บริการด้าน โล จิ สติ ก ส์ คือ

บทบาทหน้าที่ของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ (Logistics Service Provider) หมายถึง ผู้ให้บริการจากภายนอก หรือผู้ประกอบการภายนอก มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่มีผลสำคัญในช่วยการทำงาน และสามารถประหยัดช่วยลดต้นทุนได้ แบ่งออกเป็น

  • ผู้ให้บริการขนส่งสินค้า (Transportation Services) ขนส่งทางรถยนต์ รถบรรทุก ขนส่งทางราง / ขนส่งทางท่อ ขนส่งทางน้ำ ขนส่งทางอากาศ และ MTO (Multimodal Transport Operator) การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ Terminal To Terminal หรือ Door To Door
  • ผู้ให้บริการคลังสินค้า (Warehousing Services)
    • คลังสินค้าผ่านแดน (In-Transit Warehouse)
    • คลังสินค้าปลอดอากร (Free Zone Warehouse)
    • คลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse)
    • คลังสินค้ารับฝากเก็บสินค้าในประเทศ (Domestic Warehouse)
  • ผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (International Freight Forwarder) ผู้รับจัดการขนส่งสินค้า ระหว่างประเทศ
  • ตัวแทนออกของ (Customs Brokerage Services) ตัวแทนของผู้นำเข้าและผู้ส่งออกในการดำเนินพิธีการศุลกากรแทนผู้นำเข้าและผู้ส่งออกที่เจ้าของสินค้า
  • การให้บริการพัสดุและไปรษณียภัณฑ์ (Courier and Postal Services) ผู้ให้บริการขนส่งพัสดุและ ไปรษณียภัณฑ์ เปนนการให้บริการอย่างรวดเร็ว โดยให้บริการแบบ door-to-door ลักษณะเป็นสินค้า ที่มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา

อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ : มารู้จัก 1PL 2PL 3PL 4PL และ 5PL คืออะไร ?

  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

Related Posts

  • ความแตกต่าง Third Party Logistics (3PL) ระหว่าง Fourth Party Logistics (4PL)
  • ELMA 2017 (Excellent Logistics Management Award 2017) รางวัลสำหรับกลุ่มผู้ให้บริการโลจิสติกส์
  • มารู้จัก 1PL 2PL 3PL 4PL และ 5PL คืออะไร ?
  • นินจาแวน (ninjavan) โลจิสติกส์บริการจัดส่งพัสดุทั่วทุกภูมิภาค
  • คำศัพท์การจัดซื้อ (purchase) และซัพพลายเออร์ (supply) มีอะไรบ้าง ?


โดยการขนส่งเคลื่อนย้ายจากต้นทางไปสู่ปลายทางที่ตั้งไว้เพื่อตอบสนองต่อผู้บริโภคโลจิสติกส์นั้นเป็นการรวมกันของ
ข้อมูล,การขนส่ง,การบริหารวัสดุคงคลัง,การจัดการวัตถุดิบ,การบรรจุหีบห่อ โลจิสติกส์เป็นช่องทางที่ใช้เพิ่มมูลค่าการ
ใช้ประโยชน์ของเวลาและสถานที่ทุกอย่างที่มีเกี่ยวกับการขนส่ง จะเกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์ทั้งหมด

เป้าหมายของโลจิสติกส์

นั้นคือการลดค่าใช้จ่ายลดระยะเวลาขนส่งและลดปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในระหว่าง
ขนส่งโดยให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการขนส่ง

