งาน วิจัย สมุนไพร กำจัด ศัตรู พืช

ชื่อเรื่อง

การทดสอบประสิทธิภาพของสมุนไพรกับสารฆ่าแมลงต่อเพลี้ยไฟ

ชื่อหนังสือ

รายงานค้นคว้าวิจัยประจำปี 2533

ประเภทเอกสาร

บทความในหนังสือ

หน่วยงานจัดพิมพ์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หมวดรอง

F60-ชีวเคมีของพืช

ดรรชนี-ไทย

เพลี้ยไฟ;ข้าวโพดหวาน;สมุนไพร;สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช;ประสิทธิภาพ

บทคัดย่อ

ปลูกข้าวโพดหวานที่ฟาร์มสุวรรณ จังหวัดนครราชสีมา เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของสมุนไพรและสารเคมีฆ่าแมลงต่อเพลี้ยไฟข้าวโพด สิ่งทดลองประกอบด้วยหางไหลแดง 0.05 เปอร์เซ็นต์, บรเพ็ด 5 เปอร์เซ็นต์, เมล็ดสะเดา 5 เปอร์เซ็นต์, ตะไคร้หอม 5 เปอร์เซ็นต์, ข่าแก่ 5 เปอร์เซ็นต์, ตะไคร้หอม+ข่าแก่ 2.5+2.5 เปอร์เซ็นต์, ยาสูบ 13.5 เปอร์เซ็นต์, มาลาไธออน 0.04 เปอร์เซ็นต์, คาร์โบซัลแฟน 0.11 เปอร์เซ็นต์ และปกติสำหรับฤดูฝนปรากฏว่าหางไหลแดงให้ผลดีที่สุด พบเพลี้ยไฟ 26 ตัวต่อ 10 ต้น รองลงไปได้แก่ ยาสูบ มาลาไธออน คาร์โบซัลแฟน ตะไคร้หอม บรเพ็ด เมล็ดสะเดา และแตกต่างกับข่าแก่และตะไคร้หอม+ข่าแก่ หลังจากการพ่นสารฆ่าแมลง 1 วัน สำหรับ 3 วัน และ 7 วัน หลังพ่นสารไม่แตกต่างกันแต่ที่ 7 วัน จึงพบเพลี้ยไฟจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีปริมาณสูง สำหรับฤดูแล้ง ปรากฏว่า ยาสูบให้ผลดีที่สุด พบจำนวนเพลี้ยไฟ 9 ตัวต่อ 10 ต้น รองลงไปได้แก่มาลาไธออน คาร์โบซัลแฟน เมล็ดสะเดา หางไหลแดง บรเพ็ด ตะไคร้หอม+ข่าแก่ และข่าแก่ และแตกต่างกับข่าแก่และตะไคร้หอม หลังจากพ่นสาร 1 วัน สำหรับ 3 วันนั้น ข่าแก่ให้ผลดีที่สุด โดยมีจำนวนเพลี้ยไฟ 20 ตัว ต่อ 10 ต้น รองลงไปได้แก่ มาลาไธออน ยาสูบ คาร์โบซัลแฟน เมล็ดสะเดา ตะไคร้หอม บรเพ็ด ตะไคร้หอม+ข่าแก่ และแตกต่างกับหางไหลแดง ส่วนที่ 7 วันนั้น ไม่มีผลแตกต่างกัน จำนวนเพลี้ยไฟอยู่ระหว่าง 22-44 ตัวต่อต้น

ผู้แต่ง (สังกัด)

[1] สมชาย อิสิชัยกุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชากีฏวิทยา)
[2] สว่าง เจริญยิ่ง

APA


สมชาย อิสิชัยกุล และ สว่าง เจริญยิ่ง. (2533). รายงานค้นคว้าวิจัยประจำปี 2533. การทดสอบประสิทธิภาพของสมุนไพรกับสารฆ่าแมลงต่อเพลี้ยไฟ. (น. หน้า 112). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.


n.p.. (1990). (pp. หน้า 112). n.p..

Chicago


สมชาย อิสิชัยกุล และ สว่าง เจริญยิ่ง. การทดสอบประสิทธิภาพของสมุนไพรกับสารฆ่าแมลงต่อเพลี้ยไฟ. ใน: รายงานค้นคว้าวิจัยประจำปี 2533. น. หน้า 112. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2533.


n.p.. ใน: pp. หน้า 112. n.p., 1990.

MLA


สมชาย อิสิชัยกุล และ สว่าง เจริญยิ่ง. "การทดสอบประสิทธิภาพของสมุนไพรกับสารฆ่าแมลงต่อเพลี้ยไฟ." รายงานค้นคว้าวิจัยประจำปี 2533, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2533. 112.


n.p.. "." , n.p., 1990. 112.

Vancouver


สมชาย อิสิชัยกุล และ สว่าง เจริญยิ่ง. การทดสอบประสิทธิภาพของสมุนไพรกับสารฆ่าแมลงต่อเพลี้ยไฟ. ใน: รายงานค้นคว้าวิจัยประจำปี 2533. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; 2533. น. หน้า 112.


n.p.. In: n.p.; 1990. pp. หน้า 112.

