รัฐประศาสนศาสตร์ กับ การเมืองการปกครอง

รัฐประศาสนศาสตร์ กับ การเมืองการปกครอง

ติดต่อเรา

เกี่ยวกับเรา

นโยบายส่วนบุคคล

1 /

รัฐประศาสนศาสตร์ กับ การเมืองการปกครอง

ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์กับการจัดการปกครองท้องถิ่น

ผู้แต่ง : สุริยานนท์ พลสิม


ข้อมูลหนังสือ

Barcode : 3000000008054


รายละเอียดสินค้า :

ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์กับการจัดการปกครองท้องถิ่น

หนังสือ“ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์กับการจัดการปกครองส่วนท้องถิน” เล่มนี้ถูกเรียบเรียง ขึ้นมา โดยมีเป้าหมายหลักเพืiอให้นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์สามารถนําเอาแนวคิด ทฤษฎีทาง รัฐประศาสนศาสตร์ไปวิเคราะห์อธิบาย หรือวิพากษ์วิจารณ์ปรากฏการณ์ทีiเกิดขึนจริงทังในมิติทาง การเมืองและการบริหารจัดการภาครัฐในระดับท้องถิiนได้อันจะก่อให้เกิดประโยชน์โดยตรงต่อทั้งการเรียนรู้ ในรายวิชา การศึกษาวิจัยทีiเกีiยวข้อง รวมถึงพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และการสังเคราะห์ประเด็นปัญหาทางรัฐประศาสนศาสตร์ทีiเกีiยวข้องกับการปกครองส่วนท้องถิiนได้เป็น อย่างดีด้วย เพือให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของนักศึกษาทั้งในเชิงทฤษฎี และการนําองค์ความรู้ไปสู่การบูร ณาการเพืiอใช้ประโยชน์ในงานวิจัยทีiเกีiยวข้องของนักศึกษาในสาขารัฐประศาสนศาสตร์ โครงสร้างของ หนังสือเล่มนี้ จึงประกอบด้วยสองส่วนหลัก ได้แก่ ส่วนแรก เป็นภาคทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ทีiนักศึกษา จําเป็นต้องเรียนรู้ในบททีi 1 –4 ส่วนทีiสอง คือ ภาคการนําเอาทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ดังกล่าว ไปศึกษา วิเคราะห์และวิพากษ์วิจารณ์กลไกจัดการปกครองส่วนท้องถิiนมิติต่าง ๆ ของประเทศไทย ในบทที 5 และ 6 ผู้เขียนคาดหวังเป็นอย่างยิiงว่าหนังสือ “ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ กับการจัดการปกครองส่วน ท้องถิน” เล่มนี จะช่วยสร้างความเข้าใจให้กับนักศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโทในสาขาวิชา ประศาสนศาสตร์ตลอดจนประชาชนทัวไปทีสนใจ ให้สามารถเข้าใจทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์และ หลักการปกครองส่วนท้องถิiนอย่างลึกซึง ตลอดจน สามารถนําเอาทฤษฎีเหล่านี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ จริงในการศึกษาเรียนรู้ และการดําเนินงานวิจัยในประเด็นต่าง ๆ ทีiเกียวข้องกับบริหารภาครัฐและการ จัดการปกครองส่วนท้องถิiนของประเทศไทยสืบต่อไป

สินค้าที่เกี่ยวข้อง

เพิ่มสินค้าลงในรถเข็นแล้ว

ตัวเลือกสินค้า

รัฐประศาสนศาสตร์ กับ การเมืองการปกครอง

ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์กับการจัดการปกครองท้องถิ่น

ผู้แต่ง : สุริยานนท์ พลสิม

฿ 350.00

จำนวน

หยิบใส่รถเข็น

ซื้อทันที

ถ้าให้เลือกรัฐศาสตร์กับรัฐประศาสนศาสตร์ ถ้าคิดจะเรียนควรเรียนอันไหนดีกว่ากันค่ะ

กระทู้คำถาม

การเรียน การศึกษา แนะแนวการศึกษา มหาวิทยาลัย

คำถามตามกระทู้เลยค่ะคือเรายังเลือกไม่ถูกเลยว่าจะเลือกเรียนอันไหนดีแล้วอันไหนจบมาละหางานทำได้ง่ายกว่ากันหรอค่ะคือเราอยากทำงานเกี่ยวกับรับราชการเลยคิดที่จะเรียนคณะนี้แต่ยังเลือกไม่ได้เลยค่ะว่าจะเลือกเรียนอันไหนดี ถ้ามีใครที่เรียนด้านนี้ก็ช่วยแนะนำให้เราด้วยเถอะนะค่ะคือปีนี้เราขึ้นม.6 ปีหน้าก็จะเข้ามหาลัยแล้วตอนนี้รู้สึกเครียดมากเลยค่ะใครพอรู้เรื่องทางด้านนี้ก็ช่วยแนะนำเราด้วยนะค่ะ

