ข้อสอบปริมาณสารสัมพันธ์ พร้อมเฉลย doc


ปริมาณสัมพันธ์


ตะลุยโจทย์ เคมี บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์



1. ธาตุ A 2 อะตอม มีมวลเท่ากับ 1.824 x  กรัม มวลอะตอมของ A มีค่าเท่าใด

( กำหนดให้ 12 1 มวลของ C – 12 เท่ากับ 1.66x10–24 กรัม ) ( 55 )

1. ตอบ 55

วิธีทำ ธาตุ A 2 อะตอม = 1.824 x 10–22 กรัม

ธาตุ A 1 อะตอม = 1824 10 22

2

. × − = 9.12 x 10–23 กรัม

ดังนั้น มวลอะตอม A = 1.66 10 24

9.12 10 23-25

× −

× − = 55

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

2(มช 40) ธาตุ M มีมวลอะตอม 70 และมีความหนาแน่นเท่ากับ 5.02 g / cm3 ปริมาตรเฉลี่ย

ของธาตุนี้ 1 อะตอม จะมีค่ากี่ cm3 (ข้อ 1)

1. 2.31 x  2. 1.18 x  3. 4.3 x  4. 5.18 x

2(มช 40) ตอบข้อ 1.

วิธีทำ จากมวลอะตอม M = 70 amu = (70)(1.66x10–24) กรัม

ความหนาแน่น = 5.02 g/cm3 ปริมาตร = ?

จาก ความหนาแน่น = ปริมาตร

มวล = 5.02

(70)(1.66×1024) = 2.31x10-23 g/cm3

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

3. สมมติธาตุ X มี 3 ไอโซโทป ในธรรมชาติ คือ

เปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ มวล

ไอโซโทปที่ 1

ไอโซโทปที่ 2

ไอโซโทปที่ 3

80

15

5

12

13

14

จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X (12.25 )

Σ ( % x มวล )

100

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

2

3. ตอบ 12.25

วิธีทำ มวลอะตอมเฉลี่ย x = 100

Σ(% x มวล)

= 100

(80 x 12) +(15 x 13) +(5 x 14)

= 960 +1 10905 + 70

= 1110205 = 12.25

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

4. มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุออกซิเจนในธรรมชาติเท่ากับ 16.032 แสดงว่าไอโซโทปใดของ

ออกซิเจนที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ

1. 16O 2. 17O 3. 18O 4. เท่ากัน ( ข้อ 1)

4. ตอบ 1

เหตุผล เพราะมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุจะมีค่าใกล้เคียงกับมวลที่มีเปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

5. ธาตุ D ประกอบด้วยไอโซโทป 2 ชนิด ที่มีมวลอะตอม 10.00 และ 11.00 ตามลำดับ หาก

มวลอะตอมของธาตุ D เท่ากับ 10.20 ปริมาณในธรรมชาติของ D ที่มีมวลอะตอม 11.00

จะเท่ากับเท่าใด ( 20 )

5. ตอบ 20

วิธีทำ นำข้อมูลที่ได้มาเขียนตาราง ให้สมมติ % ในธรรมชาติ

D % ในธรรมชาติ มวล M – M น้อยสุด

ไอโซโทป 1

ไอโซโทป 2

100 – A

A

10

11

10 – 10 = 0

11 – 10 = 1

Mเฉลี่ย = 100

Σ% ( มวล - มวลน้อยที่สุด) + มวลน้อยที่สุด

= 100

A + 10

A = (10.20 – 10) x 100 = 20

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

6(มช 46) มวลโมเลกุลของสารในข้อใดมีค่ามากที่สุด

1. Ca3(PO4)2 2. CuSO4 . 5H2O 3. Pb(NO3)2 4. K2Cr2O7 (ข้อ 3)

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

3

6(มช 46) ตอบ ข้อ 3

วิธีทำ ข้อ 1 มวลโมเลกุล Ca3(PO4) 2 = 3(40) + [31 + 4(16)] x 2

= 120 + (95)2 = 310

ข้อ 2 มวลโมเลกุล CuSO4 . 5H2O = 63.5 + 32 +4(16) + 5[2(1) + 16]

= 63.5 + 32 + 64 + 90 = 249.5

ข้อ 3 มวลโมเลกุล Pb(NO3)2 = 207 + [14 + 3(16)]2

= 207 + 124 = 331

ข้อ 4 มวลโมเลกุล K2Cr2O7 = 2(39) + 2(52) + 7(16)

= 78 + 104 + 112 = 294

Pb (NO3)2 จะมีมวลโมเลกุลมากที่สุด = 331

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 2 โมล

H 6.02x1023 อะตอม = 1 โมลอะตอม มวล H2O 1 โมลโมเลกุล = 18 กรัม

NO 6.02x1023 โมเลกุล = 1 โมลโมเลกุล

Na+ 6.02x1023 อิออน = 1 โมลอิออน

สูตรคำนวณ n = M

g = 6.02 1023

N

× = 22V.4 = .. 6.02 1023

..

× ×

เมื่อ n = จำนวนโมล , g = มวลสารที่มีอยู่ (กรัม)

M = มวลโมเลกุล หรือ มวลอะตอม , N = จำนวนโมเลกุล

V = ปริมาตรแก๊ส (dm3, Lit)

... = จำนวนอนุภาคย่อย

... = อัตราอนุภาคย่อยในโจทย์นั้น ๆ

1 โมล

จำนวนอนุภาค

6.02x1023 อนุภาค

มีมวลเท่ากับโมเลกุลหรือ

มวลอะตอม แต่มีหน่วยเป็นกรัม

แก๊สหรือไอที่มีปริมาตร 22.4

Lit(dm3) ที่ STP (1 atm, 0oC)

**1000 cm3 = 1 Lit**

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

4

7(มช 39) ข้อความใดที่ ไม่ใช่ เป็นสมบัติของก๊าซใดๆ ปริมาตร 22.4 dm3 ที่อุณหภูมิความดัน

มาตรฐาน

1. จำนวนโมล = 6.02x1023 โมล

2. มวล = มวลโมเลกุลคิดเป็นกรัม

3. จำนวนโมเลกุล = 6.02x1023 โมเลกุล

4. จำนวนโมเลกุลของก๊าซนี้เท่ากับจำนวนโมเลกุลของไฮโดรเจน (ข้อ 1)

7(มช 39) ตอบ ข้อ 1.

เหตุผล เพราะก๊าซ 22.4 ลิตร ที่ STP มีเพียง 1 โมลเท่านั้น ไม่ใช่ 6.02 x 1023 โมล

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

8. แก๊สโพรเพน (C3H8) จำนวน 22 กรัม ที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลิตร (11.2)

8. ตอบ 11.2

วิธีทำ มวลโมเลกุล (M) = 3(12) + 8(1) = 36 + 8 = 44

มวลสารที่มี (g) = 22 กรัม ปริมาตรแก๊ส (Vแก๊ส) = ?

