รูปเล่ม โรงเรียน ปลอดขยะ zero waste school

1 Best Practice โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) “การจัดการขยะโรงเรียนบ้านสะอาง (ประชาสามัคคี) โดยใช้หลัก ๓Rs ลดขยะ ลดโลกร้อน ด้วยวิธพี อเพียง” โรงเรียนบ้านสะอาง (ประชาสามัคคี) สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๓ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

2 คำนำ การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานวธิ ีปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) โรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) “การจัดการขยะโรงเรยี นบ้านสะอาง (ประชาสามัคคี) โดยใชห้ ลกั ๓Rs ลดขยะ ลดโลก รอ้ น ดว้ ยวิธีพอเพียง” เลม่ นี้ จัดทำข้นึ เพื่อรายงานผลการดำเนนิ งานการบริหารจดั การขยะในโรงเรยี นบ้าน สะอาง (ประชาสามัคค)ี ซง่ึ ไดด้ ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรยี น พัฒนานกั เรยี นให้มีความตระหนัก รู้ เขา้ ใจ นำไปใช้ และเห็นคุณค่าในการจัดการขยะและรักษาสิ่งแวดลอ้ ม การจดั ทำรายงานผลการดำเนินงานวิธีปฏิบตั ิที่เปน็ เลิศ เลม่ นี้ มีเนื้อหาประกอบด้วย ความเป็นมา วัตถุประสงค์ กจิ กรรม/วธิ กี าร ผลสำเร็จ และผลทีไ่ ด้การยอมรับ ซง่ึ โรงเรียนได้ดำเนนิ การพัฒนาสถานศกึ ษา ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน เครือข่ายผูป้ กครองและชมุ ชน ในการมสี ว่ นร่วมในการดำเนินงาน การจดั ทำรายงานผลการดำเนินงานวิธปี ฏบิ ัตทิ ี่เป็นเลศิ สำเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี ขอขอบคุณสำนักงานเขต พนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๓ นางปราใส สุทธกิ รณ์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๓ ท่ีอนุเคราะห์แนะนำแนวทางการดำเนินงานตามโครงการโรงเรยี น ปลอดขยะ นายจำรญู มลพิ นั ธ์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านสะอาง (ประชาสามัคคี) ที่ใหค้ ำปรึกษา เสนอแนะ แนะนำการดำเนนิ งานต่าง ๆ ตลอดจนข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน เครือขา่ ยชมุ ชน ผปู้ กครองโรงเรยี นบา้ นสะอาง (ประชาสามัคค)ี และผู้ทมี่ ีสว่ นเกย่ี วข้องให้การดำเนนิ งานของโรงเรียนสำเรจ็ ลุลว่ งไปด้วยดี ขอบกราบขอบพระคุณอย่างสูงไว้ ณ โอกาสน้ี โรงเรียนบา้ นสะอาง (ประชาสามคั คี)

3 สารบัญ หน้า Best Practice โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) การจดั การขยะโรงเรยี นบา้ นสะอาง(ประชาสามคั คี) โดยใช้หลัก ๓Rs ลดขยะ ลดโลกร้อน ด้วยวธิ ีพอเพยี ง ความเป็นมา ๑ วัตถุประสงค์ ๓ กจิ กรรม/วธิ กี าร ๓ ผลสำเรจ็ ๒๒ ผลที่ไดก้ ารยอมรับ ๒๒ ภาคผนวก ๒๓

1 Best Practice โรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) โรงเรียนบา้ นสะอาง ( ประชาสามคั คี ) กลุ่มพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๑ เมืองขุขันธ์ สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๓ 1. ช่อื ผลงาน การจดั การขยะโรงเรียนบา้ นสะอาง (ประชาสามัคคี) โดยใชห้ ลัก ๓Rs ลดขยะ ลดโลกร้อน ดว้ ยวธิ ี พอเพียง 2. หนว่ ยงาน โรงเรียนบา้ นสะอาง ( ประชาสามคั คี ) 3. ความเปน็ มา ปัญหาขยะเปน็ ปัญหาที่เกิดขึ้นในหลายๆ ประเทศ และถือเปน็ เร่ืองทสี่ ำคญั เนอ่ื งจากขยะมลู ฝอยเป็น ผลจากการทีป่ ระชาชนไดใ้ ช้ส่ิงของ เครือ่ งอปุ โภค บรโิ ภค และมีการหบี ห่อ หรือส่งิ ของใช้แล้วหรอื เหลอื ใช้ ก็ นำมาทิง้ เป็นขยะ นอกจากนนั้ กระบวนการในการเก็บ ขน และกำจัดขยะ ก็มคี วามสำคัญตอ่ การก่อให้เกดิ การ ปนเปอ้ื นหรอื กอ่ ใหเ้ กดิ มลพิษกับสง่ิ แวดล้อมได้ หากไม่มกี ารควบคมุ การกำจดั ขยะท่ีถูกต้อง หรือนำขยะหรือ ของเสยี อันตรายมาทง้ิ รวมกับขยะมูลฝอย มาตรการในกฎหมายนน้ั หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบในการกำจัดขยะมูลฝอยในแต่ละพ้นื ท่ี คือ องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถิน่ เวน้ แต่ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ นั้นจะไม่มีความสามารถทจ่ี ะจดั การในเร่ืองนี้ ก็อาจมอบใหเ้ อกชนเขา้ มาดำเนินงานได้ ภายใต้การกำกับดูแลในเรื่องอตั ราค่าเก็บและขนขยะได้ ซ่งึ มาตรการนี้ กำหนดไวใ้ นกฎหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เช่น เทศบาล กรุงเทพมหานคร เมอื งพัทยา องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั และองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลส่วนการมอบใหเ้ อกชนเข้ามาดำเนนิ การ นัน้ อยู่ในกฎหมายสง่ เสรมิ และรกั ษาคุณภาพส่งิ แวดลอ้ มแห่งชาตสิ ว่ นการกำหนดอัตราค่าเกบ็ ขนขยะเป็นไปตามกฎหมายการสาธารณสุข อยา่ งไรกด็ ใี นการจัดการขยะมลู ฝอยนน้ั มีความจำเป็นต้องมรี ะบบการจัดการทีด่ ตี งั้ แต่การคดั แยกขยะ การขน การทง้ิ หรือฝงั กลบ ยอ่ ยสลาย หรอื กระบวนการในการแปรรูปขยะให้เป็นพลังงาน หรือนำไปใช้ต่อซงึ่ กระบวนการเหลา่ น้ี จะมคี วามหลากหลายไปตามชนดิ ของขยะดว้ ยเหตนุ ้ี เองหากให้องค์กรปกครองสว่ น ท้องถ่ินดำเนนิ การภายในพ้ืนทีข่ องตน โดยขาดการบูรณาการหรอื การประสานงานกับหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง แล้ว การจดั การอาจมีข้อจำกัดในดา้ นกำลังคน งบประมาณ รวมถึงการจดั หาพืน้ ที่ รถขนสง่ เพื่อนำขยะมา กำจดั อย่างถกู วิธี ปญั หาเหล่านี้ ทำใหก้ ารจดั การขยะเปน็ ปญั หาทรี่ ฐั บาลเหน็ ความสำคัญและยกเปน็ วาระแห่งชาตแิ ละ ไดม้ ีระเบียบสำนกั นายกรัฐมนตรี วา่ ดว้ ยการจดั ระบบบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยของประเทศพ.ศ. 2557 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 131 ตอนพิเศษ 189 ง ลงวนั ที่ 25 กันยายน 2557 และมีหนังสอื สัง่ การรวมถงึ แผนการจดั การขยะมลู ฝอยและของเสยี อันตรายซ่ึงผา่ นความเห็นชอบจากคณะรักษาความสงบ เรียบรอ้ ยแหง่ ชาติ เมื่อวนั ที่ 26 สงิ หาคม 2557 โดยมกี ารกำหนดข้นั ตอนการดำเนินงาน 4 ขน้ั ตอน คือ1. กำจัดขยะมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่กำจดั ขยะมลู ฝอยในพน้ื ทวี่ ิกฤติ (มลู ฝอยเกา่ ) 2. สรา้ งรูปแบบการกำจดั ขยะมูลฝอยและของเสียอนั ตรายที่เหมาะสม (ขยะมลู ฝอยใหม)่ โดยเน้นการลดและ

