไร จึงจะคืนทุนได้ ถ้ามีเงินเหลือ จึงจะแบ่งกำไรได้

ส.อนัตตา 18 ธันวาคม 2552 09:06:33 IP: 10.6.12.74

ขอเชิญร่วมแสดงความคิดเห็น (ถ้อยคำที่สุภาพ สร้างสรรค์ เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม)

กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนแสดงความคิดเห็น

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

Upcoming SlideShare

การชำระบัญชี รายการ ขาย สินทรัพย์ แบ่ง ขาดทุน จะ บันทึก บัญชี อย่างไร

1

Loading in …3

×

การชำระบัญชี รายการ ขาย สินทรัพย์ แบ่ง ขาดทุน จะ บันทึก บัญชี อย่างไร

การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี

การชำระบัญชี รายการ ขาย สินทรัพย์ แบ่ง ขาดทุน จะ บันทึก บัญชี อย่างไร

การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี

More Related Content

การชำระบัญชี รายการ ขาย สินทรัพย์ แบ่ง ขาดทุน จะ บันทึก บัญชี อย่างไร
การชำระบัญชี รายการ ขาย สินทรัพย์ แบ่ง ขาดทุน จะ บันทึก บัญชี อย่างไร

  1. 1. บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบัญชี สาเหตุของการเลิกห้างหุ้นส่วน ห้างหุ้นส่วนอาจเลิกกิจการด้วยความตกลงของผู้เป็นหุ้นส่วนหรืออาจเลิก ด้วยสาเหตุต่าง ๆ ดังนี้ 1.ถ้าสัญญาหุ้นส่วนทาไว้มีกาหนดกรณีอันใดเป็นเหตุที่จะเลิกกัน 2.ถ้าห้างหุ้นส่วนจากัดตั้งขึ้นเพื่อทากิจการอย่างใดโดยเฉพาะแต่เพียงอย่างเดียว เมื่อเสร็จการนั้นห้างหุ้นส่วนต้องเลิก กิจการ 3.ถ้าห้างหุ้นส่วนตั้งขึ้นโดยกาหนดระเวลาสิ้นสุดไว้ เมื่อสิ้นระยะเวลาที่กาหนดห้างหุ้นส่วนต้องเลิกกิจการ 4.ถ้าห้างหุ้นส่วนตั้งขึ้นโดยไม่มีกาหนดระยะเวลาสิ้นสุดไว้ ห้างหุ้นส่วนนั้นต้องเลิกกิจการเมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่ง บอกเลิกเมื่อสิ้นรอบบัญชี 5.ห้างหุ้นส่วนต้องเลิกกิจการเมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิดคนใดคนหนึ่งตาย หรือล้มละลาย ในกรณี 4 และ5 ห้างหุ้นส่วนนั้นไม่ต้องเลิกกิจการถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนยังเหลืออยู่ 6.ศาลอาจสั่งให้ห้างหุ้นส่วนเลิกกิจการได้ ถ้าหุ้นส่วนคนใดขอร้องในกรณีต่อไปนี้ - เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งล่วงละเมิดบทบังคับใดๆอันเป็นสาระสัญญา -เมื่อกิจการของห้างหุ้นส่วนทาไปมีแต่ขาดทุนอย่างเดียว -เมื่อมีเหตุอื่นใดๆทาให้ห้างหุ้นส่วนนั้นเหลือวิสัยที่จะดารงคงอยู่ต่อไป 7.นอกจากต้องเลิกจากสาเหตุข้างต้นแล้ว ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเมื่อล้มละลายก็ต้องเลิกกิจการ การเลิกห้างหุ้นส่วน
  2. 2. วิธีการเลิกห้างหุ้นส่วน เมื่อตกลงเลิกกิจการผู้เป็นหุ้นส่วนควรทาสัญญาเลิกห้างหุ้นส่วนเป็นลาลักษณ์อักษรเพื่อ เป็นเอกสารหลักฐาน และดาเนินการตามกฎหมายโดยไปจดทะเบียนเลิกห้างหุ้นส่วนที่สานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทใน พื้นที่ที่กิจการนั้นตั้งอยู่ ถ้าการเลิกห้างหุ้นส่วนนั้นได้เป็นไปโดยที่เจ้าหน้าที่เฉพาะตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งได้ให้คาบอกกล่าว หรือผู้ เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งล้มละลาย การชาระบัญชี ผู้ชาระบัญชี การชาระบัญชีของห้างหุ้นส่วนอาจทาโดผู้เป็นหุ้นส่วนหรือบุคคลภายนอกก็ได้ การชาระบัญชีของห้างหุ้นส่วนสามัญนั้น ให้ผู้เป็นหุ้นส่วนทั้งหมดด้วยกันจัดทาหรือให้บุคคลอื่นผู้เป็นหุ้นส่วนได้แต่งตั้ง ขึ้นเป็นผู้จัดทา สาหรับห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเมื่อเลิกกันเพราะเหตุอื่นนอกจากล้มละลาย หุ้นส่วนผู้จัดการห้างยอมเข้าเป็นผู้ชาระบัญชีเว้น แต่สัญญาของห้างหุ้นส่วนจะกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น อานาจหน้าที่ของผู้ชาระบัญชี หน้าที่ของผู้ชาระบัญชีคือสะสางการงานของห้างหุ้นส่วนให้เสร็จสิ้นไป โดย กฎหมายได้กาหนดอานาจหน้าที่ของผู้ชาระบัญชีดังนี้ 1.แก้ต่างหรือประนีประนอมยอมความในนามของห้างหุ้นส่วน 2.ขายสินค้าของห้างหุ้นส่วน รวมทั้งการดาเนินกิจการของห้างหุ้นส่วนและทาการอื่นๆ ตามความจาเป็น 3.ถ้าเจ้าหนี้คนใดไม่ได้มาทวงถามให้ใช้หนี้ ผู้ชาระบัญชีต้องวางเงินเท่าจานวนหนี้นั้นต่อสานักงานวางทรัพย์ 4.ถ้าผู้ชาระบัญชีพิจารณาเห็นว่า เมื่อเงินทุนที่ผู้เป็นหุ้นส่วนต้องชาระแก่ห้างหุ้นส่วนได้ใช้เสร็จหมดแล้ว สินทรัพย์ก็ยัง ไม่พอชาระหนี้สิน ผู้ชาระบัญชีต้องร้องขอต่อศาลทันที
  3. 3. 5.ผู้ชาระบัญชีต้องทารายการชาระบัญชี ยื่นต่อนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัททุกรอบระยะ 3 เดือน เพื่อแสดงให้เห็นความ เป็นไปของบัญชีที่ชาระอยู่นั้น 6.เมื่อการชาระบัญชีเสร็จสิ้นต้องเรียกประชุมใหญ่เพื่อเสนอรายงานการชาระบัญชี เมื่อที่ประชุมอนุมัติรางานนั้นแล้ว ให้นาไปยื่นขอจดทะเบียนเสร็จการชาระบัญชีต่อนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทภายใน 14 วัน ขั้นตอนการชาระบัญชี เมื่อห้างหุ้นส่วนเลิกกิจการจะต้องทาการปิดบัญชีเพื่อคานวณผลกาไรขาดทุนของงวด บัญชีนั้นนับตั้งแต่วันต้นงวดไปจนถึงวันเลิกกิจการ 1.นาสินทรัพย์ออกขายและเรียกเก็บเงินจากลูกหนี้ ในกรณีที่มีผลต่างระหว่างจานวนเงินที่ได้รับกับราคาตามบัญชี ของสินทรัพย์ที่จาหน่ายออกไป ให้บันทึกไว้ในบัญชีกาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ 2.จ่ายชาระหนี้สินและค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชี โดยจ่าชาระตามลาดับดังนี้ 2.1จ่ายค่าชาระธรรมเนียม และใช้จ่ายต่างๆ 2.2จ่าชาระหนี้สินของห้างหุ้นส่วนซึ่งค้างชาระแก่บุคคลภายนอก 2.3จ่ายชาระหนี้สินของห้างหุ้นส่วนซึ่งคงค้างแก่ผู้เป็นหุ้นส่วน 3จ่ายคืนทุนให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วน โดยจ่ายคืนตามยอดคงเหลือในบัญชีทุนด้านเครดิต จะต้องดาเนินการตามลาดับ ดังนี้ 3.1ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนนั้นมีเงินให้ห้างหุ้นส่วนกู้ยืม ให้โอนบัญชีเงินกู้มาชดเชยส่วนขาด 3.2ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนนั้นไม่มีเงินให้ห้างหุ้นส่วนกู้ยืม ส่วนขาดอยู่เท่าไดจะต้องนาเงินสดมาชาระ 3.3ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนนั้นมีฐานะการเงินไม่ดี และไม่สามารถชาระทุนส่วนขาดในบัญชีได้ของตนได้ ต้องโอน บัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนคนอื่นๆ มาชดเชยส่วนขาดนั้น
