รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สพฐ 2563

ด้วย ฉก.ชน. สพฐ. ได้รวบรวมผลงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในสถานศึกษา ประจำปี 2563  เพื่อให้สะดวกในการสืบค้น ฉก.ชน. ได้จัดทำเว็บไซต์ เพื่อรวบรวมผลงานของโรงเรียน ไว้ที่

รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สพฐ 2563

https://surakst3.wixsite.com/mysite

 

 

  • About
  • Latest Posts

รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สพฐ 2563

Premruthai

รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สพฐ 2563

Latest posts by Premruthai (see all)

  • การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา (สจว. สพฐ.) รุ่นที่ 10 - 25 ตุลาคม 2022
  • นายเสริมฤทธิ์ หวายฤทธิ์ธนกุล เดินทางเข้ารับตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สพฐ. - 18 กรกฎาคม 2022
  • รายงานผลการจัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 16 มิถุนายน 2022

  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

การดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ การส่งเสริม พัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหาเพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ มีคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ มีภูมิคุ้มกันทางจิตใจที่เข้มแข็ง คุณภาพชีวิตที่ดี มีทักษะการดำรงชีวิต และรอดพ้นจากวิกฤติทั้งปวง รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2564 เป็นกระบวนการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีขั้นตอนชัดเจน พร้อมทั้งมีวิธีการและเครื่องมือที่มีมาตรฐาน คุณภาพ และมีหลักฐานการทำงานที่ตรวจสอบได้โดยมีครูประจำชั้น เพื่อให้ได้ผลการคัดกรองที่มีคุณภาพ สามารถนำผลไปใช้ในการจัดทำนวัตกรรม การแก้ไขปัญหา การพัฒนาผู้เรียน และการส่งเสริมผูเ้เรียนที่มีความสามารถพิเศษอื่นๆ

รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สพฐ 2563
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2564

ครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการดำเนินงานและบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกสถานศึกษา ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาผู้ปกครอง ชุมชน ผู้บริหารชุมชน ผู้บริหาร และครูทุกคน ฯลฯ มีส่วนร่วม

สำหรับไฟล์ปกรายงานผลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีทั้งหมด 7 สี 1 ไฟล์ Power Point ที่สามารถแก้ไขได้ ปรับเปลี่ยนได้ตามความชอบ

เอกสารประกอบการพิจารณาเพื่อคัดเลอื กสถานศึกษาเพือ่ รับรางวลั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ประจำปี ๒๕๖5

2

สารบญั

เรือ่ ง หน้า

1. ขอ้ มูลโรงเรียน/สถานศึกษา.............................................................................................................1
2. ผลการบรหิ ารจดั การและการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรยี นเกาะพะงนั ศกึ ษา

(เปน็ ผลงานปกี ารศึกษา 2562 – 2564) ใน 5 ประเดน็ ...............................................................1
๑ การบริหารจดั การระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นและความปลอดภัยของ
โรงเรยี น/สถานศึกษาทีส่ ะท้อนการดำเนนิ งานอย่างต่อเนื่อง 3 ปกี ารศึกษา
(ปี พ.ศ. 2562-2564) ...........................................................................................................1
๒ การดำเนนิ งานระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น และความปลอดภัยในโรงเรียน/สถานศกึ ษา
อยา่ งมีประสิทธิภาพ...................................................................................................................3
๓ การมสี ่วนรว่ มของภาคเี ครือข่ายทุกภาคส่วนทีเ่ กย่ี วข้องในการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
และความปลอดภยั ของโรงเรียน/สถานศกึ ษา............................................................................6
๔ การส่งเสริม สนับสนนุ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการดำเนินงานสง่ ผลตอ่ ประสิทธภิ าพ
ระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนและความปลอดภัยในโรงเรียน/สถานศกึ ษา...........................9
๕ ความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นและความปลอดภยั
ในโรงเรียน.............................................................................................................. .................11

เอกสารหลกั ฐานประกอบ/ภาคผนวก
(1) แผนภมู กิ ารบริหารจดั การระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนของโรงเรียน/สถานศึกษา...................13
(2) หลกั ฐานประกอบท่ีแสดงให้เหน็ ว่านกั เรียนทุกคนไดร้ ับการดแู ลชว่ ยเหลอื และคุ้มครอง

อย่างท่วั ถึงและใกลช้ ดิ สง่ ผลตอ่ คุณภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น/สถานศึกษาในภาพรวมสงู ขนึ้
นักเรียนมคี ุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคต์ ามหลักสตู ร มที ักษะชวี ิต ปลอดจากการออกกลางคันและ
ปลอดสารเสพตดิ รวมท้งั อบายมขุ ท้งั ปวง ............................................................................................................14

(3) หลักฐานประกอบที่แสดงให้เห็นวา่ ครไู ด้รบั การพฒั นาให้มีความรู้ความเขา้ ใจและทักษะ
ในการปฏบิ ัติงานการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน และสะท้อนให้เหน็ ถึงขวญั กำลงั ใจและคณุ ภาพการปฏิบตั ิ
งานของครู............................................................................................................................. ..............................20

(4) หลักฐานประกอบการมสี ่วนร่วมของภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคส่วนทเ่ี กยี่ วข้องในการดแู ลช่วยเหลอื
นกั เรียนของโรงเรยี น/สถานศึกษา.......................................................................................................................21

(5) หลักฐานประกอบผลการดำเนินงานตามสภาพความสำเร็จของระบบการดูแลชว่ ยเหลอื
นักเรียน.......................................................................................................................................... ......................22

(6) หลกั ฐานประกอบการส่งเสรมิ สนบั สนนุ เสรมิ สร้างขวญั กำลังใจ ติดตาม นเิ ทศ และประเมนิ ผลการ
ดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นของโรงเรยี น/สถานศกึ ษาตามสภาพจริง..........................................24

(7) ผลงานท่สี ะท้อนความสำเรจ็ ของโรงเรยี น/สถานศึกษาในการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนอยา่ งเป็นองค์
รวมทกุ ดา้ น............................................................................................................................................ ...............25

(8) ผลงานของโรงเรียน/สถานศึกษาท่เี กดิ จากการบรหิ ารจัดการระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนทม่ี ี
คณุ ภาพสงู เพยี งพอที่จะสามารถนาไปเผยแพร่ได้.................................................................................................28

เอกสารประกอบการพจิ ารณาเพื่อคดั เลอื กสถานศึกษาเพื่อรับรางวลั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ประจำปี ๒๕๖5

1

รายงาน
การดำเนินงานระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนของโรงเรยี น/สถานศกึ ษา

สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

1. ขอ้ มูลโรงเรียน/สถานศกึ ษา
โรงเรียน/สถานศกึ ษา เกาะพะงนั ศกึ ษา สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี ชุมพร

สถานที่ตั้ง เลขที่ 145 หมู่ที่ 1 ตำบล บ้านใต้ อำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ 077-377357,
077-377066 เปดิ สอนระดับ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6 จำนวนนักเรยี น 671 คน จำนวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 33 คน
ชอ่ื ผู้อำนวยการโรงเรยี น/ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา นายกนกศักด์ิ ชว่ ยยิ้ม หมายเลขโทรศพั ทม์ ือถือ 0-6117-65119

2. ผลการบรหิ ารจดั การและการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา (เปน็
ผลงานปกี ารศกึ ษา 2562 – 2564) ใน 5 ประเดน็ ดงั นี้
(1) การบริหารจดั การระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนและความปลอดภยั ของโรงเรยี น/สถานศึกษา

ทส่ี ะท้อนการดำเนินงานอย่างตอ่ เนื่อง 3 ปีการศกึ ษา (ปี พ.ศ. 2562-2564)
(1.1) นโยบายการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและความปลอดภัยในโรงเรียนเกาะพะงัน

ศึกษา มุ่งเน้นการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศของนักเรียน วิเคราะห์นักเรียนรายบุคคล สร้างเครือข่ายความร่วมมือ
จากทุกองค์และภาคส่วน เพื่อการแก้ปัญหา ส่งเสริมสนับสนุน โดยมีการกำหนดกลยุทธ์ร่วมกันสู่เป้าหมายใน
ระยะเวลา 3 ปีการศึกษา (2562 – 2564) ภายใต้รูปแบบการดำเนนิ การ KS-CARE Model ในการขับเคล่ือนสู่
ความย่ังยืน

(1.1.1) วิสัยทัศน์การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน “โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา เป็น
ศูนย์รวมการพัฒนา สร้างเสริมความก้าวหน้า แก้ปัญหาอย่างเท่าเทียม”โดยให้นิยามวิสัยทัศน์ ดังนี้ โรงเรียน
เกาะพะงันศึกษา เป็นศูนย์รวมการพัฒนา หมายถึง การมีเครือข่ายการเรียนรู้ด้านทักษะอาชีพร่วมกันดูแลให้เกดิ
การพัฒนาตามความสนใจ สร้างเสริมความก้าวหน้า หมายถึง การสนับสนุนการมีโอกาสทางการศึกษา โอกาส
ทางด้านอาชีพ ให้แก่นักเรียนทุกคนให้เหมาะสมกับบริบทของนักเรียน แก้ปัญหาอย่างเท่าเทียม หมายถึง การ
วิเคราะห์ปญั หาของนักเรยี นทุกคนด้วยกระบวนการเดียวกัน การเขา้ ถึงวิธีการแกป้ ญั หาภายใต้มาตรฐานด้วยความ
ใสใ่ จของผูม้ ีสว่ นเกยี่ วขอ้ งทุกฝ่าย