2 คัดแยกขยะมูลฝอยตง้ั แตต่ น้ ทาง การจัดการขยะมลู ฝอยแบบศูนยร์ วม และการกำจดั ขยะมูลฝอยโดย เทคโนโลยแี บบผสมผสานเน้นการแปรรปู เปน็ พลงั งานหรือทำให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด3. วางระเบยี บมาตรการ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอนั ตราย4. การสรา้ งวินยั ในชาติม่งุ สกู่ ารจัดการอยา่ งยั่งยืน โดยให้ ความรู้แกป่ ระชาชน และการบงั คับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด จากแนวทางในการจัดการขยะ 4 ประการขา้ งต้น และระเบยี บสำนกั นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการ จัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศพ.ศ. 2557 ซึง่ กำหนดให้มีแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจัดการขยะ มูลฝอยของประเทศ เพื่อใหม้ ีการจดั การขยะมลู ฝอยเป็นไปอยา่ งมีระบบ รวดเรว็ และมปี ระสทิ ธิภาพโดย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม เป็นผู้จดั ทำ และเสนอความเห็นชอบจากคณะรฐั มนตรีและเม่ือ ไดร้ ับความเหน็ ชอบแลว้ ผู้ว่าราชการจังหวัด จะมีอำนาจหน้าทีใ่ นการกำกับดแู ลการใชจ้ ่ายเงินงบประมาณ และ กำกบั ดูแลใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ดำเนนิ การกำจดั ขยะมลู ฝอยใหเ้ ป็นไปตามแผนแม่บท รวมถงึ การ ติดตามผลดว้ ยหากหน่วยงานใดไม่อาจดำเนนิ การได้กใ็ หร้ ายงานนายกรฐั มนตรเี พือ่ พจิ ารณาสั่งการตามท่ี เห็นสมควร นอกจากนี้ การประเมินผลของแผนแม่บทเปน็ หน้าทีข่ องกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมทจ่ี ะดำเนินการเพ่ือแจง้ ใหค้ ณะรฐั มนตรที ราบทุกหกเดือน จากกลไกท่ีกำหนดแผนแมบ่ ท การทำแผนปฏบิ ตั ิการ และการติดตามผลการดำเนินการทุกๆ หกเดือน นี้ เป็นกลไกทีท่ ำให้การจัดการขยะเปน็ ไปอยา่ งบรู ณาการและมกี ารติดตามแก้ไขดีข้นึ กวา่ เดิมท่ี ปลอ่ ยให้เหน็ หน้าทข่ี องราชการส่วนกลางและสว่ นท้องถน่ิ ดำเนนิ การตามท่ีกำหนดไวใ้ นกฎหมาย เพราะในการกำจัดขยะ บางเรื่องอาจเกินกำลงั ความสามารถของหน่วยงานท้องถนิ่ น้ัน หรืออาจต้องดำเนินการประสานความร่วมมือกับ หนว่ ยงานอื่น การมีแผนแมบ่ ทและการบูรณาการจงึ เป็นส่งิ ทคี่ วรทำและสามารถแก้ไขปัญหาขอ้ จำกดั เหลา่ นไี้ ด้ สาระสำคญั ของแผนแม่บทการบริหารจดั การขยะมลู ฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 - 2564) ประกอบดว้ ย1. กรอบแนวคดิ ได้แก่ ลดการเกิดขยะมลู ฝอยหรือของเสยี อันตรายทีแ่ หล่งกำเนิด ส่งเสรมิ การ กำจดั ขยะมลู ฝอยและของเสยี อันตรายแบบศูนย์รวม ความรับผิดชอบและการมีส่วนรว่ มของทุกภาคสว่ น 2. เป้าหมายของแผนแม่บทการบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 - 2564)3. มาตรการ การจดั การขยะมลู ฝอยและของเสียอนั ตราย ได้แก่ ลดการเกดิ ขยะมูลฝอยและของเสยี อันตรายทีแ่ หล่งกำเนิด เพิม่ ศักยภาพการจดั การขยะมูลฝอยและของเสยี อันตราย และส่งเสริมการบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยและของ เสียอนั ตราย4. การจัดลำดับความสำคญั ของพน้ื ที่ ได้แก่ กลุ่มพ้นื ทีข่ นาดใหญ่ (Model L) กลมุ่ พื้นทีข่ นาด กลาง (Model M) กลุ่มพนื้ ท่ีขนาดเล็ก (Model S) สถานีขนถ่ายขยะมลู ฝอย (Transfer Station) และพ้นื ท่ีท่ี จัดการของขยะมลู ฝอยของตนเอง (Stand Alone)5. หนว่ ยงานดำเนินการ ได้แก่ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง หน่วยงานสว่ นกลาง หน่วยงานสนบั สนนุ ภาคเอกชนและผู้ประกอบการ และภาคประชาชน องคก์ รชุมชน หรอื ประชาสังคม6. การขบั เคล่อื นแผนสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ได้แก่ สร้างความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับสาระสำคัญของ แผนแม่บทการบริหารจดั การขยะมลู ฝอยของประเทศ และบรู ณาการความร่วมมือการทำงานของหน่วยงาน และภาคสว่ นทเ่ี กย่ี วข้อง การใชเ้ ครือ่ งมือและกลไกท่ีเป็นรปู ธรรม และการติดตามประเมินผล สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ไดก้ ำหนดแนวทางดำเนนิ การโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ประจำปงี บประมาณ 2559 เพือ่ สง่ เสริมสนับสนนุ ให้สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา พจิ ารณาดำเนินการบูรณาการใหค้ รอบคลมุ ขอบขา่ ยของงานด้านการจัดการขยะ จากความสำคญั และแนว ทางการดำเนนิ งานดงั กลา่ ว สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 3 ไดต้ ระหนักถึง ความสำคัญของการบริหารจัดการขยะ จึงกำหนดนโยบาย ดังน้ี อา่ นออกเขยี นได้ ใส่ใจสงิ่ แวดลอ้ ม

