จ่าย ประกันสังคม มาตรา 33 ที่ไหน

ข่าววันนี้ ทำไม? ต้องจ่ายเงินสมทบประกันสังคม ทุก ๆ เดือน หลาย ๆ คนมักบ่นว่า จะส่งเงินสมทบไปทำไม มีประโยชน์อะไรบ้าง สมทบเงินต้องจ่ายที่ไหน?

 

คำตอบคือ กองทุนประกันสังคม เป็นกองทุนที่ให้หลักประกันแก่ผู้ประกันตนเพื่อให้ได้รับผลประโยชน์ทดแทนเมื่อต้องเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ เสียชีวิต ชราภาพและว่างงาน โดยมีเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ซึ่งเป็นเงินที่นายจ้างและลูกจ้างจะต้องส่งเงินเข้ากองทุนประกันสังคมทุกเดือน และคำณวนจากค่าจ้างจริงที่ลูกจ้างได้รับในอัตราเงินสมทบร้อยละ 5 ซึ่งกำหนดจากฐานค่าจ้างเป็นรายเดือนต่ำสุดเดือนละ 1650 บาท และสูงสุดไม่เกิน 15000 บาท ซึ่งเงินสมทบขั้นต่ำอยู่ที่เดือนละ 83 บาท และไม่เกิน 750 บาท โดยรัฐบาลจะออกเงินสมทบเข้ากองทุนอีกส่วนหนึ่ง ผู้ประกันตนที่จะได้รับสิทธิรักษาพยาบาลจะต้องเป็นผู้ที่ขึ้นทะเบียนและส่งเงินสมทบครบ 3 เดือน ซึ่งผู้ประกันตนจะต้องเลือกสถานพยาบาลที่จะเข้ารับการรักษาเอง และควรเป็นสถานพยาบาลที่ใกล้ที่พักหรือสถานที่ทำงาน

 

จ่ายเงินสมทบประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 33-39-40 ได้ที่นี่!

สำหรับช่องทางการรับ จ่ายเงินสมทบกองทุนประกันสังคม และกองทุนเงินทดแทน สำหรับผู้ประกันตนมาตรา 33 มาตรา 39 และ มาตรา 40 สามารถจ่ายประกันสังคมออนไลน์ หรือใครสะดวกแบบไหน เลือกได้เลย ดังนี้  

  • ชำระทางเคาน์เตอร์
  • e-Payment
  • หักบัญชีเงินฝากธนาคาร
  • Mobile App
  • ผ่านช่องทางธนาคาร
  • หน่วยบริการต่างๆ เช่น ห้างสรรพสินค้า ไปรษณีย์ไทย แอปพลิเคชัน
  • จ่ายด้วยการโอนผ่านช่องทางธนาคารและบริการพร้อมเพย์


เช็กให้ชัวร์! ผู้ประกันตนแต่ละมาตราสามารถจ่ายได้ตามช่องทางที่หลากหลายและแตกต่างกันนะ

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประกันสังคมได้ที่ www.sso.go.th หรือโทรสายด่วน 1506 ให้บริการทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง

 

 

 

--------------------

เกาะติดสถานการณ์โควิด-19  ทันความเคลื่อนไหว ได้ความรู้ที่ถูกต้อง ส่งตรงถึงมือคุณ
คลิกเลย!! >>> รู้ทันกันโควิด <<< หรือ กด *301*35# โทรออก

 

กดเลย >> community แห่งความบันเทิง

ทั้งข่าว หนัง ซีรีส์ ละคร ดนตรี และศิลปินไอดอล ที่คุณชื่นชอบ บนแอปทรูไอดี

 

Tag

#กองทุนประกันสังคม#ข่าว#ข่าวล่าสุด#ข่าววันนี้#ข่าวเศรษฐกิจ#จ่ายเงินสมทบประกันสังคมออนไลน์#จ่ายเงินสมทบประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 30#จ่ายเงินสมทบประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 39#จ่ายเงินสมทบประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 40#ประกันสังคม

ผู้ประกันตนของสำนักงานประกันสังคมต้องชำระเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมทุกเดือน โดยผู้ประกันตนมาตรา 33 มาตรา 39 และมาตรา 40 สามารถนำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมทั้งทางสำนักงานและทางออนไลน์

ผู้ประกันตนของสำนักงานประกันสังคมต้องชำระเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมทุกเดือน โดยผู้ประกันตนในมาตรา 33 ประกันสังคมจะทำการหักผ่านเงินเดือนของบริษัท ขณะที่มาตรา 39 และ 40 ผู้ประกันสามารถนำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมได้ โดยวิธีการดังนี้


ช่องทางการจ่ายเงินสมทบประกันสังคม มีทางไหนบ้าง


ช่องทางการชำระเงินผู้ประกันตนมาตรา 33

การชำระเงินสมทบของผู้ประกันตนมาตรา 33 บริษัทจะเป็นผู้หักจากเงินเดือนของลูกจ้างและนำส่งเงินเข้ากองทุนประกันสังคม โดยสามารถชำระเงินสมทบได้ดังนี้