  4. 4. วิธีการชาระบัญชีและจ่ายคืนทุน ผู้ชาระบัญชีจะต้องจัดทางบชาระบัญชีเพื่อแสดงรายละเอียดการขาย สินทรัพย์ โดยผู้เป็นหุ้นส่วนที่นาเงินสดหรืสินทรัพย์อื่นมาลงทุนจะได้รับการจ่ายคืนทุนทั้งสิ้นสาหรับผู้เป็นหุ้นส่วนที่ ลงทุนด้วยแรงงานจะไม่มีสิทธิได้รับคืนทุนที่นามาลง โดแรงงานที่นามาลงทุนจะตีราคาไว้เพื่อประโยชน์ในการคานวณ ส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนเท่านั้น ผู้เป็นหุ้นส่วนที่ลงทุนด้วยแรงงานจึงมีสิทธิได้รับคืนเฉพาะส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนที่มียอดคงเหลืออยู่ในบัญชีทุนด้าน เครดิตเท่านั้น วิธีการชาระบัญชีและจ่าคืนทุนให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนจึ่งแบ่งเป็น 2 วิธี การชาระบัญชีโดยจ่ายคืนทุนในคราวเดียว 1.ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนมีทุนเพียงพอรับผลขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ตัวอย่างที่ 1 : ไหม แพร และฝ้าย เป็นหุ้นส่วนกัน แบ่งผลกาไรขาดทุนในอัตราเท่ากัน ในวันที่ 31 ธันวาคม 25x2 หลังจากปิดบัญชีแบ่งผลกาไรขาดทุนประจาปีรวมทั้งปรับปรุงสินทรัพย์สุทธิและโอนปิดบัญชีกระแสทุนเข้าบัญชีทุน แล้ว งบดุลของห้างหุ้นส่วนปรากฏดังนี้
  5. 5. ห้างหุ้นส่วนจากัด ไหม แพร ฝ้าย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2 สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน : เงินสด 19,500 เจ้าหนี้ 134,000 ลูกหนี้ 90,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 6,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 4,500 85,500 เงินกู้- ไหม 15,000 สินค้าคงเหลือ 100,000 ส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน สินทรัพย์หมุนเวียน : ทุน – ไหม 30,000 เครื่องใช้สานักงาน 150,000 ทุน - แพร 65,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 30,000 120,000 ทุน - ฝ้าย 75,000 170,000 รวมสินทรัพย์ทั้งสิ้น 325,000 รวมหนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 325,000
  6. 6. ไหมและแพรเป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิด และผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนชาระเงินลงทุนของตนครบถ้วน แล้ว ห้างหุ้นส่วนเลิกกิจการในวันที่ 1 มกราคม 25x3 โดยตกลงค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชี 12,000 บาท ระหว่างเดือน มกราคมผู้ชาระบัญชีได้จัดการจาหน่ายสินทรัพย์ทั้งสินดังนี้ ม.ค.7 ขายสินค้าคงเหลือได้ในราคา 100,500 บาท 15 ขายเครื่องใช้สานักงานได้ในราคา 90,000 บาท 24 เก็บจากลูกหนี้ทั้งสิ้นได้ 85,000 บาท การคานวณกาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ สินทรัพย์ราคาสุทธิตามบัญชีไม่รวมเงินสด ( 325,000 – 19,500) = 305,500 บาท ขายสินทรัพย์และเก็บเงินจากลูกหนี้ ( 100, 500 + 90,000 + 85,000) = 275,000 บาท ขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ = 30,000 บาท การคานวณส่วนแบ่งผลขาดทุนให้กับผู้เป็นหุ้นส่วน ส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์( 30,000 x 1/3 ) = 10,000 บาท ส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนจากค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชี( 12,000 x 1/3 ) = 4,000 บาท ส่วนแบ่งผลขาดทุนทั้งสิ้นของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคน = 14,000 บาท การจัดทางบชาระบัญชี และการบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้
  7. 7. ห้างหุ้นส่วนจากัด ไหม แพร ฝ้าย งบชาระบัญชี สาหรับเดือนมกราคม 25x3 รายการ สินทรัพย์ หนี้สิน เงินกู้- ไหม ทุน(อัตราแบ่งกาไรขาดทุน) เงินสด อื่นๆ ไหม(1/3) แพร(1/3) ฝ้าย(1/3) ยอดคงเหลือก่อนการชาระบัญชี ขายสินทรัพย์และแบ่งผลขาดทุน คงเหลือ จ่ายค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชี คงเหลือ จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก คงเหลือ จ่ายชาระเงินกู้ – ไหม คงเหลือ จ่ายชาระคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน 19,500 275,500 295,000 (12,000) 283,000 (140,00) 143,000 (15,000) 128,000 (128,000) 305,500 (305,500) - - - - - - - - 140,000 - 140,000 - 140,000 (140,000) - - - - 15,000 - 15,000 - 15,000 - 15,000 (15,000) - - 30,000 (10,000) 20,000 (4,000) 16,000 - 16,000 - 16,000 16,000 65,000 (10,000) 55,000 (4,000) 51,000 - 51,000 - 51,000 (51,000) 75,000 (10,000) 65,000 (4,000) 61,000 - 61,000 - 61,000 (61,000) - - - - - - -
  8. 8. สมุดรายวันทั่วไป วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 7 15 24 เงินสด สินค้าคงเหลือ กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ขายสินค้าทั้งสิ้นโดยมีผลกาไร เงินสด ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องใช้สานักงาน กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ เครื่องใช้สานักงาน ขายเครื่องใช้สานักงานโดยมีผลขาดทุน เงินสด ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กาไรขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ ลูกหนี้ เก็บเงินจากลูกหนี้ทั้งสิ้นโดยมีผลขาดทุน 100,500 90,000 30,000 30,000 85,000 4,500 500 - - - - - - - 100,000 500 150,000 90,000 - - - -
  9. 9. วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 24 24 ทุน - ไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ แบ่งกาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ทุน - ไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย เงินสด จ่ายค่าชาระบัญชีแบ่งเข้าทุนผู้เป็นหุ้นส่วน เจ้าหนี้ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินสด จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก 10,000 10,000 10,000 4,000 4,000 4,000 134,000 6,000 - - - - - - 30,000 12,000 140,000 - - -
