สูญ เสียการได้ยิน ความถี่ สูง

ดาวน์โหลดแผ่นพับเกี่ยวกับเครื่องช่วยฟัง

สูญ เสียการได้ยิน ความถี่ สูง

เครื่องช่วยฟัง

รุ่นเชื่อมต่อโทรศัพท์ด้วยระบบบลูทูธ

สูญ เสียการได้ยิน ความถี่ สูง

ใกล้ไกลฟังชัดทุกระยะ

เสียงเบาฟังชัด เสียงดังสบายหู

สูญ เสียการได้ยิน ความถี่ สูง

True

ทุกเสียงเป็นจริงที่เอียร์โทน
ด้วยระบบไร้สาย 2.4 GHz

สูญ เสียการได้ยิน ความถี่ สูง

Cros

หูหนวกข้างเดียวแต่ได้ยินชัดทั้งสองหู

ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทำงาน ได้กำหนดระดับเสียงต่อเนื่องที่ยอมให้สัมผัสได้ ดังนี้


    - ไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมง ต้องมีระดับเสียงที่ลูกจ้างได้รับติดต่อกันไม่เกิน 91 db
   - เกินกว่าวันละ 7 ชั่วโมง ต้องมีระดับเสียงที่ลูกจ้างได้รับติดต่อกันไม่เกิน 8ชั่วโมง และ ไม่เกิน 90 db
   - เกินวันละ 8 ชั่วโมง ต้องมีระดับเสียงที่ลูกจ้างได้รับติดต่อกันไม่เกิน 80 db

การสูญเสียการได้ยิน ที่เกิดจากเสียงดังนั้นมี 2 ชนิดได้แก่ 


    การสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราว (Temporary hearing loss)    ซึ่งมักเกิดในช่วง 2-3 ชั่วโมงแรกของการทำงาน และพบว่ากลับคืนสู่สภาพเดิมได้ใน 14-16 ชั่วโมง ภายหลังหยุดการสัมผัสเสียง
   การสูญเสียแบบถาวร (Permanent hearing loss)     เกิดขึ้นเมื่อหูได้ยินเสียงที่มีความเข้มสูงมากเป็นประจำ เป็นระยะเวลาหลายปี เกิดจากการทำลาย Cell รับเสียง ซึ่งจะไม่มีโอกาสกลับคืนสู่สภาพปกติได้

 วัตถุประสงค์การตรวจการได้ยินในโรงงาน 


- เป็นข้อมูลพื้นฐานในคนงานเข้าใหม่
- เป็นการค้นหาปัญหาการสูญเสียการได้ยิน ในระยะเริ่มต้น เพื่อจะได้รับการปรับปรังแก้ไข สภาพแวดล้อมทางเสียง  และการใช้เครื่องป้องกัน เสียง(ear plug ,ear muff) อย่างเคร่งครัดต่อไป - เพื่อติดตามผลระบบควบคุมป้องกันด้านสิ่งแวดล้อม

ผลตรวจการได้ยินนำไปใช้ทำอะไร 


-แบบที่ 1  การทดสอบสมรรถภาพการได้ยินก่อนเข้างาน(Pre Placement) เพื่อเป็น Baseline ใช้เปรียบเทียบกับปีต่อ ๆไป โดยจะคิดค่าเฉลี่ยการได้ยิน(db) ที่ความถี่ 500,1000,2000, และ 3000 Hertz (AV.SHL.) และที่ความถี่ 4000 และ 6000 Hertz (AV.NIHL.) ถ้ามีค่าเกิน 30- 45 db ไม่ควรรับเข้าทำงานในแผนกที่ต้องสัมผัสเสียงดัง


-แบบที่ 2  การทดสอบสมรรถภาพ การได้ยินประจำปี (Periodic Exam) เพื่อเปรียบเทียบว่ามีความเสื่อมของการได้ยินหรือไม่ โดยจะคิดค่าเฉลี่ยการได้ยิน(db) ที่มีค่าความถี่ 2000,3000 และ 4000 Hertz (AV.STS.) ถ้าเสื่อมลงจากเดิมเกิน 10 (db) ถือว่าผิดปกติ

ควรได้รับการตรวจซ้ำภายใน 1 –3 เดือน

ตรวจพิเศษสมรรถภาพการได้ยิน  เพียง 450 บาท
ด้วยความปรารถนาดี คลินิกตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน   โทร. 0-2518-1818 ต่อ 238

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ ระหว่างการสูญเสียการได้ยินที่ความถี่สูงและภาวะความดัน โลหิตสูงในพนักงานที่เข้ารับการตรวจสมรรถภาพการได้ยิน ที่คลินิกอาชีวเวชศาสตร์ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี โดย ใช้รูปแบบการศึกษาเป็นแบบเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง


กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยพนักงานที่เข้ารับการตรวจ สมรรถภาพการได้ยิน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 – 30 กันยายน พ.ศ. 2555 จำนวน 1,147 คน มีพนักงานถูกตัด ออกจากการศึกษาจำนวน 374 คน เนื่องจากไม่มีผลการตรวจ วัดความดันโลหิต และมีการสูญเสียการได้ยินที่ความถี่ต่ำ คงเหลือกลุ่มศึกษาจำนวน 773 คน


ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสีย การได้ยินที่ความถี่สูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ได้แก่ อายุ ประวัติโรคประจำตัวความดันโลหิตสูง การสูบบุหรี่ ระยะเวลาการทำงานที่ต้องสัมผัสเสียงดัง ความดัน โลหิตขณะหัวใจบีบตัวและความดันโลหิตขณะหัวใจคลาย ตัว เมื่อควบคุมปัจจัยด้านอายุพบว่า ความดันโลหิตขณะ หัวใจคลายตัวเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูญเสีย การได้ยินที่ความถี่สูงของหูทั้ง 2 ข้าง ขณะที่ความดันโลหิต ขณะหัวใจบีบตัวมีความสัมพันธ์กับการสูญเสียการได้ยินของ หูซ้ายเพียงข้างเดียว โดยสรุป จากการศึกษาในครั้งนี้ พบว่า ภาวะความ ดันโลหิตสูงมีความสัมพันธ์กับการสูญเสียการได้ยินที่ความถี่ สูง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความสำคัญและความสนใจ ในปัญหาดังกล่าวนี้เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจและ หลอดเลือดต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite

More Citation Formats

  • ACM
  • ACS
  • APA
  • ABNT
  • Chicago
  • Harvard
  • IEEE
  • MLA
  • Turabian
  • Vancouver

Download Citation

  • Endnote/Zotero/Mendeley (RIS)
  • BibTeX

ฉบับ

ปีที่ 6 ฉบับที่ 22 (2013): มีนาคม - กรกฏาคม 2556

บท

บทความวิจัย

สูญ เสียการได้ยิน ความถี่ สูง

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.

Journal of Safety and Health is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) licence, unless otherwise stated.

References

วิชิต ชีวเรืองโรจน์ (2544) การสูญเสียการได้ยิน. กรุงเทพมหานคร: โฮลิสติก พับลิชชิ่ง.

สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย (2012) แนวทาง การรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2555. Retrieved October 8, 2013, from http:// www.thaihypertension.org/guideline.html

สุนันทา พลปัถพี และจรัส โชคสุวรรณกิจ (2554) ตำรา อาชีวเวชศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ราชทัณฑ์.

เสาวรส อัศววิเชียรจินดา (2543) โรคหู. กรุงเทพมหานคร: โฮลิสติก พับลิชชิ่ง.

Andren, L., Hansson, L., Bjorkman, M., & Jonsson, A. (1980). Noise as a contributory factor in the development of elevated arterial pressure: A study of the mechanisms by which noise may raise blood pressure in man. Acta Med Scand, 207 (6), 493 – 498.

Chang, T.Y., Liu, C.S., Huang, K.H., Chen, R.Y., Lai, J.S., & Bao, B.Y. (2011). High-frequency hearing loss, occupational noise exposure and hypertension: A cross-sectional study in male workers. Environ Health, 10, 35.

Gan, W.Q., Davies, H.W., & Demers, P.A. (2011). Exposure to occupational noise and cardio vascular disease in the United States: The National Health and Nutrition Examination Survey 1999 – 2004. Occup Environ Med, 68 (3), 183 – 190.

Hirai, A., Takata, M., Mikawa, M., Yasumoto, K., Iida, H., Sasayama, S., & Kagamimori, S. (1991). Prolonged exposure to industrial noise causes hearing loss but not high blood pressure: A study of 2124 factory laborers in Japan. J Hypertens, 9 (11), 1069 – 1073.

Inoue, M., Laskar, M.S., & Harada, N. (2005). Cross-sectional study on occupational noise and hypertension in the workplace. Arch Environ Occup Health, 60 (2), 106 – 110.

Ising, H., & Kruppa, B. (2004). Health effects caused by noise: Evidence in the literature from the past 25 years. Noise Health, 6 (22), 5 – 13.

Koh, David. (2011). Auditory Disorders. In K.T. David Koh (Ed.), Textbook of Occupational Medicine Practice (3rd Edition). Singapore: World Scientifific Publishing Company.

Kristal-Boneh, E., Melamed, S., Harari, G., & Green, M.S. (1995). Acute and chronic effects of noise exposure on blood pressure and heart rate among industrial employees: The Cordis Study. Arch Environ Health, 50 (4), 298 – 304.

Mancia, G., Fagard, R., Narkiewicz, K., Redon, J., Zanchetti, A., Bohm, M., & Zannad, F. (2013). 2013 ESH/ESC Guidelines for the management of arterial hypertension: the Task Force for the management of arterial hypertension of the European Society of Hypertension (ESH) and of the European Society of Cardiology (ESC). J Hypertens, 31 (7), 1281 – 1357.

Narlawar, U.W., Surjuse, B.G., & Thakre, S.S. (2006). Hypertension and hearing impairment in workers of iron and steel industry. Indian J Physiol Pharmacol, 50 (1), 60 – 66.

Nelson, D.I., Nelson, R.Y., Concha-Barrientos, M., & Fingerhut, M. (2005). The global burden of occupational noise-induced hearing loss. Am J Ind Med, 48 (6), 446 – 458.

Passchier-Vermeer, W., & Passchier, W.F. (2000). Noise exposure and public health. Environ Health Perspect, 108 Suppl 1, 123 – 131.

Penney, P.J., & Earl, C.E. (2004). Occupational noise and effects on blood pressure: Exploring the relationship of hypertension and noise exposure in workers. AAOHN J, 52 (11), 476 – 480.

Pouryaghoub, G., Mehrdad, R., & Mohammadi, S. (2007). Interaction of smoking and occupational noise exposure on hearing loss: A cross

Spreng, M. (2000). Central nervous system activation by noise. Noise Health, 2 (7), 49 – 58. Wu, T.N., Shen, C.Y., Ko, K.N., Guu, C.F., Gau, H.J., Lai, J.S., & Chang, P.Y. (1996). Occupational lead exposure and blood pressure. Int J Epidemiol, 25 (4), 791 – 796.

Zhang, W.S., Zhou, H., Xiao, L.W., Wu, L., Wang, Z., He, G.Q., & Luo, X.L. (2012). A study on the relationship between hearing impairment and blood pressure and hypertension in workers occupationally exposed to noise. Zhonghua Lao Dong Wei Sheng Zhi Ye Bing Za Zhi, 30 (7), 517 – 520.