จาก m

g = V22.4๊ส

Vแก๊ส = m

g x 22.4

= 4242 x 22.4 = 11.2

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

9. แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร 67.2 ลิตร ที่ STP จะมีกี่โมเลกุล (1.806x1024)

9. ตอบ 1.806 x 1024

วิธีทำ (Vแก๊ส) = 67.2 dm3 , N = ?

จาก 6.02 x 1023

N = 22.4

V

N = 22.4

67.2 x 6.02 x 1023

N = 1.806 x 1024 โมเลกุล

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

10. แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 0.2 กรัม มีปริมาตร 400 cm3 ที่ STP แก๊สชนิดนี้มีมวลโมเลกุลเท่าไร

1. 11.2 2. 16 3. 18 4. 20.5 (ข้อ 1)

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

5

10. ตอบ ข้อ 1

วิธีทำ โจทย์กำหนด g = 0.2 กรัม , Vแก๊ส = 1000

400 cm3 = 0.4 dm3 M = ?

จาก m

g = 22.4

V จะได้ M = V

g x 22.4

M = 0.4

0.2 x 22.4 = 11.2

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

11(มช 38) ก๊าซชนิดหนึ่งมีปริมาณ 448 cm3 ที่ STP มีมวล 0.60 กรัม ก๊าซนี้น่าจะได้แก่

1. NH3 2. CH4

3. C2 H6 4. CO2 (ข้อ 3)

11(มช 38) ตอบข้อ 3.

วิธีทำ โจทย์บอก Vแก๊ส = 448 Cm3 = 0.448 ลิตร , g = 0.60 กรัม

จาก m g = 22v.4

0m.6 = 0.44282 .4ิตร

m = 448 10 3

0.6(22.4 103)

×

× = 30

แสดงว่าสารนี้มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 30 ซึ่งน่าจะเป็น C2H6

เพราะ C2H6 มีมวลโมเลกุล = 2(12) + 6(1) = 30 เช่นกัน

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

12(มช 43) ถ้านักเรียนตักน้ำบริสุทธ์ิมา 2 cm3 น้ำนั้นจะมีจำนวนโมเลกุลเท่าใด

กำหนดให้ : ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ 1.0 g/cm3

1. 0.11 2. 36 3. 6.69x1022 4. 1.20x1024 (ข้อ 3)

12(มช 43) ตอบ ข้อ 3.

วิธีทำ มวลโมเลกุลของน้ำ ( H2O) = 18

และ น้ำ 2 cm3 จะมีมวล = 2 กรัม

จาก 6.02 1023

N m g

×

=

6.02 1023

128 N

×

=

N = 6.69 x 1023 โมเลกุล

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

6

13(มช 41) สาร A มีมวลโมเลกุล 64 ประกอบด้วย S และ O อย่างละเท่าๆ กัน โดยมวล ถ้า

สาร A 16 กรัม มีจำนวนอนุภาคเท่ากับสาร B 19 กรัม สาร B ควรเป็นสารอะไร

1. NO2 2. CS2

3. CO2

4. SO2

(ข้อ 2)

13(มช 41) ตอบ ข้อ 2.

วิธีทำ ตอน 1 คิดสาร A

จาก m g

6.02 1023

N =

×

6.02 1023 1664

N =

×

N = 0.25 x 6.02 x 1023

นั่นคือ จำนวนอนุภาคของ A = 4 x 6.02 x 1023

เนื่องจากจำนวนอนุภาคของ B เท่ากับ A นั่นคือ จำนวนอนุภาค B = 4 x 6.02 x 1023

ตอน 2 คิดสาร B

จาก m g

6.02 1023

N =

×

6.02 1023 1m9

0.25 x 6.02 x1023 =

×

mB = 76

ดังนั้น สาร B ควรเป็น CS2

เพราะ CS2 มีมวลโมเลกุล = 12 + 2(32) = 76 เช่นเดียวกับ B

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

14(มช 38) กรดแอซีติก 24 กรัม จะมีจำนวนออกซิเจนอะตอมอยู่ทั้งหมดเท่ากับ

1. 6.02 x 1023 อะตอม 2. 4.82 x 1023 อะตอม

3. 2.41 x 1023 อะตอม 4. 1.20 x 1023 อะตอม (ข้อ 2)

14(มช38) ตอบข้อ 2.

วิธีทำ กรดแอซีติก (CH3COOH ) มีมวลโมเลกุล = 12+3(1)+12+16+16+1 = 60

จาก 6.02 1023

N

× = m g

N = m g (6.02 x 1023)

N = 2604 (6.02 x 1023)

N = 2.41 x 1023 โมเลกุล2

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

7

ตอน 2 เนื่องจาก CH3COOH 1 โมเลกุล ประกอบด้วย O 2 อะตอม

ดังนั้น CH3COOH 2.41 x 1023 โมเลกุล ประกอบด้วย O 4.82 x 1023 อะตอม

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

15(มช 44) กำหนดให้ A = Na2S4O6 , B = Al2(SO4)3 , C = H4P2O7

ถ้าสารประกอบเหล่านี้มีมวลเท่ากันเท่ากับ 2 กรัม จงเรียงลำดับจำนวนอะตอมของ

ออกซิเจน ในโมเลกุลจากมากไปหาน้อย

1. A C B 2. C B A 3. B A C 4. A B C (ข้อ 2)

15(มช 44) ตอบ ข้อ 2.

วิธีทำ จาก อ... x 6.02 x 1023

.. = M

g

จะได้ จ... = M

g x ... x 6.02 x 1023

ตอน 1 Na2S4O6 1 โมเลกุล จะมี O 6 อะตอม

จำนวน O = 2270 x 6 x 6.02 x 1023

จำนวน O = 2.68 x 1022 อะตอม

ตอน 2 Al2(SO4)3 1 โมเลกุล จะมี O 12 อะตอม

จำนวน O = 3422 x 12 x 6.02 x 1023

จำนวน O = 4.22 x 1022 อะตอม

ตอน 3 H4P2O7 1 โมเลกุล จะมี O 7 อะตอม

จำนวน O = 1728 x 7 x 6.02 x 1023

จำนวน O = 4.73 x 1023 อะตอม

จะเห็นว่าจำนวนอะตอมออกซิเจนในสาร C > B > A

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

16(มช 39) ธาตุ A มีมวลอะตอมเท่ากับ 60.0 ทำปฏิกิริยากับธาตุ B ทำให้เกิดสารประกอบ AB2

ถ้า 2 กรัมของ A ทำปฏิกิริยากับ 8 กรัมของ B ได้สารประกอบ AB2 มวลอะตอมของ B คือ

1. 90 2. 120 3. 160 4. 190 (ข้อ 2)

16(มช 39) ตอบ ข้อ 2.