  10. 10. วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 24 24 เงินกู้– ไหม เงินสด จ่ายชาระเงินกู้ผู้เป็นหุ้นส่วน ทุน - ไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย เงินสด จ่ายเงินสดชาระคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน 15,000 16,000 51,000 61,000 - - 15,000 128,000 - - 2.ผู้เป็นหุ้นส่วนบางคนมีผลขาดทุนเกินทุน 2.1ผู้เป็นหุ้นส่วนที่มีผลขาดทุนเกินทุน โอนเงินกู้มาชดเชยส่วนขาดให้ในบัญชีทุน ตัวอย่างที่ 2 : จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าขายสินทรัพย์และเก็บเงินจากลูกหนี้ทั้งสิ้นได้ 185,500 บาท จะเกิดผลขาดทุน (305,500 - 185,500) = 120,000 บาท ซึ่งผู้เป็นหุ้นส่วนจะได้รับส่วนแบ่งผลขาดทุนคนละ (120,000 x 1/3= 40,000) บาท ทาให้ไหมมีผล ขาดทุนเกินทุน แต่เนื่องจากไหมมีเงินให้ห้างหุ้นส่วนกู้ยืมจึงโอนเงินกู้ของไหมมาชดเชยในบัญชีทุนได้ งบชาระบัญชีจะ เป็นดังนี้
  11. 11. ห้างหุ้นส่วนจากัด ไหม แพร ฝ้าย งบชาระบัญชี สาหรับเดือนมกราคม 25x3 รายการ สินทรัพย์ หนี้สิน เงินกู้- ไหม ทุน(อัตราแบ่งกาไรขาดทุน) เงินสด อื่นๆ ไหม(1/3) แพร(1/3) ฝ้าย(1/3) ยอดคงเหลือก่อนการชาระบัญชี ขายสินทรัพย์และแบ่งผลขาดทุน คงเหลือ จ่ายค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชี คงเหลือ จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก คงเหลือ โอนเงินกู้ชาระทุนเดบิตของไหม คงเหลือ จ่ายชาระเงินกู้ – ไหม คงเหลือ จ่ายชาระคืนทุนแพรและฝ้าย 19,500 185,000 205,000 (12,000) 193,000 (140,000) 53,000 - 35,000 (1,000) 52,000 (52,000) 305,500 (305,500) - - - - - - - - - - 140,000 - 140,000 - 140,000 (140,000) - - - - - - 15,000 - 15,000 - 15,000 - 15,000 (14,000) 1,000 (1,000) - - 30,000 (40,000) 10,000 (4,000) 140,000 - 14,000 (14,000) - - - - 65,000 (40,000) 25,000 (4,000) 21,000 - 21,000 - 21,000 - 21,000 (21,000) 75,000 (40,000) 35,000 (4,000) 31,000 - 31,000 - 31,000 - 31,000 (31,000) - - - - - - -
  12. 12. สมุดรายวันทั่วไป วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 1-31 1-31 เงินสด ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องใช้สานักงาน กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เครื่องใช้สานักงาน ขายสินทรัพย์และเก็บเงินจากลูกหนี้ทั้งสิ้น ทุน - ไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ปิดบัญชีกาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ แบ่งเข้าบัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วนเท่ากัน 185,500 4,500 100,000 120,000 40,000 40,000 40,000 - - - - - - - 90,000 100,000 150,000 120,000 - - - -
  13. 13. วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 1-31 1-31 1-31 ทุน - ไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย เงินสด จ่ายชาระบัญชีแบ่งเข้าทุนผู้เป็นหุ้นส่วน เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินสด จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก เงินกู้- ไหม ทุน - ไหม โอนเงินทุนไหมชดเชยส่วนขาดในบัญชีทุน 4,000 4,000 4,000 134,000 6,000 14,000 - - - - - - 12,000 140,000 14,000 - - -
  14. 14. วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 1-31 1-31 เงินกู้ -ไหม เงินสด จ่ายชาระเงินกู้ผู้เป็นหุ้นส่วน ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย เงินสด จ่ายเงินสดชาระคืนทุนแพรและฝ้าย 1,000 21,000 31,000 - - - 1,000 52,000 - - 2.2ผู้เป็นหุ้นส่วนที่มีผลขาดทุนเกินทุน นาเงินสดมาชาระส่วนขาดในบัญชีทุน ตัวอย่างที่ 3 : จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าขายสินทรัพย์และเก็บเงินจากลูกหนี้ทั้งสินได้ 170,500 บาท จะเกิดผลขาดทุน(305,500 - 170,500) = 135,000 บาท ซึ่งผู้เป็นหุ้นส่วนจะได้รับส่วนแบ่งผลขาดทุนคนละ (135,000x 1/3) = 45,000 บาท ทาให้ไหมมีผล ขาดทุนเกินทุน และถึงแม้จะโอนเงินกู้ของไหมมาชดเชยส่วนขาดในบัญชีทุนก็ยังไม่เพียงพอ ไหมต้องนาเงินสดมาชาระให้กับ ห้างหุ้นส่วนตามจานวนส่วนขาดในบัญชีทุนที่เหลือ งบชาระบัญชีและการบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้
  15. 15. ห้างหุ้นส่วนจากัด ไหม แพร ฝ้าย งบชาระบัญชี สาหรับเดือนมกราคม 25x3 รายการ สินทรัพย์ หนี้สิน เงินกู้- ไหม ทุน(อัตราแบ่งกาไรขาดทุน) เงินสด อื่นๆ ไหม(1/3) แพร(1/3) ฝ้าย(1/3) ยอดคงเหลือก่อนการชาระบัญชี ขายสินทรัพย์และแบ่งผลขาดทุน คงเหลือ จ่ายค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชี คงเหลือ จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก คงเหลือ โอนเงินกู้ชาระทุนเดบิตของไหม คงเหลือ ไหมนาเงินมาชาระทุนเดบิต คงเหลือ จ่ายชาระคืนทุนแพรและฝ้าย 19,500 170,500 190,000 (12,000) 178,000 (140,000) 38,000 - 38,000 (4,000) 42,000 (42,000) 305,500 (305,500) - - - - - - - - - - 140,000 - 140,000 - 140,000 (140,000) - - - - - - 15,000 - 15,000 - 15,000 - 15,000 (15,000) - - - - 30,000 (140,000) 15,000 (4,000) 19,000 - 19,000 (15,000) (4,000) 4,000 - - 65,000 (140,000) 20,000 (4,000) 16,000 - 16,000 - 16,000 - 16,000 (160,000) 75,000 (45,000) 30,000 (4,000) 26,000 - 26,000 - 26,000 - 26,000 (26,000) - - - - - - -
  16. 16. สมุดรายวันทั่วไป วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 1-31 1-31 เงินสด ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องใช้สานักงาน กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เครื่องใช้สานักงาน บันทึกการจาหน่ายสินทรัพย์โดยมีผลขาดทุน ทุน - ไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ปิดบัญชีกาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ แบ่งเข้าบัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วนเท่ากัน 170,500 4,500 100,000 135,000 45,000 45,000 45,000 - - - - - - - 90,000 100,000 150,000 135,000 - - - -
  17. 17. วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 1-31 1-31 1-31 ทุน - ไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย เงินสด บันทึกการจ่ายค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชีแบ่งเข้า บัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วนเท่ากัน เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินสด จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก เงินกู้- ไหม ทุน - ไหม โอนเงินทุนไหมชดเชยส่วนขาดในบัญชีทุน 4,000 4,000 4,000 134,000 6,000 15,000 - - - - - - 12,000 140,000 15,000 - - -