3 พรอ้ มสู่ AEC ตามวถิ ีพอเพยี ง โดยส่งเสริม สนบั สนุนใหโ้ รงเรยี นและชมุ เป็นโรงเรยี นปลอดขยะ ซ่งึ อาศยั หลกั การงา่ ย ๆ อยา่ ง 3Rs ได้แก่ Reduce ใช้น้อย คือการลดปรมิ าณขยะใหเ้ กดิ ขนึ้ น้อยที่สดุ Reuse ใชซ้ ำ้ หากเกดิ วัสดุเหลอื ใชน้ ำมาใช้ซำ้ หมนุ เวียนใช้ใหมก่ ่อนท้ิง Recycle นำมาใช้ใหม่ กอ่ นท้ิงวัสดเุ หลอื ใชห้ ากเป็น วสั ดุทสี่ ามารถรไี ซเคิลได้ให้คดั แยกขายใหร้ ้านรบั ซอื้ ของเก่าเพอ่ื เข้าส่กู ระบวนการแปรรูปนำกลับมาใช้ใหม่ ตอ่ ไป การหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ เพ่ือเป็นการใช้ทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ และเป็นการ ลดปรมิ าณของเสียท่ีเกิดขึน้ ให้นอ้ ยทีส่ ดุ โดยใชห้ ลกั การของ 3Rs เพ่อื จัดการขยะตัง้ แต่ต้นทาง ลดการเกิดขยะ การทำให้ขยะเหลือนอ้ ยท่ีสดุ และการจัดการขยะท่เี หลืออย่างมีประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป โรงเรยี นบา้ นสะอาง ( ประชาสามคั คี )ตระหนักและเลง็ เหน็ ความสำคญั ของการบรหิ ารจัดการขยะ รักษาส่ิงแวดล้อม โดยไดก้ ำหนดลงในวสิ ัยทศั น์ พันธกจิ และเป้าประสงค์ เอกลกั ษณ์ของโรงเรยี น ตลอดจน โรงเรียนได้รบั คัดเลอื กให้เป็นโรงเรียนเครอื ข่ายโครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ประจำปี งบประมาณ 25๖๐ดว้ ยความตระหนกั ท่ีจะดำเนนิ งานให้นักเรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏบิ ตั ใิ หใ้ น การบรหิ ารจดั การขยะรักษาสิ่งแวดล้อม ตลอดจนปลกู ฝังจิตสำนกึ ท่ดี แี ก่นกั เรียนสามารถนำไปใช้ในการดำรงซี วติ ในศตวรรษที่ ๒๑ สืบต่อไป ๔.วตั ถุประสงค์ 2.1 เพอื่ ใหน้ ักเรียนตระหนกั รู้และเข้าใจในการบริหารจดั การขยะไดอ้ ยา่ งประสทิ ธภิ าพ 2.2 เพื่อใหน้ ักเรยี นตะหนัก รู้เข้าใจ และปฏิบัติไดใ้ นการประหยดั นำ้ ประหยัดไฟ และการรักษา สง่ิ แวดล้อม 2.3 เพื่อให้นักเรยี นสามารถนำความร้ทู ่ไี ด้ไปใช้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นกจิ กรรมการเรยี นรู้ ชีวติ ประจำวนั ๒.๔ เพ่ือให้นกั เรยี นมีความภาคภูมใิ จ พงึ พอใจในการปฏิบตั ิงาน และผลงาน ตลอดจนมีเจตคติท่ีดีต่อ อาชพี สจุ ริต 5.กิจกรรม/วธิ ีการ 5.๑ กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ 5.1.1 กจิ กรรมคัดแยกขยะวันละนิดชีวิตปลอดภยั 5.1.2 กิจกรรมประหยัดนำ้ ประหยดั ไฟดว้ ยมือเรา 5.1.3 กิจกรรมรกั โรงเรียนรักษ์สิง่ แวดลอ้ ม 5.1.4 กิจกรรมสรา้ งสรรค์สงิ่ ดๆี ตามวิถพี อเพียง 5.๒ วธิ กี ารดำเนนิ การ โรงเรยี นไดด้ ำเนินการในแต่ละกิจกรรมดังน้ี 5.2.1 กจิ กรรมคดั แยกขยะวันละนดิ ชวี ิตปลอดภัย - แตง่ ต้ังคณะกรรมการดำเนินงานกิจกรรมคัดแยกขยะวันละนดิ ชวี ิตปลอดภยั - คัดเลือกนักเรียนเปน็ ตวั แทนการอบรมนักเรยี นแกนนำ เดก็ ไทยยุคใหม่ ใส่ใจ สิง่ แวดลอ้ ม และครแู กนนำดา้ นการบรหิ ารจัดการขยะ - นกั เรยี นและครูแกนนำมาขยายผลต่อท่โี รงเรยี นและชุมชน - นกั เรยี นช่วยกันวเิ คราะห์ แยกแยะวา่ ขยะทไี่ ดจ้ ากการรบั ฝากขยะ ขยะใดสามารถ นำไปใชป้ ระโยชน์ หรือนำไปรีไซเคลิ ได้

4 ภาพกิจกรรมการดำเนนิ การจดั กระบวนการเรียนรู้การคดั แยกขยะรกั ษาส่ิงแวดลอ้ ม โรงเรียนบา้ นสะอาง ( ประชาสามคั คี )

5 ภาพกิจกรรมการดำเนนิ การจดั กระบวนการเรียนรู้การประชาสมั พนั ธ์การคดั แยกขยะรกั ษาส่งิ แวดลอ้ ม โรงเรียนบา้ นสะอาง ( ประชาสามัคคี )

6 - ดำเนนิ การจดั จำหนา่ ยขยะที่สามารถขายได้ - ดำเนนิ การรณรงค์ให้นกั เรยี นและชมุ ชนไดต้ ระหนกั มีความรู้ ความเขา้ ใจ และเหน็ คณุ คา่ ในการจัดการขยะ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ การใหค้ วามรกู้ ารบรหิ ารจัดการขยะในโรงเรยี น

7 ภาพกิจกรรมการดำเนนิ การรณรงคใ์ ห้ความร้ใู นภายในและภายนอกโรงเรยี น โรงเรยี นบ้านสะอาง ( ประชาสามัคคี )

