รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

��� ��  �������Ѻ��ý֡ͺ�����ѡ�ٵá�����Է�ҡ�����ǡѺ������ʹ���㹡�÷ӧҹ㹷���Ѻ�ҡ�ȷ�������ʴԡ����Ф�����ͧ�ç�ҹ����Ѻ�����С�ȡ�����ʴԡ����Ф�����ͧ�ç�ҹ ����ͧ ��ѡࡳ�� �Ըա�������ѡ�ٵá�ý֡ͺ��������ʹ���㹡�÷ӧҹ㹷���Ѻ�ҡ�� ŧ�ѹ��� �� ���Ҥ� �.�. ���� ��͹������ѧ�ѹ����С�ȹ���ռ���ѧ�Ѻ��м�ҹ��ý֡ͺ�������ѹ��� � ��Ȩԡ�¹ ���� �������Ҽ�����դس���ѵ����Է�ҡü��ӡ�ý֡ͺ���Ҥ��ԺѵԵ����С�ȹ��

บ่อยครั้งเรามักจะได้ยินข่าวการเสียชีวิตจากการทำงานในที่ที่อับอากาศเนื่องจากนายจ้าง และ ผู้ปฏิบัติงานยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัย กฎหมายไทยจึงได้มีการประกาศกำหนดให้สถานประกอบกิจการไหนมีสถานที่อับอากาศที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไปนายจ้างจะต้องจัดให้มีมาตรการความปลอดภัยและการฝึกอบรมที่อับอากาศ 4 ผู้ ได้แก่ ผู้อนุญาต ผู้ควบคุม ผู้ช่วยเหลือ ผู้ปฏิบัติงานในงานอับอากาศ วันนี้เราจะมาแนะนำแนวทางการจัดฝึกอบรมการทำงานในที่อับอากาศว่ามีขั้นตอนอย่างไร และ มีกี่รูปแบบ

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทำงานในที่อับอากาศจะมีทั้งหมด 4 เรื่องดังนี้

  1. กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับที่อับอากาศ (15 กุมภาพันธ์ 2562)
  2. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทํางานในที่อับอากาศ
    (11 มีนาคม 2564)
  3. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานอุปกรณ์คุ้มครอง ความปลอดภัยส่วนบุคคล อุปกรณ์ช่วยเหลือ และ ช่วยชีวิตสำหรับการทำงานในที่อับอากาศ (21 ตุลาคม 2548)
  4. ประกาศกรมสวัสดิการ และ คุ้มครองแรงงาน เรื่อง กําหนดมาตรฐานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล  (27 กันยายน 2554)

การฝึกอบรมหลักสูตรการทำงานในสถานที่อับอากาศ 4 ผู้ได้ถูกกำหนดให้มีการจัดอบรมตามหลักเกณฑ์วิธีการ ตามกฎหมายตามข้อ 2 ด้านบนนายจ้างจะต้องให้ให้ลูกจ้างที่มีหน้าที่รับผิดชอบอบรมที่อับอากาศ 4 ผู้

  • หลักสูตรผู้อนุญาต
  • ผู้ควบคุมงาน
  • ผู้ช่วยเหลือ
  • ผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ รวมกันทั้งหมด 4 ผู้

รวมไปถึงจัดให้มีการอบรมทบทวนการทำงานในสถานที่อับอากาศตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายก่อนลูกจ้างเริ่มทำงาน หรือมีการเปลี่ยนงาน หรือเปลี่ยนสถานที่ทำงานในที่อับอากาศ

อบรมที่อับอากาศมีทั้งหมดกี่แบบ อะไรบ้าง ?

การจัดฝึกอบรมสามารถทำได้ 2 แบบ

  1. จัดฝึกอบรมที่อับอากาศแบบหน่วยฝึกอบรมนิติบุคคลที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 11
  2. จัดฝึกอบรมที่อับอากาศแบบนายจ้างจัดอบรมเอง (In-House Training)

ข้อดีข้อเสียการจัดอบรมที่อับอากาศในแต่ละแบบ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

คุณสมบัติผู้เข้าอบรมที่อับอากาศมีอะไรบ้าง

  1. มีอายุไม่ต่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์
  2. มีใบรับรองแพทย์ว่าเป็นผู้มีสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคเก่ียวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ
  3. ผู้เข้ารับการอบรมจะต้องผ่านการฝึกอบรมดับเพลิงขั้นต้นมาแล้ว

5 ขั้นตอนการจัดอบรมที่อับอากาศ แบบนายจ้างจัดอบรมเอง (In-House Training)

  1. หาวิทยากรสอนหลักสูตรที่อับอากาศที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนด
  2. แจ้งราชการก่อนจัดอบรมจะต้องแจ้งก่อน 7 วัน นับจากวันอบรมจริง
  3. จัดเตรียมอุปกรณ์ในการฝึกภาคปฏิบัติ 5 รายการตามที่กฎหมายกำหนด (ส่วนใหญ่วิทยากรที่บริการฝึกอบรมจะเป็นผู้เตรียมมาด้วยให้แบบเบ็ดเสร็จ)
  4. เตรียมห้องอบรมภาคทฤษฎี 1 ห้อง เข้าอบรมได้ไม่เกิน 30 คน
  5. เตรียมสารประกอบการฝึกอบรม และ เตรียมข้อสอบต่างๆ
  6. เตรียมสถานที่สำหรับการฝึกภาคปฏิบัติ สามารถปฏิบัติในสถานที่จริง หรือ มีลักษณะเหมือนสถานที่จริงได้

ตัวอย่างการจัดอบรมที่อับอากาศ แบบนายจ้างจัดเอง (อินเฮ้าส์)

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

รายชื่อหน่วยฝึกอบรมที่อับอากาศ

Previous

Next

เครดิตภาพจาก
ศูนย์ฝึกอบรมความปลอดภัย เซฟสิริ และ CPF

สรุป :

การอบรมที่อับอากาศแบบนายจ้างจัดอบรมเอง (In-House Training) มีความเหมาะสมกับสถานประกอบการที่พนักงานทำงานในพื้นที่ของตนเองไม่ออกไปทำงานภายนอกบริษัท การจัดอบรมแบบอินเฮ้าส์ข้อดีคือมีความยืดหยุ่นค่อนข้างสูง ช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องให้พนักงานเดินทางออกไปภายนอกบริษัท ไม่ต้องเสียค่าที่พักกรณีอยู่ไกล

แต่.. การจัดอบรมแบบอินเฮ้าส์นี้ไม่เหมาะกับบริษัทผู้รับเหมาที่มีการทำงานแบบเปลี่ยนสถานที่ทำงานบ่อยๆ แนะนำให้อบรมแบบนิติบุคคลดีกว่าเพราะสามารถทำงานได้ทุกที่ ใครสะดวกแบบไหนก็ลองพิจาณาตามความเหมาะสม