  18. 18. วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 1-31 1-31 เงินสด ทุน - ไหม รับชาระส่วนขาดในบัญชีทุนของไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย เงินสด จ่ายเงินสดชาระคืนทุนแพรและฝ้าย 4,000 16,000 26,000 - - - 4,000 42,000 - - 2.3 ผู้เป็นหุ้นส่วนที่มีผลขาดทุน ไม่สามารถชาระส่วนขาดในบัญชีทุน ตัวอย่างที่ 4 : จากตัวอย่างที่ 3 ถ้าไหมมีฐานะการเงินไม่ดีและไม่สามารถนาเงินสดมาชาระส่วนขาดในบัญชีทุนที่เหลือได้ จะต้องถือเป็นผลขาดทุนเฉลี่ยเข้าบัญชีทุนของแพรและฝ้าย(4,000 x 1/2) = 2,000 บาท งบชาระบัญชีจะเป็นดังนี้
  19. 19. ห้างหุ้นส่วนจากัด ไหม แพร ฝ้าย งบชาระบัญชี สาหรับเดือนมกราคม 25x3 รายการ สินทรัพย์ หนี้สิน เงินกู้- ไหม ทุน(อัตราแบ่งกาไรขาดทุน) เงินสด อื่นๆ ไหม(1/3) แพร(1/3) ฝ้าย(1/3) ยอดคงเหลือก่อนการชาระบัญชี ขายสินทรัพย์และแบ่งผลขาดทุน คงเหลือ จ่ายค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชี คงเหลือ จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก คงเหลือ โอนเงินกู้ชาระทุนเดบิตของไหม คงเหลือ โอนทุนแพรและฝ้ายเข้าทุนไหม คงเหลือ จ่ายชาระคืนทุนแพรและฝ้าย 19,500 170,500 190,000 (12,000) 178,000 (140,000) 38,000 - 38,000 - 38,000 (38,000) 305,500 (305,500) - - - - - - - - - - 140,000 - 140,000 - 140,000 (140,000) - - - - - - 15,000 - 15,000 - 15,000 - 15,000 (15,000) - - - - 30,000 (45,000) 15,000 (4,000) (19,000) - (19,000) 15,000 (4,000) 4,000 - - 65,000 (45,000) 20,000 (4,000) 16,000 - 16,000 - 16,000 (2,000) 14,000 (14,000) 75,000 (45,000) 30,000 (4,000) 26,000 - 26,000 - 26,000 (2,000) 24,000 (24,000) - - - - - - -
  20. 20. การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะแตกต่างจากตัวอย่างที่ 3 เฉพาะ 2 รายการสุดท้าย กล่าวคือรายการที่ไหมนาเงิน สดมาชาระส่วนขาดในบัญชีทุน ให้เปลี่ยนรายการโอนทุนของแพรและฝ้ายไปชดเชยส่วนขาดในบัญชีทุนของไหมแทน และ ราบการสุดท้ายบันทึกการจ่ายเงินสดคืนทุนให้แพรและฝ้ายน้อยลงคนละ 2,000 บาท ดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค.1-31 1-31 ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย ทุน - ไหม โอนบัญชีทุนของแพรและฝ้ายไปชดเชยส่วนขาด ในบัญชีทุนของไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย เงินสด จ่ายเงินสดชาระคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน 2,000 2,000 14,000 24,000 - - - - 4,000 38,000 - -
  21. 21. 3. ห้างหุ้นส่วนมีเงินสดไม่พอจ่ายชาระหนี้สิน ในกรณีที่จาหน่ายสินทรัพย์ทั้งสิ้นแล้วมีผลขาดทุน จานวนมากห้างหุ้นส่วนอาจมีเงินสดไม่พอชาระหนี้สิ้น ซึ่งเจ้าหนี้ของห้างหุ้นส่วนไม่สามารถฟ้องพังคับเอาจาก สินทรัพย์ส่วนตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิดชอบคนใดก็ได้โดยไม่จากัดจานวน ถ้าผู้เป็น หุ้นส่วนคนใดจ่ายชาระหนี้สินแทนห้างหุ้นส่วนไปก่อนก็จะได้รับการเครดิตบัญชีทุนเพิ่ม และจะได้รับคืนทุนเมื่อผู้ เป็นหุ้นส่วนที่มีทุนเดบิตได้นาเงินสดมาชาระให้ห้างหุ้นส่วนแล้ว โดยกรณีที่ห้างหุ้นส่วนมีเงินสดไม่พอจ่ายชาระ หนี้สิน อาจพิจารณาเป็นกรณีย่อยๆ ดังนี้ 3.1ห้างหุ้นส่วนมีเงินสดไม่พอจ่ายชาระหนี้สิน แต่ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนมีฐานะการเงินดี 3.2ห้างหุ้นส่วนมีเงินสดไม่พอจ่ายชาระหนี้สิน และผู้เป็นหุ้นส่วนบางคนมีหนี้สินล้นพ้นตัว 3.1 ห้างหุ้นส่วนมีเงินสดไม่พอจ่ายชาระหนี้สิน แต่ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนมีฐานะการเงินดี ตัวอย่างที่ 5 : จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าขายสินทรัพย์และเก็บเงินจากลูกหนี้ทั้งสิ้นได้ 122,500 บาท ทาให้ห้าง หุ้นส่วนมีเงินสดไม่พอจ่ายชาระหนี้สิน แพรมีฐานะการเงินดีจึงจ่ายชาระหนี้สินแทนห้างหุ้นส่วนไปก่อน ผล ขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ (305,500 – 122,500) = 183,000 บาท แบ่งให้ผู้เป็นหุ้นส่วนคนละ (183,000 x 1/3 ) = 61,000 บาท ไหมซึ่งมีผลขาดทุนเกินทุนได้โอนเงินกู้มาชดเชยและนาเงินสดมาชาระส่วน ขาดที่เหลือในภาหลัง งบชาระบัญชีและการบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้
  22. 22. ห้างหุ้นส่วนจากัด ไหม แพร ฝ้าย งบชาระบัญชี สาหรับเดือนมกราคม 25x3 หน่วย : บาท รายการ สินทรัพย์ หนี้สิน เงินกู้- ไหม ทุน(อัตราแบ่งกาไรขาดทุน) เงินสด อื่นๆ ไหม(1/3) แพร(1/3) ฝ้าย(1/3) ยอดคงเหลือก่อนขายสินทรัพย์ ขายสินทรัพย์และแบ่งผลขาดทุน คงเหลือ จ่ายค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชี คงเหลือ จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก คงเหลือ แพรชาระหนี้สินแทนห้างหุ้นส่วน คงเหลือ โอนเงินกู้ชาระทุนส่วนขาดของไหม คงเหลือ ไหมนาเงินมาชาระทุนส่วนขาด คงเหลือ จ่ายชาระคืนทุนแพรและฝ้าย 19,500 122,500 142,000 (12,000) 13,000 (130,000) - - - - - 20,000 20,000 (20,000) 305,500 (305,500) - - - - - - - - - - - - 140,000 - 140,000 - 140,000 (130,000) 10,000 (10,000) - - - - - - 15,000 - 15,000 - 15,000 - 15,000 - - - (15,000) - - - 30,000 (61,000) (31,000) (4,000) (35,000) - (35,000) - (35,000) 15,000 (20,000) 20,000 - 65,000 (61,000) 4,000 (4,000) - - - 10,000 10,000 - 10,000 - 10,000 (10,000) 75,000 (61,000) 14,000 (4,000) 10,000 - 10,000 - 10,000 - 10,000 - 10,000 (10,000) - - - - - - -
  23. 23. สมุดรายวันทั่วไป วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 1-31 1-31 เงินสด ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องใช้สานักงาน กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เครื่องใช้สานักงาน บันทึกการจาหน่ายสินทรัพย์โดยมีผลขาดทุน ทุน - ไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ปิดบัญชีกาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ แบ่งเข้าบัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วนเท่ากัน 122,500 4,500 100,000 183,000 61,000 61,000 61,000 - - - - - - - 90,000 100,000 150,000 183,000 - - - -