8 5.2.2 กิจกรรมประหยดั นำ้ ประหยัดไฟดว้ ยมือเรา - แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนินงานกิจกรรมประหยัดนำ้ ประหยัดไฟด้วยมือเรา - จดั ทำป้ายประชาสมั พันธ์ การประหยดั น้ำประหยดั ไฟ - แบง่ นกั เรียนเปน็ กลุ่มคละช้ัน แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันแต่งคำขวญั การประหยัด น้ำประหยดั ไฟใสใ่ จส่งิ แวดล้อม นำคำขวัญ คำคม ไปติดให้นักเรยี นได้อา่ นเปน็ ข้อคิด เตือนใจ แก่นักเรียน - สร้างจติ สำนกึ การประหยัดนำ้ และประหยัดไฟ การประหยดั นำ้

9 การประหยัดไฟ 5.2.3 กิจกรรมรกั โรงเรียนรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ ม ๕.๒.๓.๑ กจิ กรรมรกั โรงเรียน - แบง่ กลุม่ นักเรยี นในการรบั ผิดชอบเขตพื้นทีต่ ่าง ๆ ของโรงเรียนเป็นชั้นเรยี น ดงั น้ี ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ เขตพนื้ ท่ีรบั ผิดชอบบรเิ วณหลังอาคารเรียนใหม่และใต้ อาคารเรียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เขตพืน้ ทร่ี บั ผิดชอบหน้าอาคารเรียนใหม่ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เขตพื้นทร่ี ับผดิ ชอบหน้าถนนทางเข้าโรงเรยี นฝัง่ ทางด้าน ทิศตะวนั ตกและสนามวอลเลยบ์ อล ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ เขตพื้นทร่ี บั ผิดชอบหน้าอาคารเรียนหลังเกา่ และใตถ้ ุน อาคาร ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เขตพน้ื ท่รี บั ผดิ ชอบหลงั อาคารเรียนหลงั เก่าและหน้าโรง อาหาร ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เขตพื้นท่ีรบั ผิดชอบถนนทางด้านทศิ ตะวันออก ผลการประเมินการดำเนินการเขตรับผดิ ชอบทำความสะอาดในเขตพืน้ ที่รับผิดชอบดีเดน่ สรุปเปน็ รายวนั

10 ภาพกิจกรรมการทำความสะอาดบรเิ วณท่ีรบั ผดิ ชอบ

11 - ดำเนินการติดตาม ประเมินความสะอาดของแต่ละบรเิ วณ คดั เลอื กระดับชน้ั ท่ีมี การดแู ลรกั ษาเขตรับผดิ ชอบ เพือ่ มอบรางวลั เขตที่มีความรับผิดชอบดเี ดน่ ในแตล่ ะเดือน - มอบเกียรติบัตร เชดิ ชเู กยี รติ ให้กำลังใจระดับชั้นท่มี ีผลการดแู ลความสะอาดดีเดน่ ๕.๒.๓.๒ กจิ กรรมรกั ษส์ ่ิงแวดล้อมโรงเรยี นได้ดำเนินการจัดกจิ กรรมการเพาะปลูก พชื โดยใช้ป๋ยุ อินทรีย์ การปลูกดอกดาวเรืองเพ่ือถวายพอ่ หลวง และการปักชำตน้ ไม้ พืชผักสมนุ ไพรใน โรงเรยี น การเพาะปลกู พืชด้วยปุ๋ยอนิ ทรยี ์ และการปกั ชำตน้ ไม้

12 กิจกรรมปลูกดอกดาวเรอื งเพ่อื ถวายพ่อหลวง

13 ภาพกจิ กรรมชมุ ชนรว่ มพฒั นา รว่ มรกั ษาสิ่งแวดล้อม

14 5.2.4 กิจกรรมสรา้ งสรรค์ส่ิงดีๆ ตามวิถพี อเพยี งโรงเรียนไดด้ ำเนนิ การเพอื่ ใหน้ กั เรียนได้ เรยี นรู้และปฏบิ ตั ิจรงิ ในการบริหารจัดการขยะรักษาสิง่ แวดล้อมดงั ต่อไปน้ี - แตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนินงานในกิจกรรมสร้างสรรคส์ ิ่งดี ๆ ตามวถิ ีพอเพียง - มอบหมายใหแ้ ต่ละช้ันดำเนินการสรา้ งสรรค์ผลงานทเ่ี กีย่ วกบั การนำส่งิ ของเหลือใช้ หรอื สิ่งของท่ีได้จากคัดแยกขยะมาสร้างสรรค์ผลงานในการเรยี นรู้ - ให้นักเรยี นแต่ละชัน้ /กลมุ่ สนใจดำเนนิ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานและนำเสนอผลงาน ดังน้ี (๑) กิจกรรม จดั ทำพดั จากกลอ่ งนม วสั ดุที่ใช้ กรรไกร ตะเกียบ กล่องนม เทปกาว วธิ ที ำ 1. เตรยี มอุปกรณต์ า่ งๆ แลว้ นำกลอ่ งนม มาตัดท้งั ปลายสองแล้วนำมาลา้ งใหส้ ะอาดตากใหแ้ ห้ง ๒. นำกล่องนมมาตดั เปน็ เส้นขนาดจำนวนเท่ากนั จนได้จำนวนท่ีต้องการ

15 ภาพกจิ กรรมการทำพดั จากกล่องนม 3. นำมาสานลายสานแบบ ยก ๑ ขา้ ม 1 4. แล้วนำมาใสด่ ้ามและติดขอบ จะได้ออกมาเปน็ รูปแบบนี้

16 (๒) กิจกรรม พดั ใบตำลึงจากไมไ้ ผ่ วัสดุท่ีใช้ ไม้ไผ่ กรรไกร มีดตอก มดี โต้ สีผสมอาหาร/สารเคมี วธิ ที ำ ๑. นำไม้ไผ่มาเหลาเปน็ ตอกแบน และตอกกลม ย้อมสีตามต้องการ ๒. สานด้วยลาย 2 และลาย ๓ ๓. ผลงานเสร็จสมบูรณ์

17 (๓) กจิ กรรม กังหนั ลมจำลอง วสั ดุทใ่ี ช้ วัสดเุ หลอื ใช้ต่าง ๆ เช่น กระดาษ กล่องนม ตะเกียบ เขม็ หมุด หลอดดูด วธิ ีทำ ๑. นำกล่องนมท่ลี า้ งแล้วตากแห้งนำมาตดั หวั ทา้ ยและแกะออกให้เป็นแผ่นส่เี หลี่ยม