(1.1.2) แผนกลยทุ ธ์โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ดา้ นระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนสอดรบั แผนการศึกษา
แห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 –
2564) การส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนา ป้องกันและแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนมีภูมิคุมกันทางด้านจิตใจ
มคี ณุ ภาพชีวิตทีด่ ี มีทักษะในการดำรงชวี ติ และรอดพน้ จากสภาวะวิกฤติตา่ ง ๆ ได้อย่างปลอดภยั

(1.1.3) แผนปฏิบตั กิ าร โครงการ/กิจกรรมท่ีมีความเป็นเลิศระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนแบบต่อเน่ือง
ในช่วงระยะเวลา 3 ปีการศึกษา ดังน้ี โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรมเพาะพันธ์อาชีพ
กิจกรรมยุวจราจร กิจกรรมเยี่ยมบ้าน กิจกรรมความปลอดภัยในสถานศึกษา กิจกรรมป้องกันภัยหัวใจไร้สารเสพ
ติด และนอกจากนี้ยังมีโครงการและกิจกรรมจากเครือข่ายความร่วมมือ ดังนี้ โครงการการป้องกันภัยทางน้ำ
กิจกรรมกู้ภัยก้ชู พี กจิ กรรมรักปลอดภัย กิจกรรมรทู้ นั COVID

(1.1.4) การแต่งตั้งคณะทำงาน และสร้างเครือข่าย โรงเรียนเกาะพะงันศึกษามีบริบทของพื้นที่เป็น
เกาะ ในการดำเนินการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจึงได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ดังน้ี คณะเครือข่าย
ภายใน คือ บุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงานและมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารจัดการศึกษาโดยบทบาทหน้าท่ี

เอกสารประกอบการพิจารณาเพอ่ื คดั เลอื กสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ประจำปี ๒๕๖5

2

ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู เครือข่ายผู้ปกครอง คณะเครือข่าย
ภายนอก คือ บุคคล กลุ่มบุคคล องค์กรที่มีเป้าหมาย วัตถุประสงค์ในการแก้ปัญหา ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา
นกั เรียนในการขบั เคลอื่ นการบรหิ ารจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นร่วมกนั

(1.1.5) ระเบียบระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นของโรงเรยี นเกาะพะงันศกึ ษา พุทธศกั ราช 2561 (ฉบับ
ปรับปรุง คร้ังที่ 3) ระเบียบโรงเรยี นเกาะพะงันศึกษา พทุ ธศักราช 2562 เพ่ือเปน็ คมู่ ือแนวปฏบิ ัติ ข้อตกลงในการ
ปฏิบัติตนของนักเรียน และแนวทางการดำเนินการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนร่วมกันของครู นักเรียน
ผปู้ กครอง ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง ทัง้ ยังเปน็ การสร้างเสรมิ การค้มุ ครองและชว่ ยเหลอื นกั เรยี น

(1.2) ขอ้ มูลสารสนเทศขระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนและความปลอดภัย
(1.2.1) การดำเนินการวิเคราะห์ปัญหาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา

ดำเนินการวิเคราะห์ SWOT บริบทของโรงเรียนเพื่อเป็นแนวทางในการขับเคลือ่ นการบริหารจัดการศกึ ษา การนำ
ผลข้อมูลสู่การวางแผนกลยุทธ์ในการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิตและการ
คุ้มครองนักเรียน การรู้จักนักเรียนรายบุคคลในรูปแบบครูทีป่ รึกษาเก็บรวบรวมข้อมูล นำข้อมูลร่วมวิเคราะห์เพือ่
แก้ปัญหา/ส่งเสริมตามความเหมาะสม ประสานร่วมดูแลรูปแบบภาคีเครือข่าย จัดทำข้อมูลระบบสารสนเทศเพื่อ
นำมาปรบั ปรุงพฒั นาดา้ นตา่ ง ๆ ต่อไป

(1.2.2) รูปแบบและแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนได้นำนโยบายการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของ
สพฐ. มี 5 ขั้นตอน โดยกำหนดกระบวนการที่มีความยืดหยุ่นในการขับเคลื่อนตามบริบทของปัญหา แนวทางการ
ดำเนนิ การของคณะทำงาน จงึ เกดิ เปน็ รูปแบบ KS-CARE Model

(1.2.3) การบริหารและดำเนินงานภายใต้นโยบายของกระทรวงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน
ในการขับเคลื่อนการบริหารจัดการศึกษาด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น รูปแบบ KS-CARE Model มุ่งเน้นการ
ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนา ป้องกันและแก้ไขปัญหาให้กับนักเรยี นมีภูมิคุมกันทางด้านจิตใจ มีคุณภาพชีวิตที่ดี มี
ทักษะในการดำรงชวี ติ และรอดพน้ จากสภาวะวกิ ฤติต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งปลอดภัย

(1.3) ระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
(1.3.1) การดำเนินการรวบรวมข้อมูลนักเรียน ด้วยข้อมูล Big Data ระบบ DMC ระบบทะเบียน

นักเรียนออนไลน์ ระบบเย่ยี มบา้ นนักเรียนออนไลน์ ระบบวิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลออนไลน์ การติดตาม
ขอ้ มลู ของนักเรยี นรายบุคคลและรายชนั้ เรียน ขอ้ มลู ต่าง ๆ การเข้าถึงขอ้ มลู ง่ายปลอดภัย และทนั ตอ่ ความต้องการ

(1.3.2) กระบวนการคัดกรองนกั เรียน ระยะที่ 1 การรู้จักนักเรียนรายบุคคลเริ่มตน้ ตั้งแต่วันเข้าเรียน
วันแรกด้วยทะเบียนข้อมูลนักเรียนออนไลน์โดยครูที่ปรึกษา ระบบคัดกรองนักเรียนเป็นรายบุคคล SDQ การคัด
กลมุ่ นักเรยี นเพ่ือแก้ปญั หาตามความเหมาะสม ข้อมลู EQ ความฉลาดทางด้านอารมณ์ในการแกป้ ัญหาและส่งเสริม
ทักษะด้านสังคม ระยะที่ 2 การเยี่ยมบ้านนักเรียนออนไลน์ และการเยี่ยมถึงบ้าน ระยะที่ 3 การเก็บข้อมูลความ
สนใจพิเศษ เพอ่ื สง่ เสริมความสามารถเฉพาะของนักเรียน ระยะที่ 4 ครทู ปี่ รกึ ษาคอื คนในครอบครวั เพื่อการเข้าถึง
นกั เรียนและการให้คำปรกึ ษาด้านตา่ ง ๆ ตลอดช่วงชั้น การติดตามประเมนิ ผลตลอดช่วงชนั้

(1.3.3) มสี ารสนเทศผลการดำเนินงานท่แี สดงใหเ้ หน็ ว่านักเรียนทกุ คนไดร้ ับการดูแล มกี ารดำเนินการ
ตรวจสอบข้อมูล ติดตามผล ประเมินผล 3 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 ระดับชั้นเรียน ครูที่ปรึกษาติดตามและรายงาน
ผลข้อมลู ระดับท่ี 2 ระดับกลมุ่ ครูทป่ี รึกษา เพื่อนในช้ันเรียนเฝา้ คอยติดตาม ระดบั ท่ี 3 ระดับบุคคล เมื่อพบว่ามี
นักเรียนทม่ี ีปญั หาหรือควรส่งเสริม มกี ารตดิ ตามนักเรียนเป็นรายบุคคล พร้อมสรปุ ผลที่เกิดให้แก่ผู้เกี่ยวข้องทราบ
เป็นระยะ โดยความรว่ มมอื ของทุกภาคส่วน

เอกสารประกอบการพิจารณาเพอื่ คดั เลือกสถานศกึ ษาเพ่ือรับรางวลั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ประจำปี ๒๕๖5

3

(1.3.4) โรงเรียนมีการสรุปผล ประเมินผลการดำเนินการในทุกช่วงภาคเรียน และปีการศึกษา โดย
แบ่งการดำเนินการเป็นข้ันตอนดังนี้ 1)สรปุ ขอ้ มูลเปน็ สารสนเทศ 2)วางแผนการแกป้ ญั หา/สนับสนุนด้วยการส่งต่อ
3) ตดิ ตามการดำเนินการสอดคลอ้ งในแต่ละระดับ 4)รายงานขอ้ มูลเชงิ สถติ ิ และยังคงรกั ษาความลับระดับบุคคล

(1.4) ข้อมูลสารสนเทศเก่ยี วกบั ความปลอดภัยและความเสีย่ ง
(1.4.1) โครงการ/กจิ กรรมเพ่ิมความปลอดภัยและลดความเสี่ยง โรงเรียนมกี ารวิเคราะห์สถานการณ์