วิธีทำ จากสูตรโมเลกุลจะได้ว่า โมลB

โมลA = 21

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

8

ดังนั้น โมล B = 2 โมล A

mBgB

= mAA g

(2)

mB 8 = (2) 60 2

mB = 120

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

17(มช 49) เมื่อเผาธาตุ X จำนวน 5.00 กรัม จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารประกอบ X2O หนัก

6.74 กรัม ธาตุ X มีมวลอะตอมเท่าใด

1. 13.5 2. 23.0 3. 33.5 4. 39.1 (ข้อ 2)

17(มช 49) ตอบ ข้อ 2.

วิธีทำ จาก มวล X2O = 6.74 กรัม มีมวล X = 5.00 กรัม

จะมีมวล O = 6.74 - 5.00 = 1.74 กรัม (O = 16)

จาก X2O มีอัตราส่วน โมลO

โมลX = 12

จะได้ 1โมล X = 2 โมล O ; ⎥⎦

⎢⎣

=

m

n g

⎟⎠

⎜⎝

m

g X = 2 ⎟⎠

⎜⎝

m

g O

Mx 5 = 2 ⎟⎠

⎜⎝

16

1.74

ดังนั้น Mx = 23.0

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 3 ความเข้มข้นสารละลาย

1. ความเข้มข้นแบบร้อยละ

ร้อยละโดยมวลต่อมวล = มวลสารละลาย

มวลตัวถูกละลาย x 100

ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร = ปริมาตรสารละลาย

ปริมาตรตัวถูกละลาย x 100

ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร = ปริมาตรสารละลาย (cm3)

มวลตัวถูกละลาย (กรัม) x 100

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

9

2. โมลต่อลิตร (mol / dm3 ) (โมลาร์ลิตี้) (M)

สูตรที่ 1 ใช้สำหรับการเตรียมสารละลายโดยใส่ตัวถูกละลายลงในตัวทำละลาย

n = M

g = 6.02 x 1023

N = 22V.4 = 23 .. x 6.02 x 10

.. = 10c0v0

เมื่อ n = จำนวนโมลตัวถูกละลาย

g = มวลตัวถูกละลายที่มีอยู่ (กรัม)

M = มวลโมเลกุล หรือ มวลอะตอมตัวถูกละลาย

N = จำนวนโมเลกุลตัวถูกละลาย

V = ปริมาตรแก๊สซึ่งเป็นตัวถูกละลาย (dm3 , Lit)

... = จำนวนอนุภาคย่อยของตัวถูกละลาย

... = อัตราส่วนอนุภาคย่อยตัวถูกละลายในโจทย์

c = ความเข้มข้นของสารละลาย (mol / dm3)

v = ปริมาตรของสารละลาย (cm3)

สูตร 2 ใช้เมื่อทำการปรับเปลี่ยนความเข้มข้นและปริมาตรสารละลายเดิม

c1 v1 = c2 v2

เมื่อ c1 . c2 = ความเข้มข้นของสารละลายตอนแรก และ ตอนหลัง ตามลำดับ (mol/lit)

v1 . v2 = ปริมาตรของสารละลายตอนแรก และ ตอนหลัง ตามลำดับ

สูตร 3 ใช้เมื่อผสมสารละลายหลายตัวเข้าด้วยกัน

cรวม vรวม = c1 v1 + c2 v2 + …

เมื่อ c1 . c2 , cรวม = ความเข้มข้นของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และ สารละลายรวม ตามลำดับ

v1 . v2 , vรวม = ปริมาตรของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และ สารละลายรวม ตามลำดับ

การเปลี่ยนความเข้มข้น จากแบบร้อยละไปเป็นโมล/ลิตร

กรณีที่ 1 สูตรเปลี่ยนจากร้อยละ โดยมวล หรือ โดยปริมาตร เป็นโมล/ลิตร

c = %M10D

กรณีที่ 2 สูตรเปลี่ยนจากร้อยละ โดยมวล/ปริมาตร เป็น โมล/ลิตร

c = %M10

เมื่อ c = ความเข้มข้นเป็น โมล/ลิตร

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

10

D = ความหนาแน่นสารละลาย (g/cm3)

M = มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย

3. โมลต่อกิโลกรัมตัวถูกละลาย (mol/kg) (โมลแลล) (m)

บอกจำนวนโมลตัวถูกละลายที่มีในตัวทำละลาย 1 กิโลกรัม

เช่น สารละลาย ยูเรียเข้มข้น 3 mol/kg ตัวทำละลาย หมายความว่า

มียูเรีย 3 โมล ละลายในตัวทำละลาย 1 กิโลกรัม

สมการแสดงความสัมพันธ์ของความเข้มข้นแบบ โมล/ลิตร กับ โมแลล

D = c (1000 M + m 1 )

เมื่อ D = ความหนาแน่น (g/cm3)

c = ความเข้มข้น (โมล/ลิตร)

M = มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย

m = ความเข้มข้น (โมแลล)

18. เมื่อละลายน้ำตาลกลูโคส 30 กรัม ในน้ำกลั่น 120 กรัม จงหาว่าสารละลายนี้มีความเข้ม

ข้นโดยมวลเท่าใด (20%)

18. ตอบ 20%

วิธีทำ จาก ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร = มวลสารละลาย

มวลตัวถูกละลาย x 100

= 1203 +0 30 x 100

= 20

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

19(มช 39) จะต้องเติมน้ำตาลทรายกี่กรัม ลงในสารละลายน้ำตาลเข้มข้น 5% โดยมวล จำนวน

200 กรัม เพื่อให้ได้สารละลายเข้มข้น 20% โดยมวล (37.50 กรัม)

19(มช 39) ตอบ 37.5 กรัม

วิธีทำ ตอน1 สารละลายเข้มข้น 5% โดยมวล

ร้อยละโดยมวลต่อมวล = มวลสารละลาย

มวลตัวถูกละลาย x 100

5 = มวล20้ำ0ตาล x 100

มวลน้ำตาล = 10 กรัม

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

11

ทีนี้ ต้องการเปลี่ยนความเข้มข้นเป็น 20% โดยมวล สมมุติเติมน้ำตาลเข้าไปอีก X กรัม

สุดท้ายจึงมีสารละลาย 200 + X กรัม และมีน้ำตาล 10 + X กรัม

ร้อยละโดยมวลต่อมวล = มวลสารละลาย

มวลตัวถูกละลาย x 100

20 = 21000 + XX

+ x 100

X = 37.5 กรัม

⌫⌫⌦⌫⌦⌫ ⌫⌦ ⌫⌦ ⌫⌦ ⌫⌦⌫⌦⌦

20. เมื่อใช้ NaOH 20 กรัม เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวล/ปริมาตร จะได้