  24. 24. วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 1-31 1-31 1-31 1-31 ทุน - ไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย เงินสด บันทึกการจ่ายค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชีแบ่งเข้า บัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วนเท่ากัน เจ้าหนี้การค้า เงินสด จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินสด แพรจ่ายชาระหนี้แทนห้างหุ้นส่วน เงินกู้- ไหม ทุน - ไหม โอนเงินกู้ไหมชดเชยส่วนขาดในบัญชีทุน 4,000 4,000 4,000 130,000 4,000 6,000 15,000 - - - - - - - 12,000 130,000 10,000 15,000 - - - -
  25. 25. วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 1-31 1-31 เงินสด ทุน - ไหม รับชาระส่วนขาดในบัญชีทุนของไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย เงินสด จ่ายเงินสดชาระคืนทุนแพรและฝ้าย 20,000 10,000 10,000 - - - 20,000 20,000 - -
  26. 26. 3.2 ห้างหุ้นส่วนมีเงินสดไม่พอจ่ายชาระหนี้สิน และผู้เป็นหุ้นส่วนบางคน มีหนี้สินล้นพ้นตัว ผู้เป็นหุ้นส่วนที่มีหนี้สินล้นพ้นตัวหมายถึงผู้ที่มี สินทรัพย์ส่วนตัวไม่พอจ่ายชาระหนี้สินส่วนตัวและถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนมี ยอดเดบิตในบัญชีทุนซึ่งจะต้องนาเงินสดมาชาระให้กับห้างหุ้นส่วน จะ ถือว่า ห้างหุ้นส่วนเป็นเจ้าหนี้ของผู้เป็นหุ้นส่วนคนนั้นด้วย การพิจารณาว่าระหว่างเจ้าหนี้ส่วนตัวกับห้างหุ้นส่วนฝ่ายใดจะมี สิทธิบังคับหนี้เอาจากสินทรัพย์ส่วนตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนได้ก่อน ต้อง ยึดตามข้อกฎหมายในแต่ละข้อกรณีดังนี้ ก. กรณีทั่วไป (ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์) ข. กรณีที่ผู้เป็นหุ้นส่วนถูกฟ้องล้มละลาย (ตามพระราชบัญญัติ ล้มละลาย)
  27. 27. ก. กรณีทั่วไป ในกรณีทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เจ้าหนี้ส่วนตัวย่อมมี สิทธิบังคับหนี้เอาจากสินทรัพย์ส่วนตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนได้ก่อน ดังนั้นในกรณีที่ผู้เป็น หุ้นส่วนมีหนี้สินล้นพ้นตัวย่อมไม่เหลือสินทรัพย์ใด ๆ ที่จะนามาชาระส่วนขาดในบัญชีทุน ของตนให้กับห้างหุ้นส่วนได้ต้องถือเป็นผลขาดทุนเฉลี่ยเข้าบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนที่ เหลือตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน ตัวอย่างที่ 6 จากตัวอย่างที่ 5 สมมุติไหมมีฐานะการเงินไม่ดีโดยมีหนี้สินล้นพ้นตัวจึงไม่ สามารถนาเงินมาชาระส่วนขาดในบัญชีทุนได้ผู้เป็นหุ้นส่วนที่เหลือต้องร่วมรับการขาดทุน ดังกล่าวโดยโอนบัญชีทุนของแพรและฝ้ายไปชดเชยส่วนขาดในบัญชีทุนไหมคนละ (20,000x1/12) = 10,000 บาท ทาบัญชีทุนของแพรและฝ้ายหมดไปพอดีตัวอย่างนี้จึงไม่มีผู้ เป็นหุ้นส่วนคนใดได้รับการคืนทุน งบชาระบัญชีและการบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะแตกต่างจากตัวอย่างที่ 5 เฉพาะ 2 รายการสุดท้ายโดยลดลงเหลือรายการเดียวเนื่องจากไม่มีการจ่ายคืนทุนให้ผู้เป็นหุ้นส่วน ดังนี้
  28. 28. วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 1-31 ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย ทุน - ไหม โอนบัญชีทุนของแพรและฝ้ายไปชดเชยส่วน ขาดในบัญชีทุนของไหม 10,000 10,000 - - 10,000 - สมุดรายวันทั่วไป
  29. 29. ห้างหุ้นส่วนจากัด ไหม แพร ฝ้าย งบชาระบัญชี สาหรับเดือนมกราคม 25x3 หน่วย : บาท รายการ สินทรัพย์ หนี้สิน เงินกู้- ไหม ทุน(อัตราแบ่งกาไรขาดทุน) เงินสด อื่นๆ ไหม(1/3) แพร(1/3) ฝ้าย(1/3) ยอดคงเหลือก่อนขายสินทรัพย์ ขายสินทรัพย์และแบ่งผลขาดทุน คงเหลือ จ่ายค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชี คงเหลือ จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก คงเหลือ แพรชาระหนี้สินแทนห้างหุ้นส่วน คงเหลือ โอนเงินกู้ชาระทุนส่วนขาดของไหม คงเหลือ โอนทุนแพรและฝ้ายเข้าทุนไหม 19,500 122,500 142,000 (12,000) 13,000 (130,000) - - - - - - 305,500 (305,500) - - - - - - - - - - 140,000 - 140,000 - 140,000 (130,000) 10,000 (10,000) - - - - 15,000 - 15,000 - 15,000 - 15,000 - - (15,000) - - 30,000 (61,000) (31,000) (4,000) (35,000) - (35,000) - (35,000) 15,000 (20,000) 20,000 65,000 (61,000) 4,000 (4,000) - - - 10,000 10,000 - 10,000 (10,000) 75,000 (61,000) 14,000 (4,000) 10,000 - 10,000 - 10,000 - 10,000 (10,000) - - - - - - -
  30. 30. ข. กรณีที่ผู้เป็นหุ้นส่วนถูกฟ้องล้มละลาย ตามกฎหมายล้มละลายเจ้าหนี้ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในการบังคับหนี้เอาจากสินทรัพย์ ส่วนตัวของผู้เป็นหุ้นส่วน ห้างหุ้นส่วนจึงมีสิทธิได้รับชาระส่วนขาดในบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนที่ถูกฟ้องล้มละลาย โดยแบ่ง เฉลี่ยกับเจ้าหนี้ส่วนตัวของผู้เป็นหุ้นส่วน ตามสัดส่วนมูลค่าหนี้ที่ค้างชาระของแต่ละฝ่าย ตัวอย่างที่ 7 จากตัวอย่างที่ 5 สมมุติไหมมีหนี้สินล้นพ้นตัวและถูกฟ้องล้มละลายห้างหุ้นส่วนจะมีสิทธิร่วมรับเฉลี่ยหนี้จาก สินทรัพย์ส่วนตัวของไหม โดยผู้เป็นหุ้นส่วนมีสินทรัพย์และหนี้สินส่วนตัวดังนี้ สินทรัพย์ หนี้สิน ฐานะการเงิน ไหม 30,000 40,000 ไม่มี แพร 70,000 40,000 ดี ฝ้าย 90,000 30,000 ดี การคานวณส่วนแบ่งเฉลี่ยที่เจ้าหนี้แต่ละรายจะได้รับชาระหนี้จากสินทรัพย์ส่วนตัวของไหม : สินทรัพย์ของไหมทั้งสิ้น 30,000 บาท หนี้สินของไหมทั้งสิ้น : หนี้สินส่วนตัว 40,000 บาท หนี้สินห้างหุ้นส่วน (ทุนเดบิต) 20,000 บาท รวม 60,000 บาท เจ้าหนี้ส่วนตัวของไหมจะได้รับชาระ(30,000x4/6) = 20,000บาท ห้างหุ้นส่วนจะได้รบชาระ(30,000x2/6) = 10,000 บาท
  31. 31. ห้างหุ้นส่วนจากัด ไหม แพร ฝ้าย งบชาระบัญชี สาหรับเดือนมกราคม 25x3 หน่วย : บาท รายการ สินทรัพย์ หนี้สิน เงินกู้- ไหม ทุน(อัตราแบ่งกาไรขาดทุน) เงินสด อื่นๆ ไหม(1/3) แพร(1/3) ฝ้าย(1/3) ยอดคงเหลือก่อนขายสินทรัพย์ ขายสินทรัพย์และแบ่งผลขาดทุน คงเหลือ จ่ายค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชี คงเหลือ จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก คงเหลือ แพรชาระหนี้สินแทนห้างหุ้นส่วน คงเหลือ โอนเงินกู้ชาระทุนส่วนขาดของไหม คงเหลือ ได้รับส่วนเฉลี่ยชาระหนี้จากไหม คงเหลือ โอนทุนแพรและฝ้ายเข้าทุนไหม คงเหลือ จ่ายชาระคืนทุนแพรและฝ้าย 19,500 122,500 142,000 (12,000) 13,000 (130,000) - - - - - 10,000 10,000 - 10,000 (10,000) 305,500 (305,500) - - - - - - - - - - - - - - 140,000 - 140,000 - 140,000 (130,000) 10,000 (10,000) - - - - - - - - 15,000 - 15,000 - 15,000 - 15,000 - - - (15,000) - - - - - 30,000 (61,000) (31,000) (4,000) (35,000) - (35,000) - (35,000) 15,000 (20,000) 10,000 (10,000) 10,000 - - 65,000 (61,000) 4,000 (4,000) - - - 10,000 10,000 - 10,000 - 10,000 (5,000) 5,000 (5,000) 75,000 (61,000) 14,000 (4,000) 10,000 - 10,000 - 10,000 - 10,000 - 10,000 (5,000) 5,000 (5,000) - - - - - - -