     กิจกรรมที่สำคัญของโลจิสติกส์

  1. Order management/Customer service คือ การจัดการการรับหรือส่งสินค้า และ การบริการลูกค้า
  2. Packaging คือ การคัดเลือกบรรจุภัณฑ์เพื่อมาใช้บรรจุสินค้า
  3. Material handling คือ การขนถ่ายวัสดุภายในโรงงาน หรือ ในคลังสินค้า
  4. Transportations/Mode of transportations (Domestic & International) คือ การขนส่งสินค้าระหว่างสถานที่ต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ
  5. Warehouse management (Layout, locations, control technology/equipment, facility) คือ การจัดการคลังสินค้า ไม่ว่าจะเป็นการวางผังสินค้าหรือ สถานที่ ที่จะตั้งคลังสินค้า
  6. Inventory control systems (Qty)/ material management คือ ระบบในการบริหารสินค้าคงคลัง เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนหรือกระจายสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  7. Supplier management/material management คือ การบริหารจัดการผู้ผลิตวัตถุดิบให้เรา (Supplier) เพื่อให้ได้ วัตถุดิบที่มีคุณภาพและ เพียงพอต่อความต้องการในเวลาที่เหมาะสม
  8. Distribution center/distribution hub คือการกำหนดแหล่งที่ตั้งในการกระจายสินค้าเพื่อเกิดการกระจายสินค้าอย่างทั่วถึง
  9. Manufacturing/production control คือ ระบบควบคุมการผลิต

ประโยชน์ของโลจิสติกส์

ต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ช่วยลดต้นทุนเพื่อสร้างกำไรทางธุรกิจได้มากขึ้น เป็นเครื่องมือสำคัญในการแข่งขันธุรกิจเปลี่ยนการทำงานจากหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกันเป็นขบวนการประสานงานให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายองค์การทำให้งานที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายอื่นที่ต้นทุนสูง สามารถลดต้นทุนได้ ก่อให้เกิดการใช้ทรัพย์สินที่คุ้มค่าขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพในการบริการลูกค้า สร้างสัมพันธ์ลูกค้าภายในและภายนอกองค์การ เป็นพื้นฐานของการเจริญเติบโตของธุรกิจทำให้เกิดความรวดเร็วอันเนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเภทของโลจิสติกส์

• โลจิสติกส์เพื่อการขนส่งผู้โดยสาร( Passenger Logistics)
• โลจิสติกส์เพื่อการผลิต (Manufacturing Logistics)
• โลจิสติกส์เพื่อการกระจายสินค้า (Distribution Logistics)
การบริหารสินค้าคงคลัง รักษาสมดุลย์ระหว่าความต้องการของลูกค้า และผู้ขายสินค้าให้อยู่ในระดับสต็อคที่ต่ำสุด จัดทำสต็อคกรณีเก็งกำไรให้อยู่ในระดับที่พอดีกับความต้องการที่วางแผนไว้ ลงทุนสต็อคเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน สร้างความคงที่ในการผลิต และ การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล

ลักษณะธุรกิจแบบโลจิสติกส์ ในด้านการบริการ

1. แบบภายในประเทศ เป็นแบบขนส่งทั่ว ๆ ไปและแบบส่งร่วม

2. แบบสากลระหว่างประเทศ (การส่งออกและนำเข้าสินค้า) การขนส่งสินค้าออก และสินค้าเข้าคือเมื่อสินค้าพร้อมที่จะส่งออกจากโกดังโลจิสติกส์ หรือคลังสินค้าของโรงงานแล้ว หมายถึงว่ามีการแพคกิ้งเป็นมาตรฐานเพื่อการส่งออกและพร้อมด้วยใบอนุญาตต่าง ๆ ถ้าจำเป็นต้องใช้แล้วบริษัทขนส่งระบบโลจิสติกส์จะดำเนินการล่วงหน้าดังนี้
– การจองเรือเดินสมุทรหรือสายการบิน (Freight forwarder)
– การผ่านพิธีการทางศุลกากรและสิทธิพิเศษต่าง ๆ ที่จะได้รับชดเชยภาษี
– นำตู้คอนเทนเนอร์มาบรรจุที่โกดังโลจิสติกส์หรือคลังสินค้าของโรงงานแล้วบรรทุกไปที่ท่าเรือที่กำหนดไว้