จำนวนการเข้าชมและการดาวน์โหลด

จำนวนผู้เข้าชม
369
วันนี้0
สัปดาห์นี้9
เดือนนี้31

Cited by Google Scholar
-

ชื่อเรื่อง

สารประกอบในพืชสมุนไพรบางชนิดที่มีฤทธิ์กำจัดศัตรูพืชในประเทศไทย: โครงการย่อยที่ 1

Article title

Bioactive substances for pest control from high potential medicinal plants in Thailand

ชื่อหนังสือ

รายงานการวิจัย นิเวศวิทยาของสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร

Book Title

Chemical ecology in agriculture

ประเภทเอกสาร

บทความในหนังสือ

หน่วยงานจัดพิมพ์

กรมวิชาการเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หมวดรอง

F60-ชีวเคมีของพืช

อรรถาภิธาน-อังกฤษ

DRUG PLANTS;AGLAIA;ACANTHACEAE;SCHEFFLERA;CYMBOPOGON;PLANT EXTRACTS;PESTS;PEST INSECTS;PLANT DISEASES;INGREDIENTS;INSECTICIDES;REPELLENTS;ANTIFEEDANTS;PEST CONTROL;DISEASE CONTROL;EFFICIENCY

ดรรชนี-ไทย

พืชสมุนไพร;แมลงศัตรูพืช;โรคพืช;ชนิด;สารออกฤทธิ์;ประสิทธิภาพ;การป้องกันกำจัด

บทคัดย่อ

พืชสมุนไพร 4 ชนิด ที่ได้รับการคัดเลือกมาจากการทดสอบเบื้องต้นมาก่อนว่ามีแนวโน้มว่ามีฤทธิ์ในการกำจัดแมลงศัตรูพืช ซึ่งได้แก่ ประยงค์, Aglaia orodata L.ฟ้าทะลายโจร Andrographis paniculata Wall ex Nees.หนุมานประสานกาย, Schefflera venulosaและ ตะไคร้หอม, Cymbopogon nardus L. นั้น ได้ถูกนำมาศึกษาถึงฤทธิ์ที่จะนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการฆ่าแมลง (insectidal action) ด้านการไล่แมลง (repellant action) และการหย่าอาหารแมลง (antifeeding action) รวมถึงประโยชน์ในด้านการกำจัดโรคของพืช (Fungicidal action) โดยการทดสอบกับหนอนใยผัก, Plutella xylostella L., และกับโรคพืชที่สำคัญอีก 21 ชนิด ได้แก่ โรคที่สำคัญคือ Alternaria sp., Aspergillus sp., Macrophomina sp. Colletotrichum sp. Fusarium sp., Phomopsis sp., Phytophthora sp. และ Sclerotium sp. เป็นต้น อย่างไรก็ดีผลการศึกษาปรากฏว่าคุณสมบัติของสารที่สกัดหยาบจากพืชดังกล่าวมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันไป สารออกฤทธิ์ที่ค่อนข้างจะแยกได้เกือบบริสุทธิ์จากต้นประยงค์มีฤทธิ์ในการหย่าอาหารของแมลงได้ดีและยังมีคุณสมบัติอื่นๆ เช่น ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราหลายๆ ชนิดได้ เช่น เดียวกับสารสกัดจากตะไคร้หอม และ หนุมานประสานกาย การใช้เทคนิคทางด้านเคมีโดยใช้ silica gel column chromatography แยกส่วนของสารเกือบจะได้สารที่บริสุทธิ์ก็เป็นหลักฐานที่ให้เห็นถึงความเป็นไปได้ของการดำเนินงานด้านนี้ต่อไป โดยเฉพาะในด้านสารที่ฤทธิ์กำจัดโรคพืชก็คงต้องมีการแยกส่วนของสารต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบในสารสกัดหยาบเพื่อค้นหาสารที่ออกฤทธิ์จริงๆ ต่อไป

Abstract

Four candidate medicinal plants were collected from the cultivated area for the base line study of the bioactive principles contained in the crude extract. These medicinal plants are, Prayong, Aglaia orodata L.Fatalaichon, Andrographis paniculata Wall ex Nees.Hanuman Prasarnkai, Schefflera venulosa and Takrai Horm, Cymbopogon nardus. The diamondback moth, Plutella xylostella, the key pest of crucifeous crop was used as the test material throughout the course of study. The key pathogenic fungi were supplied as test material, for instances Alternaria sp., Aspergillus sp., Colletotrichum sp., Fusarium sp., Marophomina sp., Aspergillus sp., Colletotrichum sp., Fusarium sp., Macrophomina sp., Phytophthora sp. and Sclerotium sp. etc. The result of study showed the variation of action. The active ingredient in Prayong plant is partially purified form its activity of antifeeding as well as the the growth inhibitor of several pathogenic funi in the same manner of the active principles from Takrai Horm and Hanuman Prasarnkai.

Item no.