18 ภาพขน้ั ตอนการทำกงั หนั ลมจำลอง นำไปทดสอบการหมุนของกังหนั ลมท่สี นาม

19 (๔ ) กิจกรรมปะตดิ สร้างนิสยั ใส่ใจสิ่งแวดล้อม อปุ กรณ์ เศษวสั ดุธรรมชาติ กาว กรรไกร กระดาษ ดนิ สอไมบ้ รรทดั ยางลบ วิธีทำ ๑. นำวัสดุจากธรรมชาติ มาใชใ้ นการปะตดิ ๒. ภาพสำเรจ็ เม่ือทำสำเร็จ

20 (๕ ) กจิ กรรมทำดอกคารเ์ นช่ันจากถุงพลาสตกิ วัสดุอุปกรณ์ ถงุ พลาสตกิ กาว เชือก กรรไกร ของตกแตง่ วธิ ีทำ นำถุงพลาสติกท่ใี ชแ้ ลว้ มาตัดตามแบบเข้าดอกให้สวยงามและตกแต่ง

21 (๖) กิจกรรมทำถังขยะจากกลอ่ งนม วสั ดอุ ุปกรณ์ กล่องนม ลงั นม กาว กรรไกร ของตกแต่ง วิธีทำ นำกลอ่ งนมท่แี กะแลว้ มาตดิ ใสล่ งั นมและตกแต่งใหส้ วยงาม จะได้กลอ่ งขยะทีม่ ีสสี นั สวยงามแยกตาม ประเภท

22 6. ผลสำเรจ็ โรงเรียนบ้านสะอาง ( ประชาสามคั คี )ไดด้ ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ดว้ ยความมงุ่ ม่ันท่จี ะพฒั นานกั เรยี น ให้เกิดความตระหนัก มีความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนำไปปฏบิ ตั ไิ ด้ในการบรหิ ารจดั การขยะ รกั ษา สิง่ แวดล้อม ผา่ นกิจกรรม 4 กจิ กรรมดงั น้ี 6.1.1 กจิ กรรมคัดแยกขยะวันละนดิ ชีวติ ปลอดภยั นักเรยี นสามารถแยกขยะ ได้ตามประเภท ของขยะ รแู้ ละเขา้ ใจ ในความจำเปน็ ที่จะต้องดำเนินการคดั แยกขยะ การรณรงค์ในชมุ ชนให้ตระหนกั ถึงการ จัดการขยะ และสามารถน้ำไปจำหนา่ ยเป็นเงินสะสมในการจัดการขยะได้ 6.1.2 กจิ กรรมประหยัดนำ้ ประหยดั ไฟดว้ ยมือเรา โรงเรียนไดม้ คี ำขวญั และป้ายตดิ ใน สถานที่ตา่ ง ๆ บรเิ วณโรงเรียน ใหน้ ักเรียนได้อ่านเปน็ ข้อคิด ข้อปฏิบตั ิตนในการใชท้ รพั ยากรน้ำ ไฟฟา้ อยา่ ง ประหยดั ตลอดจนนักเรียนมีนิสยั ทจี่ ะรักการประหยดั พลังงานเพ่ือตนเองและลูกหลานต่อไป 6.1.3 กิจกรรมรกั โรงเรียนรักษ์ส่ิงแวดล้อม นักเรียนมีความรบั ผิดชอบ มจี ติ สำนกึ ในการ เปน็ เจ้าของโรงเรยี นรว่ มกัน ช่วยเหลอื เกือ้ กลู กนั และกันในกล่มุ ท่จี ะรบั ผิดชอบ รักษาความสะอาด หน้าท่ที ่ี มอบหมายให้ดำเนนิ การอย่างเต็มความใจ เต็มกำลังแรงกายแรงใจ สรา้ งความสามัคคใี นกลุ่ม 6.1.4 กจิ กรรมสร้างสรรค์สงิ่ ดๆี ตามวถิ ีพอเพียง - สรา้ งสรรคเ์ ปน็ อปุ กรณ์การเรยี นรแู้ ละพัฒนาจนิ ตนาการ ความคิดสรา้ งสรรค์ นักเรยี นมีความสุขและภาคภูมใิ จท่ีไดจ้ ดั ทำสิ่งตา่ งๆ ด้วยตนเอง ใชว้ ัสดเุ หลอื ใช้ และวัสดจุ ากธรรมชาติ สามารถนำไปใชใ้ นกจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยจดั ทำกิจกรรมดังน้ี - กิจกรรม จัดทำพัดจากกล่องนม - กิจกรรม พัดใบตำลงึ จากไม้ไผ่ - กจิ กรรม กังหันลมจำลอง - กจิ กรรม ปะตดิ สรา้ งนสิ ยั ใสใ่ จส่ิงแวดล้อม - กจิ กรรม ทำดอกคาร์เนชน่ั จากถงุ พลาสตกิ - กจิ กรรม ทำถงั ขยะจากกล่องนม 7. ผลท่ีได้การยอมรบั - ไดร้ ับการคดั เลือกให้เปน็ โรงเรียนเครือข่ายโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School)ของ สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต ๓ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ - ได้รบั รางวลั เหรียญทอง ชนะเลศิ การสร้างสรรคภ์ าพดว้ ยการปะตดิ ระดบั ชนั้ ป.๑-๓ กลุม่ พฒั นา คุณภาพการศึกษา ๑ เมืองขุขันธ์ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ - ได้รับรางวัลเหรียญทอง ชนะเลศิ การสรา้ งสรรค์ภาพด้วยการปะตดิ ระดับชนั้ ป.๔-๖ กลมุ่ พัฒนา คณุ ภาพการศึกษา ๑ เมืองขุขันธ์ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ - ได้รับรางวัลเหรยี ญทอง ชนะเลศิ การจักสานไม้ไผ่ ระดบั ชัน้ ป.๔-๖ กลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๑ เมอื งขุขันธ์ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ - ผ้ปู กครองนักเรียน ช่นื ชมกับการจดั กจิ กรรมทีเ่ ป็นประโยชนต์ อ่ นกั เรียนและชุมชน

