โครงสร้างวิทยาศาสตร์ ป.4 หลักสูตรใหม่

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUserĉโครงสร้างการเรียนรู้วิทยาศาสตร์-ป.2รร.บ้านโป่งน้อย (1).docx
ดู ดาวน์โหลด38 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1โรงเรียนบ้านโป่งน้อย bpnschoolĉวิทยาศาสตร์ ป.1.doc
ดู ดาวน์โหลด159 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1โรงเรียนบ้านโป่งน้อย bpnschoolĉวิทยาศาสตร์ ป.3.doc
ดู ดาวน์โหลด212 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1โรงเรียนบ้านโป่งน้อย bpnschoolĉวิทยาศาสตร์ ป.4.docx
ดู ดาวน์โหลด32 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1โรงเรียนบ้านโป่งน้อย bpnschoolĉวิทยาศาสตร์ ป.5.docx
ดู ดาวน์โหลด37 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1โรงเรียนบ้านโป่งน้อย bpnschoolĉวิทยาศาสตร์ ป.6.docx
ดู ดาวน์โหลด35 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1โรงเรียนบ้านโป่งน้อย bpnschoolĉวิทยาศาสตร์ ม.1.docx
ดู ดาวน์โหลด46 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1โรงเรียนบ้านโป่งน้อย bpnschoolĉวิทยาศาสตร์ ม.2.docx
ดู ดาวน์โหลด44 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1โรงเรียนบ้านโป่งน้อย bpnschoolĉวิทยาศาสตร์ ม.3.docx
ดู ดาวน์โหลด48 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1โรงเรียนบ้านโป่งน้อย bpnschool

มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต  ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้  สื่อสารสิ่งทีเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

1.ทดลองและอธิบายหน้าที่ของท่อลำเลียง

   และปากใบของพืช

2.อธิบายน้ำ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

   แสงและคลอโรฟิลล์  เป็นปัจจัยที่จำเป็น

   บางประการต่อการเจริญเติบโต และการ

   สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

3.ทดลองและอธิบายการตอบสนองของ

   พืช ต่อแสง  เสียง และการสัมผัส

4.อธิบายพฤติกรรมของสัตว์  ที่ตอบ

   สนองต่อแสง  อุณหภูมิ  การสัมผัสและ

   นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

-ภายในลำต้นของพืชมีท่อลำเลียงเพื่อลำเลียงน้ำและอาหาร และในใบมีปากใบทำหน้าที่คายน้ำ

-ปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตและการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ได้แก่  น้ำ  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แสงและคลอโรฟิลล์

-พืชมีการตอบสนองต่อแสง เสียง และการสัมผัสซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมภายนอก

-พฤติกรรมของสัตว์ เป็นการแสดงออกของสัตว์ในลักษณะต่างๆ เพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า เช่น แสง  อุณหภูมิ  การสัมผัส

-นำความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมของสัตว์ไปใช้ประโยชน์ในการจัดสภาพแวดล้อม  ให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตของสัตว์และเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร

สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต  ความหลากหลายทางชีวภาพ  การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต  ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ  การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น  ประเทศ และโลก นำความรู้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร  ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะของสาร  การเกิดสารละลาย  การเกิดปฏิกิริยาเคมี  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า  แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ 

มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้อง

และมีคุณธรรม

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ  มีกระบวนการ

สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

สาระที่ 5 : พลังงาน

มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต  การเปลี่ยนรูปพลังงาน  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน  ผลของการใช้พลังงานของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 

มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

1.ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด

2.ทดลองและอธิบายการสะท้อนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ

3.ทดลองและจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหล่งกำเนิดแสง

-แสงเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิดทุกทิศทางและเคลื่อนที่เป็นแนวตรง

-แสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะท้อนของแสง โดยมีมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน

-เมื่อแสงกระทบวัตถุต่างกัน  จะผ่านวัตถุแต่ละชนิดได้ต่างกัน ทำให้จำแนกวัตถุออกเป็น

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

4.ทดลองและอธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่านตัวกลางโปร่งใสสองชนิด

5.ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

6.ทดลองและอธิบายแสงขาว ประกอบด้วยแสงสีต่างๆ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวกลางโปร่งใส  ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง

-เมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่ต่างชนิดกันทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยน เรียกการหักเหของแสง

-เซลล์สุริยะเป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า  อุปกรณ์ไฟฟ้าหลายชนิดมีเซลล์สุริยะเป็นส่วนประกอบเช่น  เครื่องคิดเลข