การสร้างเสริมความปลอดภัยในสถานศึกษาร่วมกับหน่วยงานองค์กรเพื่อป้องกันภัยพิบัติ การป้องกันตนเองโรค
ระบาด การขับขี่ปลอดภัย โดยในแต่ละปีการศึกษาจะมีโครงการตามแผนปฏิบัติการของโรงเรียน และโครงการ
จากหนว่ ยงาน องค์กรภายนอกเขา้ มารว่ ม

(1.4.2) เสริมสร้างภูมิคุ้มกันอันตราย โรงเรียนดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง ความปลอดภัยใน
สถานศึกษา เช่น การอบรมอัคคีภัย การอบรมภัยพิบัติต่างๆ กฎหมายจราจร การสวมหมวกนิรภัย 100% การ
สรา้ งขอ้ ตกลงในการขับข่ปี ลอดภัยในสถานศกึ ษาร่วมกบั งานวินัยจราจร

(1.4.3) มีข้อมูลสารสนเทศผู้เกี่ยวข้องที่อาจเสี่ยงต่อการเกิดความไม่ปลอดภัยต่อนักเรียนในโรงเรียน
โดยการดำเนินการบันทึกการเข้าออกภายในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ การประสานขอความร่วมมือดูแลการจราจร
หน้าโรงเรียน การประสานการบันทึกเหตุจากสถานีตำรวจภูธรเกาะพะงัน จัดทำข้อมูลสารสนเทศผู้ปกครอง
นักเรียนรายห้องเรียน ระบบการดูแลนักเรียนแบบครอบครัว(ห้องเรียน) หมู่บ้าน(ระดับชั้น) เพื่อป้องกันความ
ปลอดภยั ตลอดชว่ งเวลาในโรงเรยี น

(2) การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และความปลอดภัยในโรงเรียน/สถานศึกษาอย่างมี
ประสิทธิภาพ โรงเรียนได้ดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ครอบคลุมทักษะ สมรรถนะและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทั้งทักษะชีวิตที่จำเป็นสำหรับการใช้ชีวิตที่ปลอดภัยและมีคุณภาพนักเรียนมีภูมิ
คุ้มกันจากภัยต่างๆ เช่น ภัยจากยาเสพติด ภัยจากไซเบอร์ ภัยจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19
เพ่ือให้นกั เรียนใช้ชวี ติ อยใู่ นสังคมได้อยา่ งปกติสขุ

(๒.๑) วธิ ีการดำเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรยี น/สถานศกึ ษา ครบท้ัง ๕ ข้ันตอน
โดยดำเนินงานสอดคล้องอย่างเปน็ ระบบ

(๒.๑.๑) มีวิธีการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ครูที่ปรึกษาออกเยี่ยมบ้านนักเรียน 100%
ทำแบบบันทึกเยี่ยมบ้าน เก็บข้อมูล วิเคราะห์ความต้องการช่วยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อทราบถึง
ความต้องการช่วยเหลือด้าน การเรียน การส่งเสริมอาชีพ กีฬา ดนตรีและศิลปะ เงินทุนการศึกษา แบบขอรับทุน
การศกึ ษานกั เรยี นยากจนและยากจนเป็นพเิ ศษ

(๒.๑.๒) มีวิธีการคัดกรอง ครูที่ปรึกษาคัดกรองนักเรียนตามสภาพจริง ร่วมกับแบบประเมิน SDQ
เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล จัดกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มมีปัญหา
กลุ่มพเิ ศษ

(๒.๑.๓) มวี ธิ ีสง่ เสรมิ พัฒนานักเรียนทกุ กล่มุ ผ้บู ริหารและคณะครูร่วมกันวางแผนจดั กิจกรรม
ทหี่ ลากหลาย เพ่ือพัฒนาส่งเสรมิ นักเรยี นรอบด้าน โดยใชก้ ระบวนการ Active Learning ในการจัดการเรียนรู้ เชน่
หนงึ่ โรงเรียน หน่งึ นวตั กรรม “ห่นุ ยนต์ LEGO EV 3 – Stand Alone” โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กิจกรรมดนตรี ศลิ ปะ และกีฬา ให้กับนกั เรียนตามความถนดั ความสนใจ เพื่อให้มที ักษะชีวติ
และตระหนักในคุณคา่ ของตนเอง

(๒.๑.๔) มีวิธีป้องกันและแก้ไขปัญหา ครูที่ปรกึ ษาให้คำปรึกษากบั นักเรียนในเรื่องตา่ งๆ เพื่อป้องกนั
ปัญหาทจี่ ะเกิดขึ้น ในกรณีทีน่ ักเรยี นมปี ัญหาครูทป่ี รกึ ษาร่วมกบั ฝา่ ยบริหารกจิ การนักเรยี น ผปู้ กครอง แก้ไขปัญหา

เอกสารประกอบการพิจารณาเพ่ือคัดเลอื กสถานศกึ ษาเพอื่ รบั รางวัลระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น ประจำปี ๒๕๖5

4

โดยวิธีการพูดคุยแบบกัลยาณมิตร จัดทำโครงการเพื่อนที่ปรึกษา เพื่อส่งเสริม ป้องกัน แก้ไขปัญหาและลด
พฤติกรรมนกั เรยี น ปญั หานกั เรยี นออกกลางคนั

(๒.๑.๕) มีวิธีการส่งต่อ มีระบบส่งต่อภายในและภายนอกนักเรียนมีปัญหาที่ครูที่ปรึกษาไม่สามารถ
ดำเนินการแก้ไขได้ หรือแก้ไขแล้วนักเรียนยังไม่ดีขึ้นจะส่งต่อภายในไปยังกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน กรณีท่ี
นักเรียนมีความเสี่ยงสถานหนัก จะส่งต่อไปยังหน่วยงานภายนอกที่เป็นภาคีเครื อข่าย ให้ช่วยดำเนินการ
แก้ไขปญั หานักเรียนตอ่ ไป

(๒.๑.๖) มีการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน อย่างร้อยรัดทั้ง ๕ ขั้นตอน โรงเรียน
ได้ดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ตาม ๕ ขั้นตอน รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยครูที่ปรึกษา
ได้ศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคลจัดทำเอกสารการคัดกรองนักเรียน ส่งเสริม พัฒนานักเรียนทุกกลุ่ม มีวิธีป้องกัน
และแกไ้ ขปัญหา และวธิ กี ารสง่ ต่อ ท้งั ส่งตอ่ ภายในและส่งต่อภายนอก ดำเนนิ งานภายใต้นวตั กรรม ระบบการดูแล
ชว่ ยเหลอื นกั เรียน “KS-CARE Model”

(๒.๑.๗) มีการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ครูที่ปรึกษาดำเนินงานระบบการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน ตามคู่มือนวัตกรรม “KS-CARE Model”และดำเนินงานบริหารจัดการชั้นเรียน ตามระบบ ๕
ข้ันตอน ตามกระบวนการ SWOT Analysis ในระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน

(๒.๑.๘) มกี ารใช้นวตั กรรมในการดำเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น โรงเรียนออกแบบ
นวตั กรรมการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน“KS-CARE Model” ดำเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น

(๒.๒) การดำเนินการเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตอย่างเป็นรปู ธรรม
(๒.๒.๑) มีการบรู ณาการทกั ษะชวี ติ การเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ทุกกลุ่มสาระ

การเรียนร้มู ีการจดั ทำแผนการจัดการเรียนรูบ้ ูรณาการทักษะชวี ิตใหก้ ับนักเรยี น
(๒.๒.๒) จัดกจิ กรรม/โครงการท่ีเสริมสร้างทักษะชีวิต โรงเรยี นจัดกจิ กรรมทส่ี ่งเสริมทักษะชีวิต เช่น

กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม “หุ่นยนต์ LEGO EV 3–Stand Alone” โครงการเศรษฐกิจ
พอเพียง งานศิลปะหัตถกรรมนกั เรียน กจิ กรรมการอยคู่ ่ายพกั แรมลูกเสอื –เนตรนารี นักศึกษาวิชาทหาร

(๒.๒.๓) นักเรียนทุกกลุ่มได้รับการเสริมสร้างทักษะชีวิตและนักเรียนมีปัญหาด้านพฤติกรรม ลดลง
โรงเรียนได้ดำเนินการจัดกิจกรรมสุจริต กิจกรรมการอบรมนักเรียนเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง การอบรมลูกเสือ
ต้านภัยยาเสพติด เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตและสร้างภูมิคุ้มกันจากภัยยาเสพติด ป้องกันการแพร่ระบาดจาก
ไวรัสโควิด-19 โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านใต้ ร่วมกับคณะครู ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน ในการสอด
ส่องดแู ลบตุ รหลานอย่างใกล้ชิด ทำให้นกั เรยี นมปี ญั หาดา้ นพฤตกิ รรมลดลง

(๒.๒.๔) การใช้พฤติกรรมเชิงบวกในการจัดการชั้นเรียนและพฤติกรรมนักเรียน ครูผู้สอนมีการ
ออกแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลาย มอบเกียรติบัตรยกย่องชมเชยนักเรียนที่ทำดี
และพูดคุยแบบกัลยาณมิตรกับนักเรียนที่มีพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ในชั้นเรียน เพื่อปรับพฤติกรรมนักเรียน
ใหด้ ขี ้ึน มเี คร่อื งมือวัดผลและประเมินผลนักเรยี นท่ีมีประสิทธิภาพ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ใหข้ ้อเสนอแนะและนิเทศ
การสอนอยา่ งเปน็ กลั ยาณมติ ร