สารละลายกี่ cm3 (66.67 cm3)

20. ตอบ 66.67 cm3

วิธีทำ จากโจทย์ มวล NaOH = 20 กรัม

ความเข้มข้นโดยมว /ปริมาตร = 30%

จะได้ % โดยมวล/ปริมาตร = ปริมาตรสารละลาย (cm3)

มวลตัวถูกละลาย (กรัม) x 100

30 =

ปริมาตร

20 x 100

ดังนั้น ปริมาตรสารละลาย = 66.67 cm3

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

21. โพแทสเซียมแมงกาเนต ( K2MnO4 ) จำนวน 59.1 กรัม ละลายในสารละลาย 100 cm3

สารละลายนี้มีความเข้มข้นกี่ mol / dm3 ( K=39 , Mn=55 , O=16 ) (3 โมล/ลิตร)

21. ตอบ 3 โมล/ลิตร

วิธีทำ จากโจทย์ มวลโมเลกุล (M) = K2MnO4 = 2(39) + 55 + 4(16) = 197

g = 59.1 กรัม, V = 100 cm3 , C = ?

จากสูตร M

g = 1C0V00

5199.71 = C1 x0 01000

C = 3 โมล/ลิตร

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

12

22. เมื่อผ่านแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) 5.6 dm3 ที่ STP ลงในน้ำกลั่นเป็นสารละลาย 300

cm3 ถ้าได้แก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ละลายทั้งหมด จะได้สารละลายเข้มข้นกี่โมล / ลิตร ( 0.83 )

22. ตอบ 0.83 โมล/ลิตร

วิธีทำ จากโจทย์ Vแก๊ส = 5.6 dm3 , Vสารละลาย = 300 cm3 mol/l , C = ?

จากสูตร 22.4๊ส V

= 1C0V00

252..64 = C1 x0 03000

C = 0.83 โมล/ลิตร

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

23. มี NaOH 1 mol/dm3 อยู่ 500 cm3 แบ่งมา 100 cm3 ทำให้เจือจางเป็น 1 ลิตร สาร

ละลายนี้เข้มข้นเท่าใด ( 0.1 โมล/ลิตร )

23. ตอบ 0.1 โมล/ลิตร

วิธีทำ จากโจทย์ C1 = 1 mol/ dm3 V1 = 100 cm3

C2 = ? V2 = 1000 cm3

จะได้ C1 V1 = C2 V2

1 x 100 = C2 x 1000

C2 = 0.1 mol/dm3

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

24. สารละลายชนิดหนึ่ง 100 cm3 เข้มข้น 3 mol/dm3 ต้องการเตรียมให้เข้มข้นเป็น 2

mol/dm3 จะต้องเติมน้ำจนมีปริมาตรเท่าใด (150 cm3)

24. ตอบ 150 cm3

วิธีทำ จากโจทย์ V1 = 100 cm3 C1 = 3 mol/ dm3

V2 = ? C2 = 2 mol/ dm3

จะได้ C1 V1 = C2 V2

3 x 100 = 2 x V2

V2 = 150 cm3

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

13

25. ผสมสาระลายกรด HCl ขวดที่ 1 ซึ่งมีความเข้มข้น 1 mol/ dm3 จำนวน 300 cm3 กับ

HCl ขวดที่ 2 ซึ่งมีความเข้มข้น 2 mol/ dm3 จำนวน 200 cm3 แล้วเติมน้ำลงไปอีก 500

cm3 ถามว่าสารละลายผสมที่ได้จะมีความเข้มข้นกี่ mol/ dm3 ( 0.7 )

25. ตอบ 0.7 mol /dm3

วิธีทำ จากโจทย์ C1 = 1 mol/ dm3 V1 = 300 cm3

C2 = 2 mol/ dm3 V2 = 200 cm3

VH2O = 500 cm3 Cรวม = ?

จะได้ Vรวม = 300 + 200 + 500 = 1000 cm3

จากสูตร Cรวม Vรวม = C1 V1 + C2 V2

Cรวม (1000) = 1(300) + 2(200)

Cรวม = 1700000 = 0.7 mol/ dm3

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

26(มช 45) มีขวดบรรจุสารละลาย HCl 2 ใบ ใบที่ 1 มี HCl เข้มข้น 0.50 mol/dm3 อยู่ 5.0

dm3 ใบที่ 2 มี HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3 อยู่ 5.0 dm3 ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย

HCl เข้มข้น 0.20 mol/dm3 โดยการนำ HCl จากขวดใบที่ 1 มา 0.5 dm3 แล้วจะต้องนำ

HCl จากขวดใบที่ 2 จำนวนกี่ dm3 ( 1.5 )

26(มช 45) ตอบ 1.5 dm3

วิธีทำ จากโจทย์ C1 = 0.5 mol/dm3 V1 = 0.5 cm3

C2 = 0.1 mol/dm3 V2 สมมติเป็น A dm3

Cรวม = 0.2 mol/dm3 Vรวม = 0.5 + A dm3

จาก Cรวม Vรวม = C1 V1 + C2 V2

(0.2) (0.5 + A) = 0.5 (0.5) + 0.1 A

0.1 + 0.2 A = 0.25 + 0.1A

A = 1.5 dm3

แสดงว่า ต้องใช้สารจากขวดหลัง 1.5 dm3

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

27. เมื่อผสม NaCl 2 mol/dm3 จำนวน 10 cm3 กับ 4 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 แล้วเติม NaCl

อีก 175.5 g แล้วเติมน้ำจนมีปริมาตร 500 cm3 จงหาความเข้มข้นสารผสม (6.84 mol/dm3)

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

14

27. ตอบ 6.84 mol /dm3

วิธีทำ จากโจทย์ C1 = 2 mol/ dm3 V1 = 10 cm3

C2 = 4 mol/ dm3 V2 = 100 cm3

g3 = 175.5 กรัม => m

g = C1030V03

C3 V3 = 1000 x m

g

Cรวม = ? Vรวม = 500 cm3

จากสูตร Cรวม Vรวม = C1 V1 + C2 V2 + C3 V3

Cรวม (500) = 2(10) + 4(100) + 100 x m

g

Cรวม = 500 58.5

20 + 400 + 100 x 175.5

Cรวม = 6.84 mol/ dm3

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

28(มช 50) สารละลาย NaOH เข้มข้น 6.0 M มีความหนาแน่น 1.24 g/cm3 จะมีความเข้มข้น

คิดเป็นร้อยละโดยมวลเท่ากับเท่าไร

1. 0.15 2. 1.86 3. 19.35 4. 24.00 (ข้อ 3)

28(มช 50) ตอบ ข้อ 3

วิธีทำ จากโจทย์ C = 6 M , D = 12.4 g /cm3 % โดยมวล = ?