  32. 32. การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะแตกต่างจากตัวอย่างที่ 5 เฉพาะ 2 รายการสุดท้ายโดยเพิ่มเป็น 3 รายการดังนี้ วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 1-31 1-31 1-31 เงินสด ทุน - ไหม รับชาระทุนเดบิตของไหมตามส่วนเฉลี่ยหนี้ ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย ทุน - ไหม โอนบัญชีทุนของแพรและฝ้ายไปชดเชยส่วนที่ ขาดในบัญชีทุนของไหม ทุน - แพร ทุน - ฝ้าย เงินสด จ่ายชาระคืนทุนแพรและฝ้าย 10,000 5,000 5,000 5,000 5,000 - - - - - 10,000 10,000 10,000 - - -
  33. 33. การชาระบัญชีโดยจ่ายคืนทุนเป็นงวด ๆ ในกรณีที่สินทรัพย์ของกิจการมีจานวนมาก และไม่สามารถขายได้ ทั้งหมดในคราวเดียวต้องทยอยขายสินทรัพย์โดยใช้ระยะเวลานาน ผู้ เป็นหุ้นส่วนอาจต้องการให้ผู้ชาระบัญชีทยอยจ่ายคืนทุนก่อนที่จะขาย สินทรัพย์ได้ทั้งหมดถ้ามีเงินสดคงเหลือพอที่จะจ่ายคืนทุนบางส่วนได้ การชาระบัญชีโดยจ่ายคืนทุนเป็นงวด ๆ ได้โดยหลักการจะมีขั้นตอน การดาเนินการเช่นเดียวกับกรณีการจ่ายคืนทุนทั้งสิ้นในคราวเดียว คือนา สินทรัพย์ออกขายเพื่อนาเงินสดมาจ่ายชาระหนี้สินและจ่ายคืนทุนให้ผู้ เป็นหุ้นส่วน เพียงแต่ต้องใช้ความระมัดระวังรอบคอบให้มากขึ้น เนื่องจากการจ่ายคืนทุนเป็นงวด ๆ อาจทาให้เกิดความผิดพลาดได้ง่าย และผู้ชาระบัญชีต้องรับผิดชอบในกรณีที่การจ่ายคืนทุนผิดพลาด
  34. 34. หลักเกณฑ์ในการจ่ายคืนทุนเป็นงวด ๆ การจ่ายคืนทุนในกรณีที่สินทรัพย์ของห้างหุ้นส่วนยัง ขายไม่หมดผู้ชาระบัญชีควรปฏิบัติตามเกณฑ์ดังนี้ 1. การจ่ายคืนทุนในแต่ละงวด ต้องกันเงินสดให้เพียงพอสาหรับการจ่ายชาระหนี้สิน รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชีที่อาจเกิดขึ้นทั้งสิ้นก่อน ถ้ามีเงินสดคงเหลือจึงจ่ายคืนทุนได้ 2. การจ่ายคืนทุนในแต่ละงวดให้ถือเสมือนหนึ่งเป็นการจ่ายคืนทุนงวดสุดท้าย ผู้ชาระ บัญชีจึงจาเป็นต้องคิดเผื่อผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นให้ครอบคลุมทุกกรณี เพื่อให้มั่นใจว่าหลังจาก ที่จ่ายคืนทุนในแต่ละงวดแล้ว ผู้เป็นหุ้นส่วนยังมีทุนคงเหลือเพียงพอที่จะได้รับส่วนแบ่งผล ขาดทุนที่อาจจะเกิดขึ้นในกรณีต่าง ๆ ได้โดยกาหนดข้อสมมุติในทางขาดทุนซึ่งจะกล่าวถึงใน หัวข้อต่อไป 3. การจ่ายคืนทุนแต่ละงวดต้องจัดทางบคานวณเงินสดจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน เพื่อเป็น รายละเอียดประกอบงบบัญชีทุกครั้ง จนกว่าบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนจะมียอดคงเหลือเป็น อัตราส่วนเดียวกับอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน หลังจากนั้นเมื่อมีการจ่ายคืนทุนในงวดต่อไปให้ จ่ายตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน โดยไม่ต้องทางบแสดงการคานวณเงินสดจ่ายคืนทุนอีก ต่อไป เนื่องจากทุนคงเหลือของแต่ละคนสามารถรับเฉลี่ยส่วนแบ่งผลขาดทุนทั้งสิ้นที่อาจ เกิดขึ้นในอนาคตแล้ว
  35. 35. ข้อสมมุติในการจ่ายคืนทุนเป็นงวดๆเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดใน การจ่ายคืนทุนให้ผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งมากกว่าจานวนที่ควรจะได้รับคืน ผู้ชาระบัญชีจาเป็นต้องกาหนดข้อสมมุติในทางขาดทุนเต็มที่ในการคานวณ เงินสดจ่ายคืนทุนแต่ละงวดดังนี้ 1. สินทรัพย์ของห้างหุ้นส่วนที่เหลืออยู่ ให้สมมุติว่าไม่สามารถขายได้ ต้องถือเป็นผลขาดทุนทั้งหมด 2. ถ้ามีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ให้สมมุติว่ารายการนั้นเกิดขึ้นแล้วและถือ เป็นผลขาดทุน เช่น ตั๋วเงินรับขายลดให้สมมุติว่าตั๋วเงินฉบับนั้นขาดความ เชื่อถือกิจการต้องชาระเงินแทนผู้ออกตั๋ว เป็นต้น 3. ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดมีผลขาดทุนเกินทุนให้สมมุติว่าผู้เป็น หุ้นส่วนคนนั้นไม่สามารถนาเงินสดมาชาระส่วนขาดในบัญชีทุนได้ต้องถือ เป็นผลขาดทุนเฉลี่ยให้กับผู้เป็นหุ้นสวนที่เหลือ
  36. 36. การคานวณเงินสดจ่ายคืนทุนเป็นงวด ๆ มี ขั้นตอนดังนี้ 1. นายอดเงินทุนและเงินกู้คงเหลือ ก่อนจ่ายคืนทุนในงบชาระบัญชี มาลงในงบ คานวณเงินสดจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน โดยแยก แสดงยอดของแต่ละคน 2. นาผลขาดทุนตามข้อสมมุติต่าง ๆ ข้างต้นมาหักจาก ยอดเงินทุนและเงินกู้คงเหลือ ผลลัพธ์สุทธิที่คานวณได้คือจานวนเงิน สดจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคน
  37. 37. ตัวอย่างที่ 8 : เอ บี และ ซี เป็นหุ้นส่วนกัน แบ่งผลกาไรขาดทุนในอัตรา 2: 2: 1 ตามลาดับ ในวันที่ 31 ธันวาคม 25x2 หลังจากปิดบัญชีแบ่งผลกาขาดทุนประจาปีรวมทั้งปรับปรุงสินทรัพย์สุทธิและโอนปิด บัญชีกระแสทุนเข้าบัญชีทุนแล้วงบดุลของห้างหุ้นส่วนปรากฏดังนี้ ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล เอบีซี งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2 สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน เงินสด 32,500 หนี้สิน 260,000 สินทรัพย์อื่น 610,000 เงินกู้– บี 50,000 ทุน – เอ 154,000 ทุน – บี 134,000 ทุน – ซี 44,500 รวมสินทรัพย์ทั้งสิ้น 642,500 รวมหนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 642,500
  38. 38. ห้างหุ้นส่วนเลิกกิจการในวันที่ 1 มกราคม 25x3 โดยตกลงค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชี 20,000 บาท และให้ผู้ชาระบัญชีจ่ายคืนทุนเป็นงวด ๆ ทุกครั้งที่ขายสินทรัพย์และมีเงิน สดเหลือพอที่จะชาระคืนทุนได้ระหว่างเดือนมกราคมถึงมีนาคมผู้ชาระบัญชีได้จัดการ ขายสินทรัพย์ทั้งสิ้นไปดังนี้ ครั้งที่ ระหว่างเดือน ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ เงินสดที่ขายได้ กาไร(ขาดทุน) 1 มกราคม 417,500 337,500 (80,000) 2 กุมภาพันธ์ 67,500 70,000 2,500 3 มีนาคม 125,000 50,000 (75,000) รวม 610,000 457,500 152,500 หลังจากการขายสินทรัพย์ครั้งที่ 1 ในเดือนมกราคม ห้างหุ้นส่วนจะมีเงินสดเพิ่มขึ้นเป็นจานวน (32,500 + 337,500) = 370,000 บาท ซึ่งจะต้องกันไว้สารับจ่ายชาระหนี้สิน ค่าชาระบัญชี และเงินกู้– บี รวมเป็นเงินทั้งสิ้น (260,000+20,000+50,000) = 330,000 บาท จึงเหลือเงินสดที่จะจ่ายคืนทุนงวดแรก ได้จานวน (370,000-330,000) = 40,000 บาท โดยจ่ายคืนทุนให้เอและบีตามรายละเอียดในงบชาระ บัญชีและงบประกอบการคานวณเงินสดจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วนดังนี้