(2.3) การดำเนินงานความปลอดภยั ในโรงเรียน/สถานศึกษาอย่างเปน็ รูปธรรม
(2.3.1) มีการวิเคราะห์สถานการณ์ที่อาจเกิดความไม่ปลอดภัยต่อนักเรียน โรงเรียนได้ดำเนินการ

วิเคราะห์สถานการณ์ที่อาจเกิดความไม่ปลอดภัยต่อนักเรียน ใช้ SWOT เพื่อให้ทราบจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส
และอุปสรรค ภัยคุกคาม ความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยต่อนักเรียน ดำเนินการประชุมครู

เอกสารประกอบการพจิ ารณาเพื่อคดั เลอื กสถานศึกษาเพอ่ื รับรางวัลระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ประจำปี ๒๕๖5

5

บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครือข่าย เพื่อหาแนวทางร่วมกันในการเพิ่มจุดแข็ง
พฒั นาจดุ อ่อน ขจดั ภัยคุกคาม และลดความเส่ียงท่ีอาจกอ่ ให้เกดิ ความไม่ปลอดภยั ต่อนักเรียน

(2.3.2) มีวิธีการที่เสริมสร้างความปลอดภัยให้แก่นักเรียน โรงเรียนมีแผนป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยเพื่อเป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อม การแจ้งเตือนภัย การดำเนินการช่วยเหลือกรณีเกิด
สาธารณภัยอย่างมีประสิทธิภาพและไม่สับสนในการปฏิบัติ อบรมให้ความรู้ เรื่อง ความปลอดภัยในสถานศึกษา
โดยโรงเรียนได้เชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้ เช่น การอบรมภัยพิบัติต่างๆ กฎหมายจราจร การสวมหมวก
นริ ภยั 100%

(2.3.3) มีวิธกี ารปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาความไมป่ ลอดภัยในโรงเรยี น/สถานศึกษา กำหนดมาตรการ
ป้องกันภัยให้แก่นักเรียน ครู และบุคลากรโรงเรียน เน้นการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน
และเครือข่าย โดยร่วมกันวางแผนป้องกันแก้ไข ควบคุมกำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผล การดำเนินงาน
โดยมีแนวปฏิบัติ เช่น จัดให้มีแผนซักซ้อมการป้องกันและซักซ้อมการเคลื่อนย้ายกรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉินอย่างน้อย
ภาคเรยี นละ 1 ครั้ง ปา้ ยประชาสัมพันธ์ การป้องกันการแพรร่ ะบาดของไวรสั โควิด–19 เป็นตน้

(2.3.4) มีวิธีการรู้จักนักเรียนที่มีแนวโน้มอาจเผชิญต่อความไม่ปลอดภัย ครูที่ปรึกษาเยี่ยมบ้าน
นักเรียน 100% อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง เพื่อคัดกรองความเสี่ยงของนักเรียนเป็นรายบุคคล และหา
แนวทางวธิ ีการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาความไม่ปลอดภัยของนักเรียน

2.4 การดำเนนิ การค้มุ ครองนักเรยี นอยา่ งเป็นรปู ธรรม
(2.4.1) มีการติดตาม เฝ้าระวัง และคุ้มครองนักเรียนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนติดตาม เฝ้าระวัง

และคุ้มครองนักเรียนอย่างต่อเนื่อง ดำเนินการตามนวัตกรรมระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน “KS-CARE
Model”เพื่อให้นักเรียนเกิดความเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยน้อยที่สุด รวมถึงได้รับความคุ้มครองอย่างทั่วถึง
และเทา่ เทียมกัน

(2.4.2) มีกิจกรรม/โครงการที่คุ้มครองนักเรียนในโรงเรียน/สถานศึกษา โรงเรียนดำเนินกิจกรรม
โครงการคุ้มครองนักเรียน เช่น โครงการขับขี่ปลอดภัย โดยครู นักเรียน และผู้ปกครองทุกคนสวมหมวกนิรภัย
100% โครงการโรงเรียนสีขาว ลูกเสือต้านภัยยาเสพติด และโครงการ D.A.R.E เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายา
เสพติดในสถานศกึ ษา โครงการเพื่อนที่ปรกึ ษา เพื่อป้องกัน แก้ไขปัญหาพฤตกิ รรมของนักเรียน ลดปัญหานักเรยี น
ออกกลางคัน โครงการสถานศึกษาปลอดภัย โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด–19 ตั้งจุดตรวจวัด
อุณหภูมิร่างกายก่อนเข้าโรงเรียน บันทึกการเข้า-ออกโรงเรียน จุดบริการเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ เว้นระยะห่าง
ทางสงั คม (social distancing)

(2.4.3) นักเรียนทุกคนได้รับการคุ้มครองด้วยรูปแบบ/วิธีการที่เหมาะสม โรงเรียนดำเนินงาน
การคุ้มครองนักเรียนตามคู่มือการคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อคุ้มครองนักเรียนได้อยู่ในสภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่ที่มีความปลอดภัย การจัด
การเรียนการสอนทีค่ รอบคลมุ ทั้งด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ รวมทั้งสอนการใช้
ทักษะชวี ิตทจี่ ำเปน็ สำหรับการใช้ชวี ิตอย่างปลอดภยั และมคี ุณภาพม่งุ ส่งเสริมพัฒนาใหน้ ักเรียนเติบโตเต็มศักยภาพ
ด้วยการสร้างความปลอดภัยกับนักเรียนอย่างแท้จริง ตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรบั ปรุง พ.ศ.2560)

เอกสารประกอบการพิจารณาเพือ่ คดั เลอื กสถานศึกษาเพื่อรบั รางวัลระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ประจำปี ๒๕๖5

6

(3) การมีสว่ นรว่ มของภาคเี ครือข่ายทกุ ภาคส่วนท่ีเกยี่ วขอ้ งในการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นและความปลอดภัย
ของโรงเรยี น/สถานศกึ ษา
(๓.๑) ขอ้ มูลภาคีเครือขา่ ย และวิธกี ารสรา้ งเครือขา่ ยอย่างมีประสิทธภิ าพ
(๓.๑.๑) มีภาคีเครือข่าย ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและสำนักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษา หรือสำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ (แลว้ แตก่ รณ)ี โรงเรยี นมีภาคีเครือข่าย ดังต่อไปนี้

1. คณะกรรมการสถานศึกษา ๗. โรงเรยี นเครอื ขา่ ยในพืน้ ที่อำเภอเกาะพะงัน
2. คณะกรรมการเครือข่ายผปู้ กครอง ๘. เครอื ข่ายความร่วมมอื การศกึ ษานอกระบบ
3. รพ.สต.บ้านใต้ ๙. โรงเรียน MOU
๔. โรงพยาบาลเกาะพะงัน ๑๐. เครอื ข่ายความร่วมมือการสง่ เสรมิ ภาคธุรกิจเอกชน
๕. สถานตี ำรวจภธู รเกาะพะงัน 11. อทุ ยานแหง่ ชาติธารเสดจ็
๖. เทศบาลตำบลเกาะพะงนั 12. ที่ว่าการอำเภอเกาะพะงัน

ตารางท่ี 1 แสดงข้อมลู ภาคเี ครือขา่ ยผปู้ กครอง ชุมชน หนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน

(๓.๑.๒) มสี ารสนเทศเครือข่ายผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภาครฐั และภาคเอกชนทเี่ ก่ียวข้องในการ

ดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนเกาะพะงันศึกษา จัดทำรายชื่อเครือข่ายผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานภาครัฐ

ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และความปลอดภัยในโรงเรียน มีกลุ่ม ไลน์

เครือข่ายผู้ปกครอง เพื่อติดต่อประสานงานได้อย่างรวดเร็ว ใช้สื่อ Social Media ต่าง ๆ ในการประชาสัมพันธ์

ขา่ วสารของโรงเรียน

ที่ ภาคีเครอื ขา่ ย ครูผปู้ ระสานงาน

1. คณะกรรมการสถานศกึ ษา นายวทิ ยา ทองมาก

2. เครอื ขา่ ยผู้ปกครอง นายพิชิต ทองนยุ้

3. รพ.สต.บา้ นใต้ นางสาวกนกวรรณ กลบั แป้น

4. โรงพยาบาลเกาะพะงัน นางสาวปิยะนุช พนิ โท

5. สถานตี ำรวจภูธรเกาะพะงนั นายวิชิต มพี ร้อม

6. เทศบาลตำบลเกาะพะงัน นายฉัตรชมุ พล เสอื เปยี

7. โรงเรียนเครือขา่ ยในพ้นื ที่อำเภอเกาะพะงัน นางลดาวัลย์ บวั นาค

8. เครอื ข่ายความรว่ มมือการศึกษานอกระบบ นางสาวจฑุ ารตั น์ สวุ รรณโชติ

9 โรงเรยี น MOU นางลดาวลั ย์ บัวนาค

10. เครอื ข่ายความร่วมมือการส่งเสรมิ ภาคธุรกจิ เอกชน วา่ ท่ี ร.ต.ประทีป เนตรพกุ กณะ