TAB420602;KU0130008

ผู้แต่ง (สังกัด)

[1] Tadami Akatsuka (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชากีฎวิทยา)
[2] Kanju Ohsawa
[3] Izuru Yamamoto
[4] ดำหริห์ รุ่งสุข
[5] อำไพวรรณ ภราดร์นุวัฒน์
[6] พัฒนา อนุรักษ์พงศธร
[7] สุดฤดี ประเทืองวงศ์
[8] วิไล สันติโสภาศรี
[9] จิรายุพิน จันทรประสงค์
[10] เนื่องพณิช สินชัยศรี

เพิ่มเติม

แสดงน้อยลง

APA


Tadami Akatsuka, Kanju Ohsawa, Izuru Yamamoto, ดำหริห์ รุ่งสุข, อำไพวรรณ ภราดร์นุวัฒน์, พัฒนา อนุรักษ์พงศธร, สุดฤดี ประเทืองวงศ์, วิไล สันติโสภาศรี, จิรายุพิน จันทรประสงค์ และ เนื่องพณิช สินชัยศรี. (2535). รายงานการวิจัย นิเวศวิทยาของสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร. สารประกอบในพืชสมุนไพรบางชนิดที่มีฤทธิ์กำจัดศัตรูพืชในประเทศไทย: โครงการย่อยที่ 1. (น. ส่วนที่ 1: 1-37). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


Vilai Santisopasri, Chirayuphin Chandraprasong & Neungpanich Sinchaisri. (1992). Chemical ecology in agriculture. Bioactive substances for pest control from high potential medicinal plants in Thailand. (pp. ส่วนที่ 1: 1-37). Chulalongkorn Univ., Bangkok (Thailand).

Chicago


Tadami Akatsuka, Kanju Ohsawa, Izuru Yamamoto, ดำหริห์ รุ่งสุข, อำไพวรรณ ภราดร์นุวัฒน์, พัฒนา อนุรักษ์พงศธร, สุดฤดี ประเทืองวงศ์, วิไล สันติโสภาศรี, จิรายุพิน จันทรประสงค์ และ เนื่องพณิช สินชัยศรี. สารประกอบในพืชสมุนไพรบางชนิดที่มีฤทธิ์กำจัดศัตรูพืชในประเทศไทย: โครงการย่อยที่ 1. ใน: รายงานการวิจัย นิเวศวิทยาของสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร. น. ส่วนที่ 1: 1-37. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535.


Vilai Santisopasri, Chirayuphin Chandraprasong & Neungpanich Sinchaisri. Bioactive substances for pest control from high potential medicinal plants in Thailand. ใน: Chemical ecology in agriculture. pp. ส่วนที่ 1: 1-37. Bangkok (Thailand): Chulalongkorn Univ., Bangkok (Thailand), 1992.

MLA


Tadami Akatsuka, Kanju Ohsawa, Izuru Yamamoto, ดำหริห์ รุ่งสุข, อำไพวรรณ ภราดร์นุวัฒน์, พัฒนา อนุรักษ์พงศธร, สุดฤดี ประเทืองวงศ์, วิไล สันติโสภาศรี, จิรายุพิน จันทรประสงค์ และ เนื่องพณิช สินชัยศรี. "สารประกอบในพืชสมุนไพรบางชนิดที่มีฤทธิ์กำจัดศัตรูพืชในประเทศไทย: โครงการย่อยที่ 1." รายงานการวิจัย นิเวศวิทยาของสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535. ส่วนที่ 1: 1-37.


Vilai Santisopasri, Chirayuphin Chandraprasong & Neungpanich Sinchaisri. "Bioactive substances for pest control from high potential medicinal plants in Thailand." Chemical ecology in agriculture, Chulalongkorn Univ., Bangkok (Thailand), 1992. ส่วนที่ 1: 1-37.

Vancouver


Tadami Akatsuka, Kanju Ohsawa, Izuru Yamamoto, ดำหริห์ รุ่งสุข, อำไพวรรณ ภราดร์นุวัฒน์, พัฒนา อนุรักษ์พงศธร, สุดฤดี ประเทืองวงศ์, วิไล สันติโสภาศรี, จิรายุพิน จันทรประสงค์ และ เนื่องพณิช สินชัยศรี. สารประกอบในพืชสมุนไพรบางชนิดที่มีฤทธิ์กำจัดศัตรูพืชในประเทศไทย: โครงการย่อยที่ 1. ใน: รายงานการวิจัย นิเวศวิทยาของสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2535. น. ส่วนที่ 1: 1-37.


Vilai Santisopasri, Chirayuphin Chandraprasong & Neungpanich Sinchaisri. Bioactive substances for pest control from high potential medicinal plants in Thailand. In: Chemical ecology in agriculture. Bangkok (Thailand): Chulalongkorn Univ., Bangkok (Thailand); 1992. pp. ส่วนที่ 1: 1-37.

จำนวนการเข้าชมและการดาวน์โหลด

จำนวนผู้เข้าชม
596
วันนี้3
สัปดาห์นี้10
เดือนนี้19

Cited by Google Scholar
-