มวลโมเลกุลของ NaOH = 23 + 16 1 40

จาก C = % 1M0 D

จะได้ว่า 6 = 40

% (10) (12.4)

% โดยมวล = 19.35

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

29(มช 46) กรดเกลือเข้มข้นมีปริมาณ HCl = 36.5% โดยน้ำหนักและมีความหนาแน่นเท่ากับ

1.18 g/cm3 ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย HCl ที่มีความเข้มข้นเท่ากับ 0.236 mol/dm3

จะต้องนำกรดเกลือเข้มข้นกี่ cm3 มาเติมน้ำกลั่นจนมีปริมาตรทั้งหมดเท่ากับ 100.0 cm3 ( 2 )

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

15

29. ตอบ 2 cm3

วิธีทำ โจทย์บอก ความเข้มข้น HCl แบบ % โดยมวล = 36.5

มวลโมเลกุล HCl ( m ) = 35.5 + 1 = 36.5 , D = 1.18 g/cm3

ขั้นแรก ต้องทำความเข้มข้น HCl 36.5% ให้เป็น โมล / ลิตร ก่อน

จาก C = % ( 1m0 ) D = 36.5

36.5(10)(1.18) = 11.8 mol / dm3

ขั้น 2 จาก C1 V1 = C2 V2

11.8 V1 = 0.236 (100 cm3)

V1 = 2 cm3

นั่นคือต้องใช้สารละลาย HCl 2 cm3

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

30(มช 41) สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 36.5% โดยมวล มีความหนาแน่น 1.15 g/cm3

ถ้าต้องการเตรียมกรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้น 0.345 mol/dm3 จำนวน 500 cm3 จะ

ต้องใช้กรดไฮโดรคลอริกกี่ cm3 (H = 1 , Cl = 35.5)

1. 0.5 2. 1.5 3. 15 4. 150 (ข้อ 3)

30(มช 41) ตอบข้อ 3.

วิธีทำ ขั้นแรก ต้องทำความเข้มข้น HCl 36.5% ให้เป็น โมล / ลิตร ก่อน

จาก C = % ( 1m0 ) D = 36.5

36.5(10)(1.15) = 11.5 mol / dm3

ขั้น 2 จาก C1 V1 = C2 V2

11.5 V1 = 0.345 (500 cm3)

V1 = 15 cm3

นั่นคือต้องใช้สารละลาย HCl 15 cm3

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

31(มช 51) เมื่อใช้น้ำบริสุทธ์ิ 100 cm3 ที่ 4oC เตรียมสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความหนา

แน่น 1.175 g/cm3 ที่มีเนื้อกรดไฮโดรคลอริก 34.4% โดยน้ำหนัก จะเตรียมสารละลาย

กรดไฮโดรคลอริกได้กี่ cm3

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

16

ตอนที่ 4 สมบัติคอลลิเกตีฟ

สมการที่ใช้คำนวณเกี่ยวกับสมบัติคอลลิเกตีฟ

ΔT = Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทำละลาย = kb m

ΔT = Tแข็งตัวทำละลาย – Tแข็งสารละลาย = kf m

เมื่อ kb = ค่าคงที่การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด

kf = ค่าคงที่การลดของจุดเยือกแข็ง

m = ความเข้มข้นของสารละลายหน่วยเป็นโมลแลล

และ ΔT = Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทำละลาย = kb ( . M w2

w1. 1000

)

ΔT = Tแข็งตัวทำละลาย – Tแข็งสารละลาย = kf ( . M w2

w1. 1000

)

32(มช 39) สารประกอบที่ระเหยยาก และไม่แตกตัวมีมวล 5 กรัม เมื่อนำไปละลายน้ำ 500

กรัม ปรากฏว่าสารละลายที่ได้มีจุดเดือด 100.10oC มวลโมเลกุลของสารประกอบนี้มีค่า

เท่ากับ เท่าใด (กำหนด Kb ของน้ำ = 0.50o C/mol/kg) (50.00)

32(มช 39) ตอบ 50

วิธีทำ จาก Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทำละลาย = kb ⎟⎠

⎜⎝

×

×

W2 M

W1 1000

100.1 – 100 = 0.50(5501000M0) ×

×

M = 50

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

33(มช 42) ในการทดลองครั้งหนึ่ง เมื่อละลายสารA 2.76 g ในเอทานอล 10 g พบว่าสารละลาย

มีจุดเดือด 82.16oC จงหามวลโมเลกุลของสาร A (กำหนดให้ จุดเดือดของเอทานอลเท่ากับ

78.50oC ค่าคงที่ของการเพิ่มของจุดเดือด (Kb) ของเอทานอลเท่ากับ 1.22oC / (mol/kg)

33(มช 42) ตอบ 92

วิธีทำ จาก Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทำละลาย = kb ⎟⎠

⎜⎝

×

×

W2 M

W1 1000

m = มวลตัวทำละลาย(kg)

จำนวนโมลตัวถูกละลาย

หรือ m = . M w2

w1. 1000

เมื่อ w1 คือ มวลตัวถูกละลาย

w2 คือ มวลตัวทำละลา

M คือ มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

17

82.16 – 78.5 = 1.22 (2.7160 1M000) ×

×

M = 92

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

34(มช 36) สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยตัวทำละลายที่มีจุดเดือดอยู่ที่ 61.70o C และตัว

ถูกละลายที่มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 500 เมื่อนำเอาสารละลายนี้มาหาจุดเดือดปรากฏว่าได้จุด

เดือดอยู่ที่ 62.20o C จงหาว่าในสารละลายนี้ 100 กรัม จะมีตัวถูกละลายอยู่กี่กรัม

กำหนดค่า Kb ของตัวทำละลายเท่ากับ 5.00oC Kg/mol (4.76 )

34(มช 36) ตอบ 4.762 กรัม

วิธีทำ สมมุติ มีมวลตัวถูกละลายเป็น A กรัม

ดังนั้น มวลตัวทำละลาย = 100 – A กรัม

จาก Tเดือดสารละลาย – Tเดือดตัวทำละลาย = kb ⎟⎠

⎜⎝

×

×

W2 M

W1 1000

62.20 – 61.70 = 5.00 (10A0 A 1)0 0 0500

×

A = 4.762 กรัม

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

35(มช 40) ถ้าสารละลายซูโครส (C12H22O11) 342 กรัม ในน้ำ 1 กิโลกรัม มีจุดเยือกแข็ง

–1.8oC สารละลายที่มีซูโครส 114 กรัม ในน้ำ 500 กรัม จะมีจุดเยือกแข็งอยู่ที่กี่ oC

1. –1.0 2. –1.2 3. –1.6 4. –1.8 (ข้อ 2)

35(มช 40) ตอบข้อ 2.