11. อุทยานแหง่ ชาตธิ ารเสด็จ นายฉตั รชมุ พล เสือเปีย

12. ทวี่ ่าการอำเภอเกาะพะงนั นายวชิ ิต มีพรอ้ ม

ตารางที่ 2 แสดงภาคีเครอื ข่ายเกยี่ วข้องในการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น และส่งเสริมความปลอดภยั ของโรงเรียน
(๓.๑.๓) มวี ธิ กี ารสร้างและการทำงานรว่ มกับเครอื ข่ายทส่ี นับสนุนระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น โรงเรียนเกาะพะ

งันศึกษา ดำเนินการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามกระบวนการและขั้นตอนของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดย
คำนึงถึงความเหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ แต่ยังคงมุ่งเน้นด้านนโยบายเพื่อให้เกิดเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนเป็นสำคัญ ด้วยการ
ขบั เคลือ่ นแนวปฏิบัติ การสรา้ งเครอื ข่ายระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน 2)รูปแบบการดำเนินการ KS–CARE Model

เอกสารประกอบการพิจารณาเพื่อคดั เลือกสถานศึกษาเพ่ือรับรางวัลระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ประจำปี ๒๕๖5

7

๓.๑.๔ ภาคเครือขา่ ยให้การสนบั สนนุ การดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นอยา่ งตอ่ เน่อื ง

ที่ ภาคีเครือข่าย ปี 2562 – 2564 ผรู้ ับผดิ ชอบ

1. คณะกรรมการสถานศกึ ษา ร่วมบริหารและขับเคลื่อนการบริหารงานระบบดูแล นายวิทยา ทองมาก

ช่วยเหลือนักเรยี นระดบั โรงเรียน

2. เครอื ข่ายผปู้ กครอง ติดตามการดูแลนักเรียนโดยแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ นายพิชติ ทองนยุ้

ห้องเรียน โรงเรียน และชุมชน เพื่อดำเนิน การติดตาม

เปน็ กระบอกเสยี ง และประสาน งานกบั ทุกหน่วย

3. รพ.สต.บา้ นใต้ จดั กิจกรรมและดำเนินร่วมกับโรงพยาบาลเกาะพะงัน นางสาวปยิ ะนชุ พินโท

นางสาวกนกวรรณ กลับแปน้

4. โรงพยาบาลเกาะพะงนั ดำเนินการตรวจฟันเพื่อลดปัญหาสุขภาพช่องปาก, นางสาวปิยะนุช พินโท

อบรม CPR เพื่อเป็นความรู้และเพิ่มโอกาสการรอดชีวิต นางสาวกนกวรรณ กลบั แปน้

ของผู้ประสบเหตุ และฉีดวัคซีน COVID-19 ให้กับ

นกั เรยี นในสถาน การณโ์ รคระบาด

5. สถานตี ำรวจภูธรเกาะพะงนั จัดอบรมยาเสพติด และลูกเสือตา้ นภัยยาเสพตดิ เพ่ือให้ นายวชิ ิต มีพร้อม

ความรู้กับนักเรยี น,อบรมวินยั จรา จรเพ่อื ให้ความร้แู ละ

นกั เรยี นสามารถปฏิบัติตามกฎจราจรไดถ้ กู ต้อง

6. เทศบาลตำบลเกาะพะงัน ดำเนนิ การฉดี พน่ เคมกี ำจดั ยุงภายในโรงเรียน นายฉตั รชุมพล เสอื เปีย

7. โรงเรยี นเครอื ขา่ ยในพืน้ ที่ จัดกิจกรรมแนะแนวนักเรยี นเพื่อสง่ เสริมการเรียนรู้ นางลดาวลั ย์ บัวนาค

อำเภอเกาะพะงนั

8. เครือข่ายความรว่ มมือ สร้างโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบนอกระบบและตาม นางสาวจุฑารตั น์ สุวรรณโชติ

การศึกษานอกระบบ อัธยาศัย

9. โรงเรียน MOU แก้ปัญหานักเรียนที่เรียนสาขาทีไ่ ม่ตรงกับความต้องการ นางลดาวัลย์ บวั นาค

และมีการส่งเสรมิ ตอ่ ยอด สนับสนนุ ทกั ษะอาชีพ

10. เครือข่ายความร่วมมือการ แก้ปัญหาโดยการให้โอกาสทำงานกับนักเรียนที่มีปัญหา วา่ ที่ ร.ต.ประทปี เนตรพกุ กณะ

ส่งเสรมิ ภาคธรุ กจิ เอกชน รายได้น้อย และส่งเสริมโดยการเปิดโอกาสให้นักเรียน

ดา้ นทุนการศึกษา และฝกึ อบรมอาชพี ระยะสนั้

11. อทุ ยานแหง่ ชาตธิ ารเสด็จ จัดกจิ กรรมเข้าค่ายลูกเสอื พิทักษ์ปา่ นายฉัตรชมุ พล เสือเปีย

12. ทวี่ า่ การอำเภอเกาะพะงัน ร่วมใหค้ วามดแู ลเรื่องยาเสพติด นายวิชิต มพี รอ้ ม

ตารางท่ี 3 แสดงให้เห็นวา่ โรงเรยี นมีภาคีเครือข่ายทใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ และดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นครอบคลมุ ทุกดา้ น
๓.๒ การมีส่วนรว่ มของภาคเี ครอื ข่ายในการส่งเสริมสนับสนุน ปอ้ งกนั ชว่ ยเหลอื และคุ้มครองนักเรียน

ร่วมกับสถานศกึ ษาอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓.๒.๑) ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมประชุมเพื่อให้ข้อมูลและวางแผนการส่งเสริม สนับสนุน ป้องกัน

ชว่ ยเหลอื และค้มุ ครองนักเรียน ภาคเี ครอื ข่ายให้ความร่วมมือในการประชุมและวางแผนเพื่อดำเนนิ งานระบบการ
ดูแลช่วยเหลอื นักเรียน เป็นการส่งเสริม สนบั สนนุ ปอ้ งกนั ช่วยเหลือ และคมุ้ ครองนกั เรียน โดยโรงเรียนจัดประชุม
ภาคเรียนละ ๑ คร้งั เพอื่ การดำเนินงานท่มี ีประสิทธภิ าพ

เอกสารประกอบการพจิ ารณาเพื่อคดั เลือกสถานศึกษาเพ่ือรับรางวลั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ประจำปี ๒๕๖5

8

(๓.๒.๒) ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวติ และคุ้มครองนักเรียน ภาคีเครือข่ายความร่วมมือการส่งเสริมภาคธุรกิจเอกชน
ให้ความร่วมมือในการแก้ปัญหาโดยให้โอกาสทำงานกับนักเรียนที่มีปัญหารายได้น้อย และส่งเสริมโดยเปิดโอกาส
ให้กับนักเรียนในด้านทุนการศึกษา และฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และความพร้อมสำหรับ
การประกอบอาชีพ

(๓.๒.๓) ภาคีเครือข่ายมีการดำเนินงานในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิตและ
คุ้มครองนกั เรยี น เจ้าหน้าทีจ่ ากแต่ละภาคีเครือข่ายเขา้ มาดำเนินงานในการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น ไดแ้ ก่
ท่ี การมสี ว่ นร่วมของภาคเี ครือข่ายในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ ปอ้ งกนั ชว่ ยเหลือและคมุ้ ครองนกั เรียน
1. สถานีตำรวจภูธรเกาะพะงัน โรงพยาบาลเกาะพะงัน และที่ว่าการอำเภอเกาะพะงัน ร่วมกันส่งเสริมในการ

ดำเนินงานดา้ นการปอ้ งกันยาเสพติด และมอบชดุ ตรวจสารเสพติดในปัสสาวะใหก้ บั โรงเรยี น
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านใต้ โรงพยาบาลเกาะพะงัน และกู้ภัยเกาะพะงัน ดำเนินการจัดกิจกรรมให้

ความรเู้ ร่ืองเพศ ตรวจสขุ ภาพช่องปาก ฉดี วคั ซนี การทำ CPR และการตรวจ ATK
3. เทศบาลตำบลเกาะพะงันฉดี พ่นเคมีกำจัดยงุ และการป้องกันอัคคีภยั
4. โรงพยาบาลเฟิรส์ เวสเทอร์น เกาะพะงันร่วมสนบั สนนุ แอลกอฮอลท์ ำความสะอาดมือ และอุปกรณ์ในการป้องการ

การติดเชอื้ โรคระบาด COVID-19
5. เครือขา่ ยความร่วมมือการส่งเสริมภาคธรุ กจิ เอกชนใหโ้ อกาสทำงานกบั นักเรียนทมี่ ีปญั หารายได้น้อย และส่งเสริม

โดยเปดิ โอกาสใหก้ ับนักเรยี นดา้ นทนุ การศกึ ษา และฝกึ อบรมอาชีพระยะส้ัน
ตารางที่ 4 แสดงการมีส่วนรว่ มของภาคีเครอื ขา่ ยในการสง่ เสริมสนับสนนุ ปอ้ งกัน ช่วยเหลอื และคุ้มครองนักเรียน