  39. 39. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล เอบีซี งบชาระบัญชี สาหับเดือนมกราคม – มีนาคม 25x3 รายการ สินทรัพย์ หนี้สิน เงินกู้- ทุน(อัตราแบ่งกาไรขาดทุน) เงินสด อื่น ๆ บี เอ (2/5) บี (2/5) ซี (2/5) ยอดคงเหลือก่อนการชาระบัญชี 32,500 610,000 260,000 50,000 154,000 134,000 44,500 มกราคม : ขายสินทรัพย์ บันทึก ค่าชาระบัญชีและแบ่งผลขาดทุน 337,500 (417,500) 20,000 - (40,000) (40,000) (20,000) คงเหลือ 370,000 192,500 280,000 50,000 114,000 94,000 24,500 จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก (260,000) - (260,000) - - - - คงเหลือ 110,000 192,000 20,000 50,000 114,000 94,000 24,500 จ่ายคืนเงินกู้– บี (50,000) - - (50,000) - - - คงเหลือ 60,000 192,000 20,000 - 114,000 94,000 24,500 จ่ายคืนทุนครั้งที่ 1(งบประกอบ 1) (40,000) - - - (30,000) (10,000) - คงเหลือ 20,000 192,500 20,000 - 84,000 84,000 24,500
  40. 40. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล เอบีซี งบชาระบัญชี สาหับเดือนมกราคม – มีนาคม 25x3 รายการ สินทรัพย์ หนี้สิน เงินกู้- ทุน(อัตราแบ่งกาไรขาดทุน) เงินสด อื่น ๆ บี เอ (2/5) บี (2/5) ซี (2/5) กุมภาพันธ์ : ขายสินทรัพย์และ แบ่งผลกาไรให้ผู้เป็นหุ้นส่วน 70,000 (67,500) - - 1,000 1,000 500 คงเหลือ 90,000 125,000 20,000 - 85,000 85,000 25,000 จ่ายคืนทุนครั้งที่ 2(งบประกอบ 2) (70,000) - - - (35,000) (35,000) - คงเหลือ 20,000 125,000 20,000 - 50,000 50,000 25,000 มีนาคม : ขายสินทรัพย์และแบ่ง ผลขาดทุนให้ผู้เป็นหุ้นส่วน 50,000(125,000) - - (30,000) (30,000) (15,000) คงเหลือ 70,000 - 20,000 - 20,000 20,000 10.000 จ่ายค่าชาระบัญชี (20,000) - (20,000) - - - - คงเหลือ 50,000 - - - 20,000 20,000 10,000 จ่ายคืนทุนครั้งที่ 3 (2 : 2 : 1) (50,000) - - - (20,000) (20,000) (10,000) - - - - - - -
  41. 41. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล เอบีซี งบประกอบ 1 - การคานวณเงินสดจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน สาหรับเดือนมกราคม 25x3 หน่วย : บาท เงินทุนคงเหลือก่อนการจ่ายคืนทุนครั้งที่ 1 (ดูงบชาระ บัญชี) หัก ผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากสินทรัพย์ที่เหลืออยู่ ขาย ไม่ได้ทั้งหมด 192,500บาท แบ่งให้เอ บี และซี 2:2:1 คงเหลือ หัก ผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากซีไม่สามารถนาเงินมา ชาระส่วนขาดในบัญชีทุนได้แบ่งให้เอและบีในอัตรา 2: 2 จานวนเงินสดจ่ายคืนทุนครั้งที่ 1 เอ (2/5) บี (2/5) ซี (1/5) 114,000 (77,000) 94,000 (77,000) 24,500 (38,500) 37,000 7,000) 17,000 (7,000) (14,000) 14,000 30,000 10,000 -
  42. 42. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล เอบีซี งบประกอบ 2 - การคานวณเงินสดจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน สาหรับเดือนกุมภาพันธ์ 25x3 ยอดคงเหลือก่อนการจ่ายคืนทุน ครั้งที่ 2 (ดูงบชาระบัญชี) หัก ผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากสินทรัพย์ที่เหลืออยู่ ขาย ไม่ได้ทั้งหมด 125,000 บาท แบ่งให้เอ บี และซี 2: 2: 1 จานวนเงินสดจ่ายคืนทุนครั้งที่ 2 เอ (2/5) บี (2/5) ซี (1/5) 85,000 (50,000) 85,000 (50,000) 25,000 (25,000) 35,000 35,000 - หลังจากจ่ายคืนทุนครั้งที่ 2 เงินทุนของ เอ บี ซี ตามงบชาระบัญชีจะมียอดคงเหลือ 50,000:50,000:25,000 หรือคิดเป็นอัตราส่วน 2:2:1 เท่ากับอัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุน โดยไม่ต้องทางบประกอบการคานวณ เงินสดจ่ายคืนทุนอีก
  43. 43. การบันทึกรายการชาระบัญชีในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 1-31 1-31 1-31 เงินสด กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ สินทรัพย์อื่น ๆ บันทึกการจาหน่ายสินทรัพย์โดยมีผลขาดทุน กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ค่าชาระบัญชีค้างจ่าย บันทึกค่าชาระบัญชีค้างจ่าย ทุน - เอ ทุน - บี ทุน - ซี กาไรขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ โอนปิดบัญชีกาไรขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ เข้าบัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วน 337,500 80,000 20,000 40,000 40,000 20,000 417,500 20,000 100,000 - - -
  44. 44. สมุดรายวันทั่วไป วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ม.ค. 31 31 31 ก.พ.1-28 หนี้สิน เงินสด จ่ายชาระหนี้สินบุคคลภายนอก เงินกู้- บี เงินสด จ่ายชาระคืนเงินกู้ผู้เป็นหุ้นส่วน ทุน – เอ ทุน – บี เงินสด จ่ายชาระคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วนครั้งที่ 1 เงินสด สินทรัพย์อื่นๆ กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ บันทึกการจาหน่ายสินทรัพย์โดยมีผลกาไร 260,000 50,000 30,000 10,000 70,000 260,000 50,000 40,000 67,500 2,500
  45. 45. สมุดรายวันทั่วไป วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 ก.พ.1-28 28 มี.ค. 1-31 กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ทุน - เอ ทุน - บี ทุน - ซี โอนปิดบัญชีกาไรขาดทุนจากการจาหน่าย สินทรัพย์เข้าบัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วน ทุน - เอ ทุน – บี เงินสด จ่ายชาระคืนทุนให้ผู้เป็นหุ้นส่วนครั้งที่ 2 เงินสด กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ สินทรัพย์อื่นๆ บันทึกการจาหน่ายสินทรัพย์โดยมีผลขาดทุน 2,500 35,000 35,000 50,000 75,000 1,000 1,000 500 70,000 125,000