3. งานโครงการขนาดใหญ่ งานก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ที่ต้องใช้เครื่องกลหนักหรือโรงงานอุตสาหกรรมหนักที่ต้องมีเครื่องจักรน้ำหนักมาก อีกทั้งยังเกี่ยวข้องกับการขนส่งวัสดุก่อสร้างหรือวัตถุดิบสำหรับการผลิตจำนวนมาก การรับงานขนส่งเคลื่อนย้ายเครื่องกลและเครื่องจักรขนาดหนักและวัสดุนี้ต้องใช้วิศวกรคิดคำนวณ สำรวจเส้นทาง วางแผนการทำงานโดยละเอียด ซึ่งงานลักษณะนี้จะต้องเขียนรายงาน ขั้นตอนในการที่จะทำงานและความเป็นไปได้อย่างละเอียดเสนอต่อเจ้าของงาน โดยใช้ระบบโลจิสติกส์มาช่วยในการจัดการและบริหารวางแผนงานต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้งานนั้นมีความราบรื่นด้วยดี

4. การขนส่งพืชเกษตร-ผลไม้และสัตว์น้ำ การขนส่งลักษณะนี้จำเป็นต้องใช้รถบรรทุกแบบมิดชิด มีการควบคุมอุณหภูมิ การออกแบบภายในรถบรรทุกจะต้องมีชั้นและช่องวางสินค้าเพื่อป้องกันความเสียหายจากการซ้อนทับกัน หรือใส่ภาชนะบรรจุพลาสติกโดนสามารถซ้อนกันได้ ภาชนะบรรจุที่ได้มาตรฐานสามารถใช้ได้ทั้งการส่งภายในประเทศและการส่งออกไปต่างประเทศด้วย สำหรับการขนส่งสินค้าเกษตรกรรมในปริมาณมากที่ใช้การขนส่งทางน้ำ ถ้าเป็นการส่งออกก็จะใช้เรือฉลอมซึ่งสามารถเข้าไปเทียบกับเรือเดินสมุทรได้โดยตรง

การบริการด้านโลจิสติกส์ มีอะไรบ้าง

1. บริการโลจิสติกส์หลักสำหรับสินค้า (Core Freight Logistics) ประกอบด้วย บริการยกขนสินค้า บริการคลังสินค้า ตัวแทนขนส่ง จัดตารางขนส่ง บริการอื่นๆ ที่สนับสนุกการขนส่ง (เช่น บริการตรวจสอบค่าระวาง บริการจัดเตรียมเอกสารขนส่ง เป็นต้น) 2. บริการโลจิสติกส์ที่เกี่ยวเนื่อง ( Related Freight Logistics) แบ่งเป็น บริการขนส่ง ( ...

ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ หมายถึงอะไร

Logistics Service Provider: LSP คือ ผู้ให้บริการด้านการปฏิบัติงานโลจิสติกส์แบบดั้งเดิม เช่น การ ขนส่งและคลังสินค้า โดยผู้ให้บริการมีสิ่งอ านวยความสะดวก ในการปฏิบัติงานหรือโครงสร้างพื้นฐาน ของ ตนเอง หรือผู้ให้บริการอาจไม่มี ยานพาหนะหรือคลังสินค้าเป็นของตนเองก็ได้ เพื่อลดต้นทุนหรือลดการลงทุน ในการซื้อสินทรัพย์ทั้งนี้ ...

โลจิสติกส์มีหน้าที่อะไรบ้าง

ลักษณะของงานของเจ้าหน้าที่ Logistics.
ตรวจสอบสินค้าว่าเป็นสินค้าประเภทใด มีความปลอดภัย และสามารถเคลื่อนย้ายไปยังจุดหมายได้หรือไม่.
จัดเตรียมสถานที่ในการเก็บรักษาสินค้า ให้อยู่ในสถานที่ และอุณหภูมิที่เหมาะสม ไม่ทำให้สินค้าเกิดความเสียหาย.
จัดรายการสินค้าให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าถึงและดูแล.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