23 ภาคผนวก

24 คำส่งั โรงเรยี นบ้านสะอาง (ประชาสามัคคี) ที่ ๑๔ /๒๕๖๐ เรอ่ื ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ งานดา้ นการจัดการขยะและวิธีปฏบิ ตั ทิ ่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) ด้านการจดั การขยะ ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ .......................................................... ด้วยโรงเรยี นบ้านสะอาง (ประชาสามคั คี) ไดจ้ ะดำเนนิ การตามโครงการโรงเรยี นปลอดขยะ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ เพ่ือให้การดำเนนิ งานกจิ กรรมดงั กลา่ วเป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย โรงเรยี นบา้ นสะอาง (ประชาสามัคคี) อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๙ แหง่ พระราชบัญญตั ิระเบียบบรหิ ารกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และมาตรา ๒๗ แหง่ พระราชบญั ญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ จงึ แต่งต้งั คณะกรรมการ ดังตอ่ ไปนี้ ลำดบั กิจกรรม ผ้รู บั ผดิ ชอบ หมายเหตุ 1 ด้านการบริหารจัดการ (2 มาตรฐาน 6 ตัวช้วี ัด) นายจำรูญ มลพิ นั ธ์ นางนทั วรรณ ทองดา นางกฤษณส์ ิรี ไชยรนิ ทร์ มาตรฐานที่ 1 สถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มศึกษา (ขยะ มลพษิ น้ำ พลงั งาน อนามยั ) ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ ตวั ชว้ี ัดท่ี 1.1 มกี ารกำหนดนโยบาย/วสิ ยั ทัศน/์ พนั ธกจิ /เปา้ ประสงค์ และแผนงาน/ โครงการดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มศึกษา (ขยะ มลพิษ น้ำ พลังงาน อนามัย) ตวั ช้ีวดั ที่ 1.2 มีการดำเนนิ งานตามแผนงานโครงการและนิเทศ ติดตาม ประเมินผล อย่างเปน็ ระบบ ตัวช้ีวดั ท่ี 1.3 มีการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ งบประมาณและทรพั ยากรดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ศึกษา ตวั ช้ีวดั ที่ 1.4 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานด้านสง่ิ แวดล้อมศึกษา มาตรฐานที่ 2 ครแู ละบุคลากรในสถานศึกษาไดร้ บั การพฒั นาดา้ นส่งิ แวดล้อมศกึ ษา อย่างสมำ่ เสมอ ตวั ช้ีวดั ท่ี 2.1 มกี ารสง่ เสรมิ ให้ครแู ละบุคลากรในสถานศึกษาไดร้ บั การพฒั นาดา้ น สงิ่ แวดล้อมศกึ ษา ตัวชวี้ ดั ที่ 2.2 มกี ารกำกับ ติดตาม ประเมนิ ผลและนเิ ทศการปฏิบตั งิ านดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ศกึ ษาอย่างต่อเนอื่ ง

25 -๒- ลำดับ กจิ กรรม ผ้รู บั ผิดชอบ หมายเหตุ 2 มาตรฐานดา้ นหลักสูตรและการจดั การเรยี นรู้ นางจินตนา งามวงษ์ 2 มาตรฐาน 5 ตวั ช้วี ัด) นางทิพา สุวชาติ นางสาวพรพิมล พลคำ มาตรฐานที่ 3 สถานศึกษามีหลกั สตู รและจดั การเรียนรู้ด้านสงิ่ แวดล้อมศึกษาทส่ี อดคลอ้ ง กับบรบิ ทของท้องถ่ิน ตวั ชว้ี ดั ท่ี 3.1 มีการพฒั นาหลกั สูตรเพิม่ เตมิ /สาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ ด้านสง่ิ แวดล้อม ศึกษาทสี่ อดคล้องกับสภาพบรบิ ทของชุมชน (ด้านการจดั การขยะ มลพษิ น้ำ พลังงาน อนามยั ) ตัวช้ีวดั ที่ 3.2 มีการจดั การเรียนรู้ตามหน่วย/แผนการเรียนร้สู ิง่ แวดล้อมศึกษาดา้ นการ จัดการขยะ นำ้ เสีย มลพษิ ทางอากาศ และพลงั งาน ตวั ชวี้ ัดที่ 3.3 มีสอื่ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ แหล่งเรียนรูแ้ ละภมู ิปัญญาท้องถน่ิ อยา่ งหลากหลาย มาตรฐานที่ 4 สถานศกึ ษามกี ารสง่ เสรมิ การจดั กจิ รรม ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ มและสุขอนามัย (นำ้ ขยะ พลังงาน มลพษิ ) ตวั ช้ีวัดท่ี 4. 1 มีโครงการ/กจิ กรรม ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม และ สุขอนามยั ตัวชี้วดั ที่ 4.2 มฐี านข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ มและสุขอนามยั 3 มาตรฐานดา้ นการมีส่วนร่วมและการสรา้ งเครือข่าย นางนัทวรรณ ทองดา (2 มาตรฐาน 4 ตวั ชว้ี ัด) นางนิราพร ตน้ เกตุ นางทิพา สุวชาติ มาตรฐานท่ี 5 สถานศึกษามีการสรา้ งเครือข่ายการมีส่วนร่วมภายในสถานศึกษา ตัวช้ีวดั ที่ 5.1 มกี ารจัดต้ังชมุ นุม/ชมรม/สภานกั เรียน ท่ีดำเนนิ งาน สิ่งแวดล้อมศึกษา ภายในโรงเรยี นอย่างชดั เจน ตัวชว้ี ดั ท่ี 5.2 มีการขยายเครอื ขา่ ยชมรม ชมุ นุมกิจกรรมสง่ิ แวดลอ้ มภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 6 สถานศึกษามสี รา้ งเครือขา่ ยการมีสว่ นรว่ มจากบคุ คลและหน่วยงานภายนอก ตวั ช้ีวัดที่ 6.1 จัดกิจกรรมดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มศกึ ษาโดยใหภ้ าคเี ครอื ข่าย ท่เี กยี่ วข้องมสี ว่ น ร่วม ตวั ชี้วัดที่ 6. 2 มีภาคีเครือขา่ ยสนบั สนุนการดำเนนิ งานของสถานศึกษา

26 -๓- 4 มาตรฐานด้านผลที่เกดิ ขึน้ จากการดำเนินงานด้าน นายมงคล พนั ธเสน สง่ิ แวดล้อมศึกษา (4 มาตรฐาน 6 ตวั ชวี้ ัด) นางอนงคล์ ักษณ์ รอดสำอางค์ นางกฤษณ์สิรี ไชยรนิ ทร์ มาตรฐานที่ 7 สถานศกึ ษามสี ภาพแวดล้อมทีส่ วยงาม สะอาด รม่ ร่นื ปลอดภัย และเอื้อตอ่ การ จัดการเรียนรู้สง่ิ แวดล้อมศกึ ษา (Green School) ตัวช้ีวัดที่ 7.1 มีสภาพแวดล้อมท่เี ออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรู้ส่ิงแวดลอ้ มศึกษา ตวั ชวี้ ัดที่ 7.2 มหี อ้ งเรียนท่ีสะอาด สวยงาม เออ้ื ต่อการจดั การเรียนรแู้ ละเปน็ มติ รกับ ส่ิงแวดลอ้ ม มาตรฐานท่ี 8 ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาเปน็ แบบอย่างทด่ี ีด้านการอนุรักษส์ ง่ิ แวดล้อม ศกึ ษา ตวั ช้วี ัดท่ี 8.1 มพี ฤตกิ รรมทีแ่ สดงถึงความรบั ผดิ ชอบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มและเปน็ แบบอยา่ ง ดีแก่นกั เรยี นและชมุ ชน ตวั ชว้ี ดั ท่ี 8.2 มสี ่อื /นวตั กรรม/ผลงานส่งิ แวดล้อมศกึ ษา ท่ีได้รบั การยอมรบั มาตรฐานท่ี 9 ผเู้ รียนมีพฤติกรรมท่รี ับผิดชอบต่อส่งิ แวดลอ้ ม ตวั ช้ีวดั ท่ี 9.1 ผูเ้ รยี นมีคุณลกั ษณะตามวัตถุประสงค์ของสิ่งแวดล้อมศึกษา มาตรฐานท่ี 10 ชุมชน/เครอื ข่าย มสี ภาพแวดล้อมที่ สะอาด สวยงาม ปราศจากขยะและ มลพษิ ตัวช้ีวดั ท่ี 10.1 สภาพแวดลอ้ มชุมชน/เครือขา่ ย สะอาด สวยงาม ปราศจากขยะและ มลพิษ ให้ผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมายปฏิบัตงิ านให้สำเรจ็ ลุล่วง เกดิ ประโยชน์สูงสดุ แก่ราชการ ทงั้ นี้ ตัง้ แต่วนั ที่ ๑๖ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 25๖๐ สงั่ ณ วนั ท่ี ๑๖ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2๕๖๐ (นายจำรญู มลพิ นั ธ)์ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านสะอาง (ประชาสามัคคี)