ขอบคุณล่วงหน้าเลยนะค่ะ

รัฐประศาสนศาสตร์ กับ การเมืองการปกครอง
รัฐประศาสนศาสตร์ กับ การเมืองการปกครอง
รัฐประศาสนศาสตร์ กับ การเมืองการปกครอง

0

0

รัฐประศาสนศาสตร์ กับ การเมืองการปกครอง

สมาชิกหมายเลข 2546259

Main Article Content

Abstract

เนื่องจากปัจจุบันมีมหาวิทยาลัยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐบาลหรือเอกชน เปิดสอนในสาขาวิชารัฐศาสตร์ และสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ อย่างกว้างขวาง จึงเป็นเหตุให้เกิดความสนใจถึงความแตกต่างระหว่างสาขาวิชา “รัฐศาสตร์ กับ รัฐประศาสนศาสตร์” ว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ในการเรียนการสอนของทั้ง 2 สาขาวิชานี้

            การศึกษาวิชาทางรัฐศาสตร์ (Political Science) เป็นการศึกษาศาสตร์ที่ว่าด้วยรัฐ (The science of the state) ซึ่งถือว่าเป็นสาขาหนึ่งของสังคมศาสตร์  (Social Sciences) ที่กล่าวถึงทฤษฎีการจัดตั้งองค์การรัฐบาลและการดำเนินงานของรัฐ (Practice of the state) หรือรวมถึงพฤติกรรมการเมือง (political behaviour) หรือการแสวงหาอำนาจทางการเมือง (power–seeking) ของกลุ่มคน องค์การ และสถาบัน อันมีลักษณะแตกต่างไปจากรัฐ (state) ซึ่งมุ่งที่จะแสวงหาอิทธิพลต่อนโยบายของรัฐ (public policy) และทิศทางของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (the direction of social change) หรือเป็นที่เข้าใจกันง่ายที่สุดในประเทศไทย คือเป็นวิชาการเมืองหรือศาสตร์ว่าด้วยการเมืองหรือศาสตร์ว่าด้วยอำนาจ (science of power) ซึ่งหมายถึงวิชาที่มุ่งศึกษาองค์การที่มีอำนาจปกครองรัฐหนึ่ง และการแข่งขันกันมีอำนาจในรัฐหนึ่งนั่นเอง (A-phaphirom, A., 2002 :1-2)

             ส่วนการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) คือ การศึกษาหาความรู้ในทุกด้านที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหารงานภาครัฐ และวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ยังมีความเป็น “สหสาขาวิชา (Interdisciplinary)”กล่าวคือ รัฐประศาสนศาสตร์ต้องอาศัยความรู้จากหลายสาขาวิชา เช่นรัฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา กฎหมาย และในบางกรณีอาจรวมถึงความรู้ด้านที่เป็นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดังนั้นรัฐประศาสนศาสตร์ จึงศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “กิจการสาธารณะ (Public Affairs)” ที่มุ่งศึกษาว่าจะมีวิธีดำเนินกิจกรรมที่ทำร่วมกันในสังคมอย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามวัตถุประสงค์ที่ปัจเจกบุคคลแต่ละคนต้องการ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

References

A-phaphirom, A. (2002). Introduction to Political Science, (2nd Edition). Bangkok: Odeonstore Press. (In Thai)
George S. Gordon. (1975). A Weekly Compilation of Releases from The Securities and
Exchange Commission. 6(11).
Henry, N. (2004). Public Administration and Public Affairs, 9th Edition. DC: U.S. Government
Printing Office:
Ladawan Na Ayuthya,S. (2011). Concept and Theory of Public Administration, Chiang Mai:
Thanut Printing Press. (In Thai)
Leonard D, White. (1948). Introduction to the study of public administration. New York:
Macmillan.
Ramkhamhaeng Uiniversity. (2002). Introduction to Enterprise Administration, (9th Edition).
Bangkok: Ramkhamhaeng Jiniversity Press. (In Thai)
Nigro, Felix A. & Lloyd G. Nigro. (1977). The new public personal Administration,. Itasca,III :
Pecock. 18)
Sukhothai thammathirat University. (2011). Sheets of Fuindamehtal Principle of Political
Science. (9th Edition). Nonthaburi : Sukhothait hammathirat University. (In Thai)
Wilson, W. (1941). Political Science Quarterly. The Study of Administration, 54(4), 481-506