วิธีทำ ตอนแรก จาก Tเยือกแข็งตัวทำ – Tเยือกแข็งสารละลาย = kf ⎟⎠

⎜⎝

×

×

W2 M

W1 1000

0 – (–1.8) = kf ( ) (1000)(342)

(342)(1000)

kf = 1.8

ตอนหลัง จาก Tเยือกแข็งตัวทำ – Tเยือกแข็งสารละลาย = kf ⎟⎠

⎜⎝

×

×

W2 M

W1 1000

0 – Tเยือกแข็งสารละลาย = 1.8( ) (500) (342)

(114) (1000)

Tเยือกแข็งสารละลาย = 1.2oc

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

18

36(มช 50) สารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลายและมีความเข้มข้นเป็น 0.100 โมลต่อกิโลกรัม มี

จุดเยือกแข็งเป็น –0.60 องศาเซลเซียส ตัวถูกละลายในสารละลายดังกล่าวจะเป็นสารใด

( กำหนดค่า Kf ของน้ำบริสุทธ์ิ 1.86oC/m)

1. MgCl2 2. CuSO4 3. LiCl 4. Na3 PO4 (ข้อ 4)

36(มช 50) ตอบข้อ 1.

วิธีทำ จากโจทย์ ความเข้มข้น (m) = 0.1 mol /Kg Tเยือกแข็งสารละลาย = - 0.6 oC

จะได้ = Tเยือกแข็งตัวทำละลาย – Tเยือกแข็งสารละลาย = kf mI

0 – (- 0.6) = (1.86)(0.1)I

I = 3.22

I 3

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 5 สูตรเคมี

37(มช 44) ถ้านำ C 6 กรัม รวมกับ H 1 กรัม และ S 8 กรัม จะได้สารประกอบชนิด

หนึ่งที่มีมวลโมเลกุล 180 กรัม สูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้ คือข้อใด

1. C6 H12 S3 2. C2 H4 S 3. C3 H6 S3 4. CH2 S (ข้อ 1)

37(มช 44) ตอบ ข้อ 1.

วิธีทำ ตอน 1 อัตราส่วนโดยมวล C : H : S = 6 : 1 : 8

อัตราส่วนโดยอะตอม C : H : S = 12 6 : 1 1 : 32 8

= 0.5 : 1 : 0.25

อัตราส่วนโดยอะตอม C : H : S = 2 : 4 : 1

ดังนั้น สูตรอย่างง่าย = C2H4S

ต่อไป (มวลจากสูตรอย่างง่าย) n = มวลโมเลกุล

(C2

H4S)n = 180

60 n = 180

n = 3

แสดงว่าสูตรโมเลกุล = (C2H4S)n = (C2H4S)3 = C6H12S3

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

19

38(มช 43) สารอย่างหนึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และคลอรีน จากการทดลองเมื่อ

นำสารนี้มา 125 กรัม วิเคราะห์พบว่ามี C อยู่ 48 กรัม และไฮโดรเจน 6 กรัม สูตร

เอมพิริคัลของสารนี้เป็นอย่างไร ( กำหนดให้ : C = 12 , H = 1 , Cl = 35.5 )

1. C2H3Cl 2. C8HCl12 3. C4H3Cl2 4. C4

H6Cl (ข้อ 1)

38(มช 43) ตอบข้อ 1.

วิธีทำ มวลสารทั้งหมด = 125 กรัม , มวล C = 48 กรัม , มวล = 6 กรัม

ดังนั้น มวลออกซิเจน O = 125 – 48 – 6 = 71

อัตราส่วน C : H : Cl = 48 : 6 : 71 โดยมวล

= 1428 : 16 : 3751.5 โดยอะตอม

= 4 : 6 : 2

C : H : Cl = 2 : 3 : 1

สูตรเอมพิริคัล คือ C2H3Cl

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

39(มช 39) ธาตุ A 2 อะตอม มีมวลเท่ากับ 1.824 x 10–22 กรัม สารประกอบของออกไซด์

ของ A ประกอบด้วย A 72.03% และออกซิเจน 27.97% โดยมวล สารประกอบนี้จะมี

สูตรอย่างง่ายเป็น ( กำหนดให้ 12 1 มวลของ C – 12 เท่ากับ 1.66x10–24 กรัม )

1. A2O3 2. A2O5 3. A3O4 4. AO2 (ข้อ 3)

39(มช 39) ตอบ ข้อ 3.

วิธีทำ ธาตุ A 2 อะตอม = 1.824 x 10–22 กรัม

ธาตุ A 1 อะตอม = 1824 10 22

2

. × − = 9.12 x 10–23 กรัม

ดังนั้น มวลอะตอม A = 9.12 10 23

166 10 24

× −

. × − = 55

ต่อไป หาสูตรอย่างง่าย

อัตราส่วนโดยมวล A : O = 72.03 : 27.97

อัตราส่วนโดยอะตอม = 72.03

55

27.97

: 16

= 1.309 : 1.748

= 1 : 1.33

= 3 : 4

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

20

ดังนั้น สารประกอบนี้จะมีสูตรอย่างง่ายเป็ น A3O4

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 6 การหามวลร้อยละจากสูตรโมเลกุล

สูตรการหามวลร้อยละของสาร จากสูตรโมเลกุล

ร้อยละของสาร =

มวลทั้งหมด

มวลสาร x 100

40. จงหามวลร้อยละของธาตุ O ใน CuSO4 . 5H2O (Cu = 63.5 , S = 32) (57.72%)

40. ตอบ 57.72%

วิธีทำ มวลโมเลกุล CuSO4 . 5H2O = 63.5 + 32 + 4(16) + 5[2(1) + 16]

= 249.5

จะได้มวล O = มวลทั้งหมด

มวล O x 100

= 214494.5 x 100 = 57.72

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

41. จากข้อที่ผ่านมา จงหามวลร้อยละของน้ำ ( 36.07%)