27 คำสง่ั โรงเรียนบ้านสะอาง (ประชาสามัคคี) ท่ี ๑๕ /๒๕๖๐ เรื่อง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนินงานกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการขยะ ตามโครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ .......................................................... ดว้ ยโรงเรียนบา้ นสะอาง (ประชาสามัคคี) ได้จะดำเนนิ การตามโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ เพอื่ ให้การดำเนนิ งานกจิ กรรมดงั กลา่ วเป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย โรงเรียนบ้านสะอาง (ประชาสามคั คี) อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๙ แห่ง พระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหารกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติ ระเบยี บข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงแตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนินงานกจิ กรรม พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการขยะ ตามโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ประจำปี การศึกษา ๒๕๕๙ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. คณะกรรมการอำนวยการ ๑. นายจำรูญ มลิพันธ์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ ๒. นางนัทวรรณ ทองดา ครู/ครูชำนาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ ๓. นางนริ าพร ตน้ เกตุ ครู/ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ ๔. นางอนงคล์ กั ษณ์ รอดสำอางค์ คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ ๕. นางจินตนา งามวงษ์ ครู/ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ ๖.. นายมงคล พนั ธเสน คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ กรรมการ ๗.. นางทพิ า สุวชาติ คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ ๘. นางสาวพรพมิ ล พลคำ ครู กรรมการและเลขานุการ ๙. นางกฤษณส์ ริ ี ไชยรินทร์ ครู กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ มีหนา้ ท่ี อำนวยความสะดวก ให้คำแนะนำปรึกษาในการดำเนินงาน ๒. คณะกรรมการจดั กิจกรรมคดั แยกขยะวันละนดิ ชวี ิตปลอดภัย ๑. นางนทั วรรณ ทองดา ครู/ครูชำนาญการพิเศษ หวั หนา้ ๒. นายมงคล พนั ธเสน คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ ผู้ชว่ ย ๓. นางนิราพร ตน้ เกตุ ครู/ครูชำนาญการพิเศษ ผ้ชู ว่ ย ๔. นางอนงคล์ ักษณ์ รอดสำอางค์ ครู/ครชู ำนาญการพเิ ศษ ผู้ช่วย

28 -๒- มีหนา้ ที่ ดำเนินกจิ กรรมคดั แยกขยะวนั ละนิดชีวติ ปลอดภยั ให้นกั เรยี นสามารถแยกขยะ ไดต้ าม ประเภทของขยะ รแู้ ละเขา้ ใจ ในความจำเปน็ ท่ีจะต้องดำเนินการคดั แยกขยะ การรณรงคใ์ นชมุ ชนให้ตระหนัก ถงึ การจัดการขยะ และสามารถนำ้ ไปจำหนา่ ยเป็นเงินสะสมในการจัดการขยะ ๓. คณะกรรมการประหยัดน้ำประหยดั ไฟด้วยมอื เรา ๑. นายมงคล พนั ธเสน ครู/ครชู ำนาญการพิเศษ หวั หนา้ ๒. นางอนงคล์ ักษณ์ รอดสำอางค์ ครู/ครูชำนาญการพิเศษ ผชู้ ่วย ๓. นางจินตนา งามวงษ์ คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ ผูช้ ว่ ย ๔. นางทิพา สวุ ชาติ คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ ผู้ชว่ ย ๕. นางสาวพรพิมล พลคำ ครู ผู้ชว่ ย มีหน้าท่ี ดำเนินกิจกรรมประหยดั นำ้ ประหยดั ไฟดว้ ยมือเรา เพื่อให้โรงเรยี นได้มีคำขวัญ และปา้ ยติด ในสถานที่ตา่ ง ๆ บรเิ วณโรงเรียน ให้นกั เรยี นได้อ่านเป็นข้อคดิ ข้อปฏบิ ตั ติ นในการใช้ทรัพยากรนำ้ ไฟฟ้า อยา่ งประหยัด ตลอดจนนกั เรียนมีนิสยั ทจ่ี ะรกั การประหยดั พลังงานเพอ่ื ตนเอง ๔. คณะกรรมการรักโรงเรียนรักษส์ งิ่ แวดล้อม ๑. นางนิราพร ต้นเกตุ ครู/ครูชำนาญการพิเศษ หวั หนา้ ๒. นางอนงคล์ ักษณ์ รอดสำอางค์ คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ ผู้ช่วย ๓. นางจนิ ตนา งามวงษ์ คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ ผ้ชู ว่ ย ๔. นางทพิ า สวุ ชาติ คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ ผชู้ ่วย ๕. นางกฤษณส์ ริ ี ไชยรินทร์ ครู ผูช้ ว่ ย มีหน้าที่ กจิ กรรมรกั โรงเรยี นรักษส์ ่งิ แวดลอ้ ม นกั เรียนมีความรับผดิ ชอบ มจี ิตสำนึก ในการเป็นเจา้ ของ โรงเรียนรว่ มกนั ช่วยเหลือเก้ือกูลกนั และกนั ในกลุ่มที่จะรบั ผดิ ชอบ รักษาความสะอาด หนา้ ทที่ ี่มอบหมายให้ ดำเนินการอย่างเตม็ ความใจ เต็มกำลงั แรงกายแรงใจ สรา้ งความสามคั คีในกลุ่ม ๕. คณะกรรมการกจิ กรรมสร้างสรรคส์ ิ่งดๆี ตามวถิ ีพอเพียง ๑. นางจินตนา งามวงษ์ คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ หวั หน้า ๒.. นางอนงค์ลักษณ์ รอดสำอางค์ ครู/ครูชำนาญการพเิ ศษ ผชู้ ่วย ๓. นางทิพา สุวชาติ คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ ผู้ช่วย ๔. นางสาวพรพิมล พลคำ ครู ผชู้ ว่ ย ๕. นางกฤษณส์ ริ ี ไชยรนิ ทร์ ครู ผชู้ ่วย มีหน้าท่ี ดำเนนิ กิจกรรมสรา้ งสรรค์สิง่ ดี ๆ ตามวิถพี อเพยี ง สรา้ งสรรค์เปน็ อปุ กรณ์การเรียนรูแ้ ละ พฒั นาจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ นักเรียนมคี วามสุขและภาคภูมิใจทไี่ ดจ้ ัดทำส่ิงตา่ ง ๆ ด้วยตนเอง สรา้ งสรรคพ์ ัด วสั ดเุ หลือใช้ และวสั ดธุ รรมชาติ โดยนักเรยี นสามารถที่จะจดั ทำพดั ใบตำลงึ ไว้ใช้ในโรงเรียนโดย ไม่ต้องจัดซ้ือ

