ทักษะ ที่ได้ จากการทำโครงงาน

การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) ต้องอาศัยการกำหนดขอบเขตของการทำโครงงานที่ชัดเจน โดยเฉพาะการมอบหมายให้ผู้เรียนเลือกโครงงานที่มีความเกี่ยวข้องวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของรายวิชา และต้องบูรณาการความรู้ในรายวิชาทั้งหมดมาใช้ ไม่ใช่เพียงบางหัวข้อของรายวิชา และไม่ใช่การทดลองในห้องปฏิบัติการแบบโครงงานวิทยาศาสตร์ แต่เป็นการให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์เหมือนการทำงานจริง บนพื้นฐานการใช้องค์ความรู้ที่ได้เรียนมาก ดังนั้นผู้สอนจึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการพิจาณาข้อเสนอโครงงานให้เป็นไปตามหลักการของการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน และจำเป็นต้องอธิบายเหตุผลประกอบแก่ผู้เรียน กรณีที่ต้องให้ผู้เรียนปรับปรุงข้อเสนอโครงงาน นอกจากนี้ในระหว่างการดำเนินโครงงาน ผู้เรียนอาจหมดแรงจูงใจในการร่วมกิจกรรม หรืออาจเกิดความขัดแย้งระหว่างสมาชิกในกลุ่ม หรือาจเกิดความคับข้องใจในการถูกประเมินโครงงานจากผู้เรียนคนอื่นๆ ดังนั้นผู้สอนจึงจำเป็นต้องชี้แจงถึงความสำคัญจำเป็นในการรับผิดชอบต่อบทบาทที่ได้รับมอบหมาย ให้คำแนะนำหรือเสริมแรงเป็นระยะ อธิบายถึงประโยชน์ของการได้รับผลประเมินจากหลายแหล่งให้ผู้เรียนเข้าใจ และกำหนดเกณฑ์ประเมินที่ชัดเจน พร้อมทั้งชี้แจงให้ผู้ประเมินให้คะแนนตามเกณฑ์ประเมินที่กำหนดอย่างเคร่งครัด และผู้สอนเองจำเป็นต้องให้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจปรับปรุงโครงงานเพิ่มเติมแก่ผู้เรียน

          เมื่อนักเรียนได้ร่วมกิจกรรมครบทั้ง 9 กระบวนการข้างต้นแล้ว ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาทั้งทักษะกระบวนการคิด และทักษะการปฏิบัติ  รวมทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการทำโครงงานของตนเองและโครงงานของเพื่อนนักเรียนที่ได้นำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ซึ่งเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม ผู้เรียนมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และทำกิจกรรม กับเพื่อนนักเรียนตลอดเวลา โดยไม่รู้สึก  เบื่อหน่าย เต็มเปี่ยมด้วยความภาคภูมิใจในตนเอง อันจะเป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างความมั่นใจในตนเอง มีความสามารถทางการคิด มีความมั่นใจในการกระทำสร้างสรรค์สิ่งดี ๆ กล้าคิด กล้าทำ ในสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติต่อไปในอนาคต

กล่าวโดยสรุป  การสอนแบบโครงงาน ครูจำเป็นต้องฝึกทักษะพื้นฐานในการทำโครงงานให้กับนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ จึงจะทำให้นักเรียนสามารถทำโครงงานได้สำเร็จและสิ่งสำคัญอย่างยิ่งก็คือ โครงงานนักเรียนเป็นคนเริ่มต้นคิดเอง ทำเอง แต่ครูเป็นผู้ที่ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องที่นักเรียนทำเท่านั้น

เห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อ

เรื่องแล้ว ควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทำจากอะไร และควรคำนึงถึงประเด็นความเหมาะสมของระดับ

ความรู้ ความสามารถของผู้เรียน วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ ระยะเวลา ความปลอดภัยและแหล่งความรู้

เป็นต้น

2) การวางแผนการทำโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีแนวคิดที่กำหนดไว้

ล่วงหน้า เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนำเสนอต่อครูประจำกลุ่มหรือ