41. ตอบ 36.07%

วิธีทำ จากข้อที่ผ่านมา มวล CuSO4 . 5H2O = 249.5

มวล H2O = 5(18) = 90

ดังนั้น % มวล H2O = มวลทั้งหมด

มวล H2O

x 100

= 24990.5 x 100 = 36.07

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

42(มช 35) สารประกอบอย่างหนึ่งมีสูตรเป็น X2CO3 . 10 H2O จากการทดลองพบว่า มีมวล

น้ำผลึกทั้งหมด 60% มวลอะตอมของ X เท่ากับเท่าใด (C=12 , O=16 , H=1) (30.00)

42(มช 35) ตอบ 30

วิธีทำ สมมติ X มีมวลอะตอม = A

ดังนั้น X2CO3 . 10H2O มีมวลโมเลกุล = 2A + 12 + 48 + 180 = 2A + 240

และ ในโมเลกุลจะมีน้ำอยู่ = 10H2O = 10 (18) = 180

ทีนี้โจทย์บอก X2CO3 . 10H2O มี H2O = 60%

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

21

จาก ร้อยละของน้ำ = มวลทั้งหมด

มวลน้ำ x 100

60 = 2A1 +80 240 x 100

A = 30

นั่นคือ X มีมวลอะตอม = 30

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

43(มช 40) สาร A เป็นสารบริสุทธ์ิ โดยใน 1 โมเลกุลของสารนี้ประกอบด้วยคาร์บอน 27

อะตอม คิดเป็นร้อยละโดยมวลของคาร์บอนเท่ากับ 80.50 อยากทราบว่าสาร A มีมวล

โมเลกุลเท่าไร

1. 348.3 2. 402.5 3. 430.3 4. 490.8 (ข้อ 2)

43(มช 40) ตอบข้อ 2.

วิธีทำ สมมุติสารประกอบนี้มีคาร์บอน 27 อะตอม

ดังนั้นเฉพาะมวลคาร์บอน = 27 x 12 = 324

จาก ร้อยละของคาร์บอน = มวลโมเลกุล

มวลคาร์บอน x 100

80.5 = m 324 x 100

m = 402.5

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 7 สมการเคมี

44. จงดุลสมการเคมีต่อไปนี้โดยใช้วิธีตรวจพินิจ

1. Fe2O3 + H2 Fe + H2O ( Fe2 O3 + 3H2 2Fe + 3 H2O )

2. Fe2O3 + C Fe + CO2 ( 2Fe2 O3 + 3C 4Fe + 3CO2 )

3. PCl5(l) + H2O(l) H3PO4(aq) + HCl(aq) ( PCl5(l) + 4H2O(l) H3PO4 (aq) + 5HCl(aq) )

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

22

45. ในการเผา KClO3 จะเกิดปฎิกิริยาดังนี้

2KClO3 2KCl + 3O2 (K = 39.1 , Cl = 35.5 , O = 16)

ถ้าเผา KClO3 จำนวน 12.26 กรัม จะได้แก๊ส O2 กี่ลิตรที่ STP (3.36 ลิตร)

45. ตอบ 3.36 ลิตร

วิธีทำ จากสมการ 2KClO3 2KCl + 3O2

จะเห็นได้ว่า 32

โมล O3

โมล KClO3

=

และเนื่องจาก 3โมล KClO3 = 2โมล O2

3 ( m g )KClO3 = 2( 22.4๊ส V

)O2

3 ( 1122.22.66 ) = 2( 22.4๊ส V

O2)

Vแก๊ส O2 = 3.36 ลิตร

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

46(มช 42) ปฏิกิริยาระหว่าง X กับ Y เป็นไปตามสมการ 2X + 3Y 2A + 3B

ถ้าใช้สารละลาย X 100 cm3 ซึ่งเตรียมจากสาร X 0.20 กรัม ละลายน้ำจนเป็นสารละลาย

100 cm3 จะทำปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย Y ที่มีความเข้มข้น 0.10 mol/dm3 จำนวน

20 cm3 จงหามวลโมเลกุลของสาร X ( 150 )

46(มช 42) ตอบ 150

วิธีทำ จาก 2 X + 3Y 2 A + 3 B

จะเห็นว่า 32

โมล Y

โมล X =

และเนื่องจาก 3 โมล X = 2 โมล Y

3 ( m g ) = 2 (1C0V00 )

1000

3 0m.2 = 2(0.1)20

m = 150

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

23

47(มช 38) สมการแสดงปฏิกิริยาการเผาไหม้ของสาร A อย่างสมบูรณ์ เขียนได้ดังนี้

2 A + 17 O2 12 CO2 + 10 H2O

สูตรโมเลกุลของสาร A ควรเป็นแบบใด

1. C4H6 2. C4

H10 3. C6

H10 4. C6H12 (ข้อ 3)

47(มช 38) ตอบ 3

วีธีทำ จากสมการ 2A + 17O2 12CO2 + 10H2O

จะได้ว่า 2(CxHy)+ 10H2O 12CO2 + 10H2O

จาก 12CO2 + 10H2O มี C = 12 ตัว H = 20 ตัว

2(C6H10)+ 17O2 12CO2 + 10H2O

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

48(มช 47) การแยกตกตะกอนของเงินออกจากสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตทำได้โดยการเติมกรด

เกลือลงไป ซึ่งจะทำให้เกิดปฏิกิริยาได้ตะกอนของ ซิลเวอร์คลอไรด์ ดังนี้คือ

AgNO3(aq) + HCl(aq) AgCl(s) + HNO3(aq)

หากต้องการใช้สารละลายกรดเกลือที่มีความเข้มข้นเท่ากับ 37% โดยน้ำหนัก และมีความ

หนาแน่นเท่ากับ 1.017 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ในการตกตะกอนของซิลเวอร์คลอไรด์

จากสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตความเข้มข้น 0.50 โมลต่อลิตร ปริมาตร 25.00 ลูกบาศก์

เซนติเมตรอย่างสมบูรณ์ จะต้องใช้สารละลายกรดเกลืออย่างน้อยกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (1.21)

48(มช 47) ตอบ 1.21 cm3

วิธีทำ ตอน 1 โจทย์บอก % HCl = 37 , DHCl = 1.017 g / cm3

หาความเข้มข้นเป็นโมลต่อลิตร โดย

จาก C = % ( 1m0 ) D = 36.5

37(10)(1.017) = 10.3 mol / dm3

ตอน 2 จากปฏิกิริยา Ag NO3 + HCl AgCl + HNO3

จะได้ว่า โมล AgNO3 = โมล HCl

( )

1000 AgNO3 cv = (10c0v0)HCl

(0.5) (25) = 10.3 VHCl

VHCl = 1.21 cm3

นั่นคือปริมาตร HCl เท่ากับ 1.21 ลูกบาศก์เซนติเมตร

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

24

49(มช 36) สารละลายที่มี CaCl2 ถูกเติมลงในสารละลายของ AgNO3 เตรียมสารละลาย

AgNO3 โดยละลาย Ag 2.16 กรัม ลงในกรดไนตริก จงหามวลเป็นกรัมของแคลเซียม

คลอไรด์ในสารละลาย ถ้าแคลเซียมคลอไรด์ทั้งหมดทำปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย AgNO3