(๓.๒.๔)ภาคีเครือขา่ ยร่วมประเมนิ /ชื่นชม ให้ขวัญกำลงั ใจการดำเนนิ งานการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น ภาคีเครือข่าย
รว่ มแสดงความยินดแี ละชน่ื ชมในท่ีประชุมหมบู่ ้าน ถึงกระบวนการระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นทท่ี ำใหน้ ักเรียน
ที่ส่งผลให้นักเรียนมีภูมิคุ้มกันที่ดี ทั้งด้านยาเสพติด การระบาดของไวรัส COVID-19 และความปลอดภัยของ
นกั เรียน

๓.๓ การมีส่วนรว่ มของภาคีเครอื ข่ายในการส่งเสรมิ ความปลอดภัยในโรงเรยี น/สถานศกึ ษา โรงเรียนเกาะ
พะงนั ศึกษามีการดำเนนิ งานสร้างภาคีเครือข่าย เพ่อื ส่งเสริมความปลอดภัยของนกั เรียน ซงึ่ มีรายละเอียดดังนี้

(3.3.1) ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมประชุมเพื่อให้ข้อมูลและวางแผนการส่งเสริม สนับสนุน ป้องกัน
ความปลอดภัยในสถานศึกษา โรงเรียนประชุมภาคีเครือข่าย สถานีตำรวจภูธรเกาะพะงัน สาธารณสุข ผู้ปกครอง
คณะครู เพอื่ วางแผนการกลยทุ ธ์การดำเนนิ งานความปลอดภยั ตาม KS-CARE Model

(3.2.2) ภาคเี ครอื ขา่ ยมีส่วนร่วมในการส่งเสรมิ สนบั สนุน การดำเนินงานความปลอดภัยในโรงเรียน/
สถานศกึ ษา การวางแผนกลยุทธ์การดำเนินการรว่ มกันเพ่ือการแกป้ ัญหา การรว่ มแก้ปัญหานกั เรยี นกลุ่มเสี่ยง และ
กลุ่มมีปัญหาที่เกี่ยวข้อง เช่น งานผดุงครรภ์ งานจราจร การส่งเสริมสนับสนุนสร้างภูมิคุ้มกันความปลอดภัย
สง่ เสริมดา้ นทกั ษะอาชพี การตดิ ตามตามระยะอย่างเป็นระบบร่วมกัน

(3.3.3) ภาคีเครือข่ายมีการดำเนินงานความปลอดภัยในโรงเรียน/สถานศึกษา สถานีตำรวจภูธร
เกาะพะงันได้เข้ามาดูแลด้านความปลอดภัยเรื่องกฎจราจร และการขับขี่ปลอดภัยบนท้องถนน เทศบาลตำบล
เกาะพะงัน ดำเนินการด้านป้องกันอัคคีภัย และสำนักงานการไฟฟ้าอำเภอเกาะพะงัน ดำเนินการดูแลเรื่องการใช้
ไฟฟา้ ทป่ี ลอดภยั ของโรงเรียน

เอกสารประกอบการพจิ ารณาเพ่อื คดั เลอื กสถานศกึ ษาเพ่อื รบั รางวัลระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ประจำปี ๒๕๖5

9

(3.3.4) ภาคีเครอื ข่ายร่วมประเมิน/ช่นื ชม ใหข้ วัญกำลงั ใจ การดำเนนิ งานความปลอดภัยในโรงเรียน/

สถานศึกษา ภาคีเครือข่ายประเมินการทำงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยทำแบบประเมิน ผลการ

ประเมนิ การดำเนินงานอยู่ในระดับดีเยยี่ ม

(4) การสง่ เสรมิ สนับสนนุ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการดำเนนิ งานสง่ ผลต่อประสิทธภิ าพระบบการ

ดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นและความปลอดภยั ในโรงเรียน/สถานศกึ ษา

(4.1) การพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น

การเสรมิ สร้างทักษะชีวติ และการคมุ้ ครองนักเรยี น จัดประชุม อบรมใหค้ วามร้สู ร้างความเขา้ ระบบ

(4.1.1) ครูทุกคนได้รับการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจเรื่องระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การ

เสริมสร้างทักษะชีวิตและการคุ้มครองนักเรียนด้วยวิธกี ารที่หลากหลายอย่างต่อเน่ือง ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำ

คมู่ ือระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนสนับสนุนการพฒั นาการอบรมระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนในระดับสูงขึน้

ท่ี รายการอบรม ผู้เขา้ รว่ ม

1 การฝกึ อบรมเจ้าหน้าท่ีของรฐั แต่งต้ังเป็นพนักงานเจ้าหนา้ ทีส่ ่งเสรมิ ความประพฤตินักเรียนนักศึกษา ผอู้ ำนวยการ

จังหวดั สุราษฎร์ธานี คณะครู

2 การประชุมเสริมสร้างประสิทธิภาพและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินการควบคุมยาสูบ ใน ผอู้ ำนวยการ

สถานศึกษาสูค่ วามย่ังยืน

3 หลักสูตรนักจติ วทิ ยาประจำสถานศกึ ษา คณะครู

4 หลกั สูตรการให้คำปรึกษาวัยรนุ่ ครทู กุ คน

5 หลักสตู รการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรน่า 2019 ครทู ุกคน

6 หลกั สตู รลดความเสยี่ งภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติสำหรับบคุ ลากรในสถานศึกษา ครูทุกคน

7 ความร้เู บื้องตน้ เก่ียวกบั จิตวิทยาสำหรบั ครู ครทู ุกคน

ตารางที่ 5 ตารางแสดงการเขา้ รบั การอบรมของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
(4.1.2) ครูทุกคนมีความเข้าใจในวิธีดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและทำหน้าท่ี

เปน็ ครทู ีป่ รกึ ษา ครทู ุกคนผ่านการประเมินระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน ระดบั ดเี ยย่ี ม และนำความรทู้ ี่ได้ไปใช้
(4.1.3) ครูมีความเข้าใจในกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิตแบบบูรณาการและทักษะชีวิตเฉพาะ

ปัญหาครทู กุ คนผ่านการอบรมการเสริมสร้างทกั ษะชวี ิตแบบบรู ณาการจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการ
(4.1.4) ครูสามารถจัดกิจกรรมเสรมิ สรา้ งทักษะชวี ิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการจัดกิจกรรมการ

เรียนการสอนแบบบูรณาการให้เข้ากับทักษะชีวิต เช่น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง, อบรมหุ่นยนต์ บูรณา
การเอกลักษณ์ของเกาะพะงัน มาพัฒนาการเรียนรู้ไปสู่การสร้างอาชีพ เพื่อให้นักเรียนเกิดการลงมือปฏิบัติของ
นักเรียนดว้ ยตัวเอง เปน็ การเสรมิ สร้างทักษะชีวติ ใหก้ ับนกั เรยี นไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

(4.1.5) ครูทุกคนมีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนจัดกิจกรรม/โครงการพัฒนาประสิทธิภาพ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูที่ปรึกษาร่วมดูแลนักเรียน ร่วมกับครอบครัวและชุมชนสถานการณ์การแพร่
ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 มีการติดตามนักเรียนเข้าเรียนออนไลน์ ติดตามแก้ปัญหาเพื่อให้นักเรียนกลับมา
เรียนได้ 100% การติดตามการป้องกันโรคระบาดร่วมกับโรงพยาบาลเกาะพะงัน ได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้
การทำ CPR แกค่ รแู ละนักเรียน จัดระบบจราจรภายในโรงเรียนการขบั ขป่ี ลอดภยั สวมหมวกนิรภยั 100%

(4.2) การนิเทศ ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุน ให้ขวัญกำลังใจแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาในการ
ดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิตและการคุ้มครองนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
โดยโรงเรียนมีคำสั่งนิเทศ ติดตาม มีการจัดทำปฏิทินการนิเทศ การแต่งตั้งคำสั่งการดำเนินงานระบบการดูแล

เอกสารประกอบการพจิ ารณาเพ่ือคัดเลือกสถานศึกษาเพ่ือรบั รางวลั ระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น ประจำปี ๒๕๖5

10

ช่วยเหลอื นักเรียน โดยดำเนินการตามปฏิทนิ เช่น กิจกรรมโฮมรูมออนไลน์ เยี่ยมบ้านออนไลน์/ไปถงึ บ้าน ติดตาม
แกป้ ญั หานกั เรยี นไม่เข้าเรยี นออนไลน์ ขอสนบั สนุนอปุ กรณเ์ ครือ่ งมอื ในการเรยี น

(4.2.1) มีการนิเทศติดตามการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เสริมสร้างทักษะชีวิต
ความปลอดภัย และการคุ้มครองนกั เรียนภายในโรงเรยี น/สถานศึกษา ผู้อำนวยการโรงเรยี น และหัวหนา้ กลุ่มงาน
บริหารทั่วไป หัวหน้างานกิจการนักเรียน วางแผนร่วมกับคณะครู และในการนิเทศติดตามการดำเนินงาน ระบบ
การดแู ลช่วยเหลือนักเรียนตลอดปกี ารศึกษา และการรายงานผลการดำเนินงานเม่ือสน้ิ ปกี ารศึกษา