29 ให้ผ้ทู ไี่ ด้รบั มอบหมายปฏิบตั งิ านใหส้ ำเรจ็ ลุล่วง เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ แกร่ าชการ ท้งั นี้ ต้งั แต่วันท่ี เดือน ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. 25๖๐ สั่ง ณ วนั ที่ ๑๖ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2๕๖๐ (นายจำรญู มลิพนั ธ)์ ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านสะอาง (ประชาสามัคค)ี

30 คำส่ังโรงเรียนบา้ นสะอาง (ประชาสามคั ค)ี ที่ ๑๖ /๒๕๖๐ เร่ือง แตง่ ต้งั คณะกรรมการจัดทำวิธปี ฏิบัตทิ ี่เป็นเลศิ (Best Practice) ตามโครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ .......................................................... ดว้ ยโรงเรยี นบา้ นสะอาง (ประชาสามคั คี) ไดจ้ ะดำเนนิ การตามโครงการโรงเรยี นปลอดขยะ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ เพอ่ื ให้การดำเนินงานกจิ กรรมดังกล่าวเป็นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย โรงเรยี นบ้านสะอาง (ประชาสามัคคี) อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๙ แห่ง พระราชบญั ญัติระเบียบบรหิ ารกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญตั ิ ระเบียบขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงแตง่ ต้งั คณะกรรมการจัดทำวธิ ปี ฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) ตามโครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ ดังตอ่ ไปน้ี คณะกรรมการจดั ทำวิธีปฏบิ ัติทเี่ ป็นเลศิ (Best Practice) ๑. นายจำรญู มลพิ นั ธ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ ๒. นางนัทวรรณ ทองดา ครู/ครูชำนาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ ๓. นางนริ าพร ตน้ เกตุ คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ ๔. นางอนงคล์ กั ษณ์ รอดสำอางค์ ครู/ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ ๕. นางจินตนา งามวงษ์ คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ กรรมการ ๖.. นายมงคล พนั ธเสน ครู/ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ ๗.. นางทพิ า สวุ ชาติ คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ ๘. นางสาวพรพิมล พลคำ ครู กรรมการและเลขานุการ ๙. นางกฤษณ์สริ ี ไชยรินทร์ ครู กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ มีหน้าที่ วางแผนการดำเนนิ งาน ออกแบบกิจกรรม และจัดทำวธิ ปี ฏิบตั ิทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero West School) ให้ผูท้ ไี่ ดร้ ับมอบหมายปฏบิ ัติงานใหส้ ำเรจ็ ลุล่วง เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ แก่ราชการ ทงั้ นี้ ต้ังแตว่ นั ที่ เดอื น ๑๒ กนั ยายน พ.ศ. 25๖๐ ส่ัง ณ วนั ท่ี ๑๒ เดือน กันยายน พ.ศ. 25๖๐ (นายจำรญู มลพิ นั ธ)์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นสะอาง (ประชาสามคั คี)

31 ประกาศโรงเรียนบ้านสะอาง (ประชาสามัคค)ี เร่อื ง แตง่ ต้งั คณะกรรมการเครือขา่ ยการดำเนินงานตามโครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ .......................................................... ด้วยโรงเรยี นบา้ นสะอาง (ประชาสามัคคี) ได้จะดำเนนิ การตามโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ เพ่ือให้การดำเนนิ งานกิจกรรมดงั กลา่ วเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย โรงเรียนบ้านสะอาง (ประชาสามคั คี) อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๓๙ แห่ง พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบญั ญตั ิ ระเบยี บขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ จงึ แต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายการ ดำเนนิ งานตามโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙ ดงั ตอ่ ไปน้ี คณะกรรมการเครือข่ายการดำเนนิ งานตามโครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ๑. นายเสวยี น สิทธศิ ร ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาทีป่ รึกษา ๒. นายธรี วฒั น์ จันทร์ดารา ผู้ใหญบ่ า้ น หมู่ ๑๒ ทป่ี รึกษา ๓. นางสปุ ราณี ปรางนวล ผูใ้ หญ่บ้านหนองบัว หมู่ ๓ ทป่ี รกึ ษา ๔. นายนัน ชุม่ จติ ร กรรมการสถานศกึ ษา ทป่ี รึกษา ๕. นายรนั มนทอง กรรมการสถานศึกษา ทีป่ รึกษา ๖. นางสธุ า ปรางนวล กรรมการสถานศกึ ษา ท่ีปรกึ ษา ๗. นายคำสงิ ห์ จันทร์ดารา กรรมการสถานศกึ ษา ทป่ี รกึ ษา ๘. นางพิกุล วรโพธิ์ กรรมการสถานศึกษา ท่ปี รกึ ษา ๙. นายจำรญู มลพิ ันธ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ ๑๐. นางนัทวรรณ ทองดา คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ ๑๑. นางนริ าพร ต้นเกตุ ครู/ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ ๑๒. นางอนงค์ลกั ษณ์ รอดสำอางค์ คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ ๑๓. นางจนิ ตนา งามวงษ์ คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ ๑๔. นายมงคล พนั ธเสน คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ ๑๕. นางทิพา สุวชาติ ครู/ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการ ๑๖. นางสาวพรพมิ ล พลคำ ครู กรรมการและเลขานุการ ๑๗. นางกฤษณ์สิรี ไชยรินทร์ ครู กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร มีหน้าท่ี วางแผนการดำเนินงาน ออกแบบกจิ กรรม และจดั ทำวิธีปฏิบัติทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School)

32 ให้ผ้ทู ไี่ ด้รบั มอบหมายปฏิบัตงิ านให้สำเรจ็ ลลุ ว่ ง เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ แกร่ าชการ ท้ังนี้ ต้งั แต่วันที่ ๑๖ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 25๖๐ สง่ั ณ วันท่ี ๑๖ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 25๖๐ (นายจำรูญ มลิพนั ธ)์ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบา้ นสะอาง (ประชาสามัคค)ี