ครูที่ปรึกษา เพื่อขอความเห็นชอบก่อนดำเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงานโดยทั่วไป

เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทำโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้

2.1) ชื่อโครงงาน : เป็นชื่อเรื่องที่ผู้เรียนจะทำการศึกษาค้นคว้า เพื่อหาคำตอบหรือหา

แนวทางในการแก้ปัญหา การตั้งชื่อเรื่อง ควรสื่อความหมายให้ได้ว่าเป็นโครงงานที่จะทำอะไร เพื่อใคร /อะไร

ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัดชัดเจนสื่อความหมายได้ตรง

2.2) ชื่อผู้ทำโครงงาน : เป็นการระบุชื่อของผู้ทำโครงงาน ถ้าเป็นโครงงานกลุ่มให้ระบุชื่อผู้ทำ

โครงงานทุกคน พร้อมเขียนรายละเอียดงานหรือหน้าที่ความรับผิดชอบ ในการทำโครงงานของแต่ละคนให้

ชัดเจน

2.3) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน : เป็นการระบุชื่อผู้ที่ให้คำปรึกษา ให้คำแนะนำในการทำโครงงาน

ของผู้เรียน

2.4) หลักการและเหตุผลของโครงงาน : เป็นการอธิบายว่า เหตุใดจึงเลือกทำโครงงานเรื่องนี้

มีความสำคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทำเป็นเรื่องใหม่ หรือมีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้า

เรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทำได้ขยายผลเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทำไว้อย่างไร หรือ

เป็นการทำซ้ำเพื่อตรวจสอบผล

2.5) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ : ควรมีความเฉพาะเจาะจงและสามารถวัดได้ เป็นการ

บอกขอบเขตของงานที่จะทำให้ชัดเจนขึ้น ซึ่งจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์มักเขียนว่าศึกษา. . . . . . . . . . . . . .

. . . . . เพื่อเปรียบเทียบ. . . . . . . . . . . . เพื่อผลิต. . . . . . . . . . . . . . เพื่อทดลอง. . . . . . . . . หรือ

เพื่อสำรวจ. . . . . . . . . . . . . . . . . ซึ่งจุดประสงค์ของโครงงานที่จะบ่งบอกว่าเป็นโครงงานประเภทใด (ตาม

เนื้อหาบทที่ 2) และจุดมุ่งหมายของโครงงานจะเป็นทิศทางในการกำหนดวิธีการดำเนินโครงการ

2.6) สมมติฐานในการทำโครงงาน (ถ้ามี) : สมมติฐานเป็นคำตอบหรือคำอธิบายที่คาดไว้

ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สำคัญ

คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการดำเนินการทดสอบได้ โครงงานวิจัยที่กำหนดสมมุติฐานควรเป็น

โครงงานประเภททดลอง ซึ่งมักจะต้องกำหนดตัวแปรในกระบวนการทดลอง นอกจากนี้ควรมี ความสัมพันธ์

ระหว่างตัวแปรอิสระ (ต้น) และตัวแปรตาม ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งตัวแปรที่เกี่ยวข้อง : ตัวแปรอิสระ (ต้น) สิ่งที่

เป็นเหตุของปัญหา ตัวแปรตาม คือสิ่งที่เป็นผล ตัวแปรแทรกซ้อนคือ สิ่งที่อาจมีผลต่อตัวแปรตามโดยผู้วิจัยไม่

การจัดทําขอมูลใหเปนสารสนเทศ (www. krutong.) การจัดทําขอมูลใหเปนสารสนเทศ               ที่จะเปนประโยชนตอการใชงาน  จําเปนตองอาศัยเทคโนโลยี เขามาชวยในการดําเนินการ  เริ่มตั้งแตการรวบรวม  และตรวจสอบขอมูล  การดําเนินการประมวลผลขอมูลใหกลายเปนสารสนเทศ  และการดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใชงาน ดังตอไปนี้