1. ชำระเงินสมทบ ณ สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ /จังหวัด/สาขา

2. ชำระเงินสมทบเป็นธนาณัติ ตั๋วแลกเงิน หรือเช็คทางไปรษณีย์

3. ชำระเงินสมทบผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร 3 แห่ง คือ

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

ธนาคารทีเอ็มบีธนชาต

4. ชำระเงินสมทบผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (e-payment) 11 แห่ง คือ

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

ธนาคารซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอร์ปอเรชั่น

ธนาคาร มิซูโฮ จำกัด

ธนาคารซิตี้แบงก์ จำกัด (มหาชน)

ธนาคารทีเอ็มบีธนชาต จำกัด (มหาชน)

ธนาคารบีเอ็นพี พารีบาส์

บริษัท เคาน์เตอร์เซอร์วิส จำกัด

จ่าย ประกันสังคม มาตรา 33 ที่ไหน

ที่มาภาพ : สำนักงานประกันสังคม

ช่องทางการชำระเงินผู้ประกันตนมาตรา 39

1. ชำระเงิน ณ สำนักงานประกันสังคมทุกเขตใกล้บ้าน

2. ชำระเงินโดยหักเงินฝากผ่านบัญชีธนาคาร

3. ชำระเงินผ่านเคาน์เตอร์ธนาคารและเคาน์เตอร์ให้บริการ

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

ธนาคารออมสิน จำกัด (มหาชน)

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.)

บริษัท เคาน์เตอร์เซอร์วิส จำกัด

จ่าย ประกันสังคม มาตรา 33 ที่ไหน

ที่มาภาพ : สำนักงานประกันสังคม

ช่องทางการชำระเงินผู้ประกันตนมาตรา 40

1. ชำระเงิน ณ สำนักงานประกันสังคมทุกเขตใกล้บ้าน

2. หักเงินฝากผ่านบัญชีธนาคาร

3. ชำระเงินผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

ธนาคารออมสิน จำกัด (มหาชน)

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.)

4. ชำระผ่านเคาน์เตอร์ให้บริการ

บริษัท เคาน์เตอร์เซอร์วิส จำกัด

ช้อปปี้ เพย์
ตู้บุญเติม

ห้างสรรพสินค้าโลตัส

บิ๊กซี ซุปเปอร์เซนเตอร์


ทั้งหมดนี้คือช่องทางการชำระเงินประกันสังคมทั้งที่สาขาและแบบออนไลน์ ซึ่งสำนักงานประกันสังคมพร้อมอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ประตนทุกรายให้มากที่สุด

จ่ายประกันสังคมมาตรา 33 ยังไง

ผู้ประกันตน มาตรา 33.
นายจ้าง ส่งเงินสมทบในอัตรา 5% ของค่าจ้างลูกจ้าง ขั้นต่ำ 83 บาท/เดือน และสูงสุดไม่เกิน 750 บาท/เดือน.
ลูกจ้าง/ผู้ประกันตน ส่งเงินสมทบในอัตรา 5% ของค่าจ้าง ขั้นต่ำ 83 บาท/เดือน และสูงสุดไม่เกิน 750 บาท/เดือน.

จ่ายประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 33 ได้ถึงวันไหน

สำนักงานประกันสังคม ขยายเวลาให้นายจ้างยื่นแบบและนำส่งเงินสมทบผ่าน e-Payment ออกไปอีก 7 วันทำการ นับจากวันที่พ้นกำหนด วันที่ 15 ของเดือนถัดจากเดือนที่มีการหักเงินสมทบ โดยมีผลตั้งแต่เดือนมกราคม 2565 ถึง ธันวาคม 2566 เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนและรองรับความสะดวกในการประกอบธุรกิจของนายจ้าง อีกทั้งเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกัน ...

จ่ายเงินสมทบประกันสังคมได้ที่ไหนบ้าง

เคาน์เตอร์บริการ จุดรับชำระ เช่น Tesco Lotus, เคาน์เตอร์เซอร์วิส, Big C, ตู้บุญเติม เป็นต้น หักผ่านบัญชีเงินฝากธนาคาร สามารถชำระงวดปัจจุบันด้วยการหักผ่านบัญชีออมทรัพย์ของธนาคารที่สำนักงานประกันสังคมระบุไว้ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

ประกันสังคม ม.33จ่ายย้อนหลังได้ไหม

เงื่อนไขการชำระ : ชำระงวดปัจจุบัน ย้อนหลังได้ 1 งวดเดือน พร้อมเงินเพิ่ม ในกรณีชำระเกินระยะเวลากำหนด ขอบคุณค่ะ 3 anys Notifica. รดา พรรณราย ha respost · 5 respostes. สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน - Social Security Office.