  46. 46. สมุดรายวันทั่วไป วันเดือนปี ราการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x3 มี.ค. 31 31 ทุน - เอ ทุน - บี ทุน - ซี กาไรขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ โอนปิดบัญชีกาไรขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ เข้าบัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วน ทุน - เอ ทุน - บี ทุน - ซี เงินสด จ่ายชาระคืนทุนให้ผู้เป็นหุ้นส่วนครั้งที่ 3 30,000 30,000 15,000 20,000 20,000 10,000 75,000 50,000
  47. 47. แผนผังแสดงลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน ในกรณีการชาระบัญชีจาเป็นหุ้นต้องใช้ระยะเวลานานโดยมีการ ขายสินทรัพย์หลายครั้ง และผู้เป็นหุ้นส่วนประสงค์ให้มีการจ่ายคืน ทุนเป็นงวด ๆ ก่อนที่จะขายสินทรัพย์ได้ทั้งหมด ผู้ชาระบัญชีอาจ จัดทาแผนผังแสดงลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วนขึ้นมาล่วงหน้า โดยแสดงการคานวณลาดับการจ่ายคืนทุนและจานวนเงินสดที่จะจ่าย คืนทุนให้ผู้เป็นหุ้นส่วนในแต่ละครั้งที่ขายสินทรัพย์ได้ซึ่งลาดับการ จ่ายคืนทุนและจานวนเงินสดการจ่ายคืนทุนที่คานวณได้จะมีผลลัพธ์ เช่นเดียวกับกรณีที่มีการทางบประกอบการคานวณเงินสดจ่ายคืนทุน แต่ละครั้ง โดยผู้เป็นหุ้นส่วนที่มีความสามารถในการรับเฉลี่ยส่วน แบ่งผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นได้ในจานวนสูงสุด จะได้รับการคืนทุน ก่อนและเรียงตามลาดับไป
  48. 48. ประโยชน์ของแผนผังแสดงลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน 1. แผนผังแสดงลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน จัดทาเพื่อ ความสะดวกสาหรับผู้ชาระบัญชี โดยไม่ต้องจัดทางบประกอบการ คานวณเงินสดจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วนทุกครั้งที่ขายสนทรัพย์และ จ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วนในแต่ละงวด 2. แผนผังแสดงลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน จะเป็น ประโยชน์ทาให้ทราบล่วงหน้าได้ว่าในการขายสินทรัพย์แต่ละครั้ง ถ้ามีเงินสดคงเหลือสาหรับจ่ายคืนทุนได้ผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดจะ ได้รับการคืนทุนก่อนหลัง และจะได้รับคืนทุนเป็นจานวนเงินเท่าใด
  49. 49. ขั้นตอนการจัดทาแผนผังแสดงลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน 1. คานวณหาผลขาดทุนสูงสุดของห้างหุ้นส่วน ที่จะมาลบล้างบัญชี ทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนให้หมดไป 2. จัดลาดับผู้เป็นหุ้นส่วนที่มีสิทธิได้รับคนทุนก่อนหลัง โดยผู้ที่มี ความสามารถในการรับเฉลี่ยส่วนแบ่งผลขาดทุนได้สูงสุดจะมีสิทธิ ได้รับคืนทุนก่อน 3. คานวณจานวนเงินสดที่ผู้เป็นหุ้นส่วนจะได้รับการคืนทุนในแต่ ละครั้ง 4. จัดทาแผนผังแสดงลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน
  50. 50. ตัวอย่างที่ 9 : จากตัวอย่างที่ 8 สามารถนาข้อมูลมาคานวณและจัดทาแผนผังแสดงลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วนได้ดังนี้ ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล เอบีซี แผนผังการคานวณจานวนเงินและลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน เงินทุนคงเหลือก่อนการชาระบัญชี อัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาทุน 2:2:1 1. ผลขาดทุนสูงสุดของห้างหุ้นส่วน ที่ผู้เป็น หุ้นส่วนสามารถรับเฉลี่ยส่วนแบ่งขาดทุนได้โดย ไม่ทาให้บัญชีทุนติดลบ(เงินทุนคงเหลือหารด้วย อัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุน) เอ = 154,000 2/5 = 154,000 x 5/2 บี = 134,000 2/5 =134,000 x 5/2 ซี = 44,000 1/5 = 44,500 x 5/1 2. ลาดับผู้มีสิทธิได้รับคืนทุนก่อน คือ เอ จานวนเงินคงเหลือ จานวนเงินและลาดับการจ่ายคืน เอ บี ซี เอ บี ซี 154,000 134,000 44,500 2/5 2/5 1/5 385,000 335,000 222,5000
  51. 51. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล เอบีซี (ต่อ) แผนผังการคานวณจานวนเงินและลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน 3. เงินสดจ่ายคืนทุน : - เงินสดจานวนแรก จ่ายคืนทุนให้เอเท่ากับจานวน ลดยอดผลขาดทุนส่วนของเอให้เท่ากับบีคูณด้วย อัตราส่วนแบ่งผลกาไรของเอ = ( 385,000 – 335,000 ) x 2/5 =20,000 บาท คงเหลือ - เงินสดจานวนที่ 2 จ่ายคืนทุนให้เอและบีเท่ากัน ( 335,000 – 222,500 ) x 2/5 = 45,000 บาท คงเหลือ รวมเงินสดจ่ายคืนทุน 2 จานวนแรก - เงินสดจานวนต่อไป จ่ายคืนทุนให้หุ้นส่วนทุกคน ตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน2:2:1 จานวนเงินคงเหลือ จานวนเงินและลาดับการจ่ายคืน เอ บี ซี เอ บี ซี (50,000) 20,000 335,000 335,000 222,500 (112,500) (122,500) - 45,000 45,000 222,500 222,500 222,500 65,000 45,000 - 2/5 2/5 1/5
  52. 52. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล เอบีซี แผนผังแสดงลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน เงินสด เอ บี ซี เงินสดจานวนแรกจ่ายให้บี เงินสดจานวนที่ 2 จ่ายให้ เอ และบี เงินสดจานวนต่อ ๆ ไป จ่ายให้ผู้เป็นหุ้นส่วน ทุกคน ตามอัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุน 2: 2: 1 20,000 90,000 20,000 45,000 2/5 - 45,000 2/5 - - 1/5 จากแผนผังแสดงลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วนที่จัดทาขึ้น ล่วงหน้า ต่อมาเมื่อขายสินทรัพย์ตามตัวอย่างที่ 8 การบันทึกรายการใน สมุดรายวันทั่วไปและจัดทางบชาระบัญชีจะปรากฏเช่นเดียวกับตัวอย่าง ที่ 8 โดยไม่ต้องจัดทางบประกอบที่ 1 และ 2 แต่ควรจัดทางบประกอบ ดังนี้
  53. 53. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล เอบีซี งบประกอบ - การคานวณเงินสดจ่ายคืนทุนตามแผนผังแสดงลาดับการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน เงินสด เงินทุน เอ บี ซี มกราคม การขายสินทรัพย์ครั้งที่ 1 : เงินสดคงเหลือสาหรับจ่ายคืนทุน 40,000 บาท เงินสด 20,000บาท จ่ายให้บี เงินสด 20,000 บาท จ่ายให้เอและบี 2 : 2 รวมเงินสดจ่ายคืนทุนงวดที่ 1 กุมภาพันธ์ การขายสินทรัพย์ครั้งที่ 2 เงินสดคงเหลือสาหรับจ่ายคืนทุน 70,000 บาท จ่ายให้เอและบี ในอัตรา 2 : 2 มีนาคม การขายสินทรัพย์ครั้งที่ 3 เงินสดคงเหลือสาหรับจ่ายคืนทุน 50,000 บาท จ่ายให้เอ บี และซี ในอัตรา 2 : 2 : 1 รวมเงินสดจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน 20,000 20,000 40,000 70,000 50,000 160,000 20,000 10,000 30,000 35,000 20,000 85,000 - 10,000 10,000 35,000 20,000 65,000 - - - - 10,000 10,000