เกิด AgClปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมีดังนี้ ( สมการยังไม่ได้ดุล )

(1) Ag(s) + HNO3 (aq) AgNO3 (aq) + NO2 (g) + H2 O(1)

(2) AgNO3 (aq) + CaCl2 (aq) AgCl(s) + Ca(NO3 )2 (aq)

(ใช้ Ag = 108 , Ca = 40 , Cl = 35.5) (1.11)

49(มช 36) ตอบ 1.11 กรัม

วิธีทำ เมื่อดุลสมการจะได้

2Ag + 4HNO3 2AgNO3 + 2NO2 + 2H2O

2AgNO3 + CaCl2 2AgCl + Ca(NO3)2

จะเห็นว่าใน 2 สมการนี้ มีจำนวน AgNO3 เท่ากันแล้ว จึงไม่ต้องปรับแต่งอีก

จากสมการจะได้ 12

โมล CaCl2

โมล Ag =

โมล Ag = 2 โมล CaCl2

( m g )เงิน = 2 (m g )แคลเซียมคลอไรด์

( 21.0186 )เงิน = 2 (111

g )แคลเซียมคลอไรด์

gแคลเซียมคลอไรด์ = 1.11 กรัม

นั่นคือมวล CaCl2 ที่ใช้ คือ 1.11 กรัม

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

50(มช 47) ในการทดลองครั้งหนึ่งได้นำโลหะแคลเซียมหนัก 0.65 กรัม ใส่ลงไปในสาร

ละลายกรดเกลือที่มีความเข้มข้น 3.50 โมลต่อลิตร ปริมาตร 8.0 cm3 พบว่ามีก๊าซไฮโดรเจน

เกิดขึ้นดังปฏิกิริยาต่อไปนี้ Ca(s) + HCl(aq) CaCl2(aq) + H2 (g) จงคำนวณ

หาปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นในหน่วยลิตรที่สภาวะ STP

1. 0.31 2. 0.36 3. 0.63 4. 0.72 (ข้อ 1)

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

25

50(มช 47) ตอบข้อ 1.

วิธีทำ ก่อนอื่นต้องหา หาสัดส่วนของ

โมลที่ใช้

โมลที่มี

สัดส่วน Ca = 1ที่มี

n

= 1

(g/m) = 1

(0.65/40) = 0.01625

สัดส่วน HCl = 2ที่มี

n

= 2

(cv/1000) = 2

3.5(8)/1000 = 0.014

จะเห็นว่าสัดส่วน HCl มีน้อยกว่า แสดงว่า HCl จะถูกใช้จนหมด

การคำนวณหา H2(g) ต่อไปจึงต้องคิดจาก HCl

จากสมการที่ดุลแล้ว Ca(s) + 2 HCl(aq) CaCl2(aq) + H2(g)

จะได้ โมล HCl = 2 โมล H2

10cv00 = 2 22๊า.4 V

1000

3.5(8) = 2 V22๊า.4

Vก๊าซ = 0.3136 ลิตร

นั่นคือ จะเกิดก๊าซไฮโดรเจน 0.31 ลิตร โดยประมาณ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

51(มช 49) จากปฏิกิริยา 2 AgNO3(aq) + BaCl2(aq) 2 AgCl(s) + Ba(NO3)2(aq)

ถ้าใช้ AgNO3 5.10 กรัม ทำปฏิกิริยากับ BaCl2 2.08 กรัม จะได้ AgCl กี่กรัม

1. 1.44 2. 2.87 3. 3.58 4. 4.30 (ข้อ 2)

52(มช 50) ถ้านำสารละลาย Na2CO3 เข้มข้น 1.00 mol/dm3 ปริมาตร 250.00 cm3 ซึ่งหนัก

276.50 กรัม มาผสมกับสารละลาย HCl เข้มข้น 2.00 mol/dm3 ปริมาตร 200.00 cm3

ซึ่งหนัก 214.60 กรัม จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ

Na2CO3(aq) + HCl(aq) NaCl(aq) + H2O(l) + CO2(g) (ยังไม่ดุล)

หลังจากทิ้งไว้จนฟองแก๊สหมด สารละลายผสมที่ได้มีมวลเป็นเท่าไร (481.7)

53(มช 50) ในการทดลองเตรียมแก๊ส NO จากปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส NH3 กับ แก๊ส O2

ดังสมการ 4 NH3(g) + 5O2(g) 6 H2O(g) + 4 NO(g) ถ้าผสมแก๊ส NH3

ปริมาตร 5.00 ลิตรที่ STP และแก๊ส O2 5.00 ลิตร ที่ STP เข้าด้วยกัน พบว่าเมื่อ

ปฏิกิริยาสิ้นสุด ได้แก๊ส NO คิดเป็นน้ำหนัก 4.50 กรัม จงหาผลได้ร้อยละ (83.96)

Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1

26

ตอนที่ 8 ปริมาณสารสัมพันธ์ของแก๊ส

54(มช 44) ธาตุ Y จำนวน 4 โมล ทำปฏิกิริยากับ O2 (g) 67.2 ที่ STP เกิดเป็นสารประกอบ

Z 2 โมล เพียงอย่างเดียวหนัก 272 กรัม ธาตุ Y มีมวลอะตอมเท่าใด ( 44 )

55(มช 46) ธาตุ A จำนวน 5 โมล ทำปฏิกิริยาพอดีกับก๊าซออกซิเจน 89.6 ลิตร ที่ STP

เกิดเป็นสารประกอบ X ชนิดเดียว 3 โมล หนัก 338.0 กรัม ธาตุ A มีมวลอะตอมกี่กรัม ( 42)

56. กำหนดปฏิกริยา 4 X2(g) + 7 Y2(g) 2 X4Y7 (g)

ถ้าใช้ Y2 28 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทำปฏิกิริยากับ X2 ปริมาณมากเกินพอที่อุณหภูมิ และ

ความดันเดียวกัน จะเกิดแก๊ส X4Y7 กี่ลูกบาศก์ เซนติเมตร ( 8 )

57. นำ H2 และ O2 อย่างละ 4 dm3 มาทำปฏิกิริยากันที่อุณหภูมิ 100oC ดังสมการ

2H2

(g) + O2 (g) 2H2O(g)

เมื่อปฏิกิริยาเกิดอย่างสมบูรณ์ จะมีแก๊สในระบบเท่าใด (6 dm3)__