(4.2.2) มีการนิเทศ ติดตามการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะ
ชีวิต ความปลอดภัยและการคุ้มครองนักเรียน ดำเนินการติดตามโดยครูที่ปรึกษา ผู้ปกครอง เครือข่ายผู้ปกครอง
ทั้งการประสานงานตดิ ตามผลในการส่งตอ่ นกั เรียนและดูแลแกป้ ัญหารว่ มกบั เครือขา่ ยภายนอก

(4.2.3) มีรูปแบบ และกระบวนการนิเทศที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน/สถานศึกษา โรงเรียน
ดำเนินการนิเทศติดตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้วยการใช้วงจร PDCA มาปรับใช้เป็นรูปแบบของ
โรงเรียน KS-CARE Model โดยแบ่งการนเิ ทศติดตามในสถานการณโ์ รคระบาด 3 ระดบั ดงั น้ี ระดบั ที่ 1ระดับชั้น
เรียน ระดบั ท่ี 2ระดับกล่มุ ระดบั ที่3ระดับบุคคล และยงั มีการส่งต่อท่ีจะต้องมกี ารนิเทศร่วมกนั รูปแบบเครอื ขา่ ย

(4.2.4) ผรู้ บั การนิเทศมีความพงึ พอใจ และนำผลการนเิ ทศไปพฒั นางานอย่างต่อเน่ือง ครูนำผลการ
นิเทศไปขยายผล พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นในอาคารของตนเองอย่างต่อเนื่อง เพอ่ื พัฒนาข้อบกพร่อง
และเพอ่ื เพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการทำงานของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

(4.2.5) ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทุกคนได้รับการส่งเสริมสนบั สนนุ และได้รบั ขวัญกำลังใจจาก
การปฏบิ ัตงิ านอย่างตอ่ เน่ือง ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาส่งเสริม สนบั สนุน และขวญั กำลังใจแก่ครผู ปู้ ฏบิ ัตงิ าน คือ 1) ช่นื
ชมคณะครู ผู้ปฏิบตั ิงานในที่ประชุม 2) ส่งเสริมการพัฒนาผลงานสู่นวัตกรรมระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนใน
ระดบั ดีเดน่ 3) สนับสนุนพฒั นาตอ่ ยอดความรูแ้ ละความร่วมมอื ของครูและเครือขา่ ย

(4.3) การประเมินผลการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิตและการ
คุ้มครองนักเรียนเพือ่ ปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยัง่ ยืน เพื่อให้ทราบถึงผลการบริหารจัดการที่ดีและได้รับ
การแกป้ ญั หา พัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง เกดิ กระบวนการทีม่ ีความชัดเจนสามารถนำไปสู่การปฏิบตั ิที่ยั่งยืน สง่ ผลที่ดีต่อ
นักเรียน โรงเรยี นดำเนินการดงั นี้

(4.3.1) มีวิธีการและเคร่ืองมอื ประเมนิ ผลอย่างเหมาะสม การสร้างคู่มือ แบบประเมิน จัดอบรมเชิง
ปฏิบัติการประเมินความรู้ความเข้าใจ ออกแบบวิธีการร่วมกับภาคีเครือข่ายในแต่ละปัญหา ประเมินติดตามเ ป็น
ระบบจากผู้มีความรคู้ วามเขา้ ใจ และรูปแบบการทำงานร่วมกนั อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ จนกลายเปน็ วฒั นธรรมองคก์ ร

(4.3.2) ใชว้ ิธกี ารและเคร่ืองมือประเมินผลเป็นระยะๆ สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ของงาน โรงเรียน
ดำเนินการประเมินผลการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพื่อให้การ
ดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ที่ต้งั ไว้

(4.3.3) นำผลการประเมินไปพัฒนางานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิต
ความปลอดภยั และการคุ้มครองนักเรียนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนสรุปสารสนเทศในการวิเคราะห์ปัญหานำไปสู่การ
รว่ มแก้ปญั หา พฒั นาสง่ เสริมภายในและภายนอกอย่างต่อเนอ่ื ง มกี ารปรับปรุงรูปแบบให้เหมาะสมกับสภาพปัญหา

(4.3.4) มกี ารปรบั ปรงุ พฒั นา วธิ กี ารและเคร่อื งมอื อยา่ งเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ของงาน โรงเรียน
ปรับปรุง พัฒนาวิธีการและเครื่องมือ ผ่านกระบวนการ PDCA ให้เหมาะสมกับบริบทสภาพปัญหา เพื่อให้งานมี
ประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขึ้น เหมาะสมและสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์

เอกสารประกอบการพิจารณาเพ่ือคดั เลอื กสถานศกึ ษาเพ่อื รบั รางวัลระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น ประจำปี ๒๕๖5

11

(5) ความสำเรจ็ ของการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและความปลอดภัยในโรงเรียน
(5.1) ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิต และการคุ้มครองนักเรียน มีผลต่อ

คุณภาพของนักเรยี น
(๕.๑.๑) นกั เรยี นกลุ่มเสีย่ ง กลุ่มปัญหามจี ำนวนลดลง สอดคลอ้ งกบั เป้าหมายของโรงเรียน ในปีการศึกษา

2562-2564 พบว่ามีจำนวนนักเรียนที่มีความเสี่ยงมีจำนวนลดลงอย่างต่อเนื่องถึงแม้จะอยู่ภายใต้สถานการณ์
การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ และยังสามารถส่งเสรมิ ศกั ยภาพของนกั เรยี นได้อยา่ งต่อเน่ือง

(๕.๑.๒) อัตราการไม่จบตามหลักสูตรตามเวลาที่กำหนดของนักเรียนลดลงอย่างต่อเนื่อง วางแผนการ
ดำเนินการติดตามนักเรียนในแต่ละระดับอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การดำเนินการในช่วง 3 ปีการศึกษา (2562 -
2564) สามารถแก้ปัญหาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ และแก้ผลการเรียนได้เพิ่มขึ้น ด้วยกระบวนการติดตามนักเรียน
จนจบตามหลักสูตร

(๕.๑.๓) อัตราการออกกลางคันของนักเรียนลดลงกว่าปีที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์การแพร่
โรคระบาดไวรสั โคโรนา่ 2019 ส่งผลใหก้ ารย้ายทเี่ รียน หรอื การเกดิ ปัญหาให้มีแนวโนม้ การออกกลางคันเพิ่มมาก
ขึ้น การดำเนินการติดตามนักเรียนโดยครูที่ปรึกษา ทีมผู้บริหาร และภาคีเครือข่าย สามารถดูแลนักเรียนให้กลับ
เขา้ มาเรียนในระบบได้เป็นทพี่ ึงพอใจ

(๕.๑.๔) นกั เรยี นมีทักษะชวี ิตตามเป้าหมายทโ่ี รงเรยี นกำหนดการส่งเสริมทักษะชีวิตใน 2 ดา้ น คือ ด้านที่
1การสรา้ งเสรมิ ทกั ษะชีวิตเพ่ือการใชช้ วี ติ อย่างปลอดภัย ดว้ ยโครงการสง่ เสริมองค์ความรู้ ทกั ษะการป้องกนั ตนเอง
จากภัยต่าง ๆ ด้านที่ 2การสร้างเสริมทักษะประจำตัว ด้วยโครงการ/กจิ กรรมส่งเสริมทักษะอาชีพตามความสนใจ
ของนักเรียน โดยวิเคราะห์จากความต้องการของนักเรียนและสอดรับกับความต้องการของท้องถิ่น โรงเรียนมี
หลกั สูตรอาชีพ และทำ MOU รว่ มกับวิทยาลยั อาชีวศกึ ษา

(๕.๑.๕) นักเรยี นทกุ กลุ่มไดร้ ับการดแู ลช่วยเหลอื ปกป้องคุ้มครองความปลอดภัยแก้ไขและพัฒนาตามศกั ยภาพ
กลมุ่ การดแู ลชว่ ยเหลอื
กลมุ่ ปกติ ส่งเสริมพฒั นา สรา้ งภมู ิคุ้มกัน ให้คำแนะนำปรกึ ษาเพ่ือพฒั นา
กล่มุ เส่ยี ง ปอ้ งกนั แกป้ ัญหา ช่วยเหลือ ส่งเสรมิ พฒั นา สรา้ งภูมิคุม้ กัน สง่ ต่อ ติดตาม
กล่มุ มปี ัญหา ชว่ ยเหลอื แกป้ ญั หา สรา้ งภูมคิ มุ้ กัน ใหค้ ำปรึกษา ป้องกัน สง่ ต่อ ตดิ ตาม
กลุ่มพเิ ศษ สง่ เสรมิ พฒั นา สรา้ งภูมิคุม้ กัน ให้คำแนะนำ ส่งต่อในระดับคณุ ภาพที่สูงข้ึน
ตารางท่ี 6 แสดงแนวทางดแู ล ช่วยเหลือ ปกปอ้ งคุ้มครอง ความปลอดภัย แก้ไขและพัฒนาตามศักยภาพของนักเรียน

(๕.๑.๖)นักเรียนประสบความสำเร็จได้รับการยอมรับในระดับต่าง ๆ การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้รับความ
ร่วมมือเป็นอย่างดีทัง้ ภายในและภายนอกสามารถแก้ปัญหานักเรียนกลุ่มเสี่ยงกลุ่มมีปัญหาทำให้นักเรียนสามารถกลับมาเรียนใน
ระบบ มีทักษะชีวิต และการส่งเสริมนักเรียนกลุ่มพิเศษ กลุ่มปกติ ให้มีความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ จนได้รับการยอมรับใน
ผลงาน การมสี ่วนรว่ มในสงั คม เปน็ ตวั แทนของสถานศึกษา เป็นตน้ แบบให้แก่โรงเรยี นในเครือข่าย

(๕.๒) นกั เรยี นสามารถดแู ลช่วยเหลือตนเองไดต้ ามวยั
(5.๒.๑) โรงเรียน/สถานศึกษาได้รับการยอมรับ ยกย่อง เชิดชูเกียรติ ในด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้าง

ทักษะชีวิต ความปลอดภัยและการค้มุ ครองนักเรียน การบริหารจดั การศกึ ษาระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น ส่งผลให้
โรงเรยี น ครู นกั เรียน สามารถพฒั นาไดร้ ับผลงานเชิงประจักษ์ในหลายด้าน รางวลั ชนะเลิศอันดบั 2 ระดับเหรียญ
ทอง ประเภทนวตั กรรมด้านการบรหิ ารโรงเรียน นวตั กรรม KS-CARE Model

(5.๒.๒) มวี ิธปี ฏิบัติที่เป็นเลศิ ในการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน การเสรมิ สร้างทกั ษะชีวิต ความปลอดภัยและการคุ้มครอง
นักเรียนอยา่ งย่งั ยืน ใช้นวตั กรรมการบริหารจัดการ ช้ันเรียนเปน็ ฐานในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ดว้ ยนวัตกรรม

เอกสารประกอบการพิจารณาเพอื่ คัดเลือกสถานศกึ ษาเพอื่ รบั รางวลั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ประจำปี ๒๕๖5

12

ระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น KS-CARE Model เพือ่ เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ความปลอดภัยและคุม้ ครองนักเรียน
รวมถึงพฒั นาให้นกั เรียนสามารถดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นไดต้ ามวยั

(๕.๓) นักเรียนมคี วามปลอดภัยครอบคลมุ ทุกดา้ น
(๕.๓.๑)นกั เรียนมีทักษะชวี ติ รู้เท่าทันภยั ต่างๆที่เกดิ ข้นึ ในสังคม และสามารถจดั การกบั ปญั หาท่ีเกดิ ขึน้ กับตนเองได้

โรงเรียนและสภานักเรียนจัดทำโครงการยุวชนต้นแบบร่วมกับสถานีตำรวจภูธรเกาะพะงัน โครงการหนูน้อยร้อย
พลังร่วมกับโรงพยาบาลเกาะพะงันในการรณรงค์การสร้างภูมิคุ้มกันโรคระบาด โครงการป้องกันภัยทางทะเล
ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โครงการเพาะพันธ์อาชีพร่วมกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพ่ือ
ส่งเสริมทกั ษะอาชพี

(๕.๓.๒) นกั เรียนมสี มรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลักสตู ร แบบบันทึกผลการ
เรียนประจำรายวิชาการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญอยู่ในเกณฑ์ดี ระดบั ผา่ นขนึ้ ไปทกุ คน

(5.3.3) นักเรียนอยู่รอดปลอดภัยและเรียนจนจบหลักสูตร ดำเนินการเฝ้าระวังนักเรียนออกกลางคนั
ติดตามนักเรยี นใหเ้ รียนจบหลกั สูตรทกุ คน

(5.4) ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิตและการคุ้มครองนักเรียนส่งผลต่อ
ประสิทธิภาพของโรงเรยี น/สถานศกึ ษาและชมุ ชนทอ้ งถ่นิ

(5.4.1) นักเรียนมีความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน การเฝ้าระวัง ป้องกัน ดูแล ให้ความรู้ความ
ปลอดภัยภายใต้มาตรการโรคระบาด การมีภูมิคุ้มกัน การให้คำปรึกษาในการวางแผนการเรียน ติดตามการเรียน
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และการใช้ชีวิตอย่างปลอดภยั ในสถานการณ์ปจั จุบัน

(5.4.2) นักเรียนมีความปลอดภัยในการเดินทาง จากความร่วมมือของโรงเรียน สถานีตำรวจภูธร
เกาะพะงัน เครือข่ายผู้ปกครอง ร่วมวางมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยในการเดินทางของนักเรียนและ
ผปู้ กครอง เชน่ รณรงคก์ ารสวมหมวกนริ ภัย 100% การเดินทางโดยรถรับ – ส่ง ท่ผี ่านมาตรฐานของทางโรงเรียน
กำหนด มอบเจลแอลกอฮอล์และสเปรยฆ์ า่ เชอ้ื ให้กับรถรบั สง่ นักเรียน เพือ่ เปน็ การปอ้ งกนั โรคไวรัสโควดิ -19

(5.4.3) นักเรยี นมีความปลอดภัยจากบุคคล ระบบท่ี 1 การดแู ลความปลอดภยั ภายในโรงเรยี น การ
ตรวจสอบการเข้าออกภายในโรงเรียนด้วยการยืนยันด้วยบัตรประจำตัวประชาชน บันทึกข้อมูล ระบบที่ 2 การ
สร้างภมู คิ ุ้มกนั ความปลอดภยั จากบคุ คล เสริมความรู้ความเขา้ ใจ การป้องกนั ในสถานการณต์ า่ ง ๆ

(5.4.4) นักเรียนได้รับการปกป้องคุ้มครองความปลอดภัยทั้งร่างกายและจิตใจ โรงเรียนมีการ
แก้ปัญหาในแต่ละระดับโดยครูที่ปรึกษารบั ฟังปญั หาช่วยป้องกันและแก้ไขปัญหา ส่งเสริม สนับสนนุ หรือส่งตอ่ ใน
รูปแบบเครือข่าย โรงเรียนมีการจัดห้องสำหรับให้คำปรึกษา และการให้คำปรึกษาออนไลน์ (ครูกล้วย 063-
1768858) เพือ่ รับฟังปัญหาของนักเรียน และเก็บข้อมลู นักเรียนไว้เปน็ ความลับ การแก้ปัญหาเป็นไปตามระบบ
และการคุม้ ครองเดก็ สง่ ผลให้สามารถแกป้ ัญหาและประสานความรว่ มมือจนประสบความสำเรจ็

ขอรับรองวา่ ข้อมูลขา้ งต้นเปน็ ความจริงทุกประการ

(ลงช่ือ)……………………………………………………………………………….
( นายกนกศักด์ิ ช่วยยมิ้ )

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนเกาะพะงนั ศึกษา
28 เมษายน 2565

เอกสารประกอบการพจิ ารณาเพอ่ื คดั เลือกสถานศกึ ษาเพอื่ รับรางวัลระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ประจำปี ๒๕๖5

13

เอกสารหลักฐานประกอบ/ภาคผนวก
(1) แผนภมู กิ ารบริหารจดั การระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรียน/สถานศกึ ษา
(2) หลกั ฐานประกอบทีแ่ สดงให้เหน็ วา่ นักเรยี นทกุ คนไดร้ ับการดแู ลชว่ ยเหลือและคุ้มครองอย่างท่ัวถึงและ
ใกลช้ ดิ สง่ ผลต่อคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี น/สถานศกึ ษาในภาพรวมสูงขึน้ นกั เรียนมีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ตามหลกั สตู ร มีทักษะชีวิต ปลอดจากการออกกลางคนั และปลอดสารเสพติดรวมท้งั อบายมขุ ท้ังปวง
(3) หลักฐานประกอบที่แสดงให้เห็นว่าครูได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการ
ปฏิบตั งิ านการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น และสะทอ้ นให้เหน็ ถึงขวญั กำลงั ใจและคุณภาพการปฏบิ ัติงานของครู
(4) หลักฐานประกอบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการดูแล ช่วยเหลือ
นกั เรียนของโรงเรียน/สถานศึกษา
(5) หลกั ฐานประกอบผลการดำเนินงานตามสภาพความสำเรจ็ ของระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน
(6) หลักฐานประกอบการส่งเสริมสนับสนุน เสริมสร้างขวัญกำลังใจ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการ
ดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนของโรงเรียน/สถานศกึ ษาตามสภาพจริง
(7) ผลงานท่สี ะทอ้ นความสำเร็จของโรงเรียน/สถานศึกษาในการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนอยา่ งเป็นองค์รวม
ทุกด้าน
(8) ผลงานของโรงเรียน/สถานศึกษาที่เกิดจากการบริหารจัดการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มี
คณุ ภาพสูงเพียงพอทีจ่ ะสามารถนาไปเผยแพร่ได้

เอกสารประกอบการพจิ ารณาเพอื่ คดั เลอื กสถานศกึ ษาเพอื่ รับรางวลั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ประจำปี ๒๕๖5