          ก. การรวบรวมและตรวจสอบขอมูล

                   1)  การเก็บรวบรวมขอมูล  เปนเรื่องของการเก็บรวบรวมขอมูลซึ่งมีจํานวนมาก และตองเก็บใหไดอยางทันเวลา  เชน ขอมูลการลงทะเบียนเรียน ขอมูลประวัติบุคลากร  ปจจุบันมีเทคโนโลยีชวยในการจัดเก็บอยู เปนจํานวนมาก เชน  การปอนขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร การอานขอมูลจากรหัสแทง          การตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอดําในตําแหนงตาง ๆ  เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลเชนกัน

                   2)  การตรวจสอบขอมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมขอมูลแลวจําเปนตองมีการตรวจสอบขอมูล เพื่อความถูกตอง ขอมูลที่เก็บเขาในระบบตองมีความเชื่อถือได  หากพบที่ ผิดพลาดตองแกไข การตรวจสอบ  ขอมูลมีหลายวิธี เชน  การใชผูปอนขอมูลสองคนปอนขอมูลชุดเดียวกันเขาคอมพิวเตอรแลวเปรียบเทียบกัน

          ข. การประมวลผลขอมูล แบงออกเปน 3 ประเภท คือ

                   1) การประมวลผลดวยมือวิธีนี้เหมาะกับขอมูลจํานวนไมมากและไมซับซอน อุปกรณในการคํานวณไดแก เครื่องคิดเลข ลูกคิด

                   2)  การประมวลผลดวยเครื่องจักร  วิธีนี้เหมาะกับขอมูลจํานวนปานกลาง และไมจําเปน     ตองใชผลในการคํานวณทันทีทันใดเพราะตองอาศัย เครื่องจักร และแรงงานคน

                   3)  การประมวลผลดวยคอมพิวเตอร  วิธีนี้เหมาะกับงานที่มีจํานวนมาก ไมสามารถ          ใชแรงงานคนได  และงานมีการคํานวณที่ยุงยาก ซับซอน  การคํานวณดวยเครื่องคอมพิวเตอร จะใหผลลัพธที่

ถูกตอง แมนยํา และรวดเร็ว


                   4) การสื่อสาร ขอมูลตองกระจายหรือสงตอไปยังผูใชงานที่หางไกลไดงาย การสื่อสารขอมูลจึงเปนเรื่องสําคัญและมีบทบาทที่สําคัญยิ่งที่จะทําใหการสงขาวสารไปยังผูใชทําไดรวดเร็วและทันเวลา

1.2.ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ  

           ทักษะการคิดเปนศักยภาพที่สําคัญสําหรับผูเรียนที่จะตองใชในการวางแผนดําเนินงาน  และนําผลการจัดทําโครงงานไปใช อยางไรก็ตามขอเสนอแนะวา ทักษะการคิดทั้งหลายผูเรียนควรใหความสนใจพัฒนาฝกฝนทักษะการคิด  เพราะเปนเครื่องมือสําคัญที่จะติดตัวและนําไปใชไดตลอดกาล อยางไมมีขีดจํากัด และเปนพิเศษสําหรับทักษะการคิดแบบอยางเปนระบบ  (System  Thinking)  เปน ลักษณะการคิดที่ตองมีสวนประกอบสองสวนทั้งการคิดเชิงวิเคราะห (Analytical Thinking)และการคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ซึ่งตองเปนกระบวนการคิดที่มีปฏิสัมพันธกันโดยกอใหเกิดพลังอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง สําหรับการคิดเชิงวิเคราะห (Analytical Thinking)มีเทคนิคในการพัฒนาตนเอง ดวยการ          ฝกแยกแยะประเด็น ฝกเทคนิคการคิดในการนําแนวคิดทฤษฎี  ที่ไดเรียนรูมาประยุกตใชกับโครงงาน ที่ จะทําและใชเทคนิค STAS Model มาชวยในการคิดวิเคราะห ไดแก Situation Theory Analysis Suggestion  สวนเทคนิคการคิดเชิงตรรกะ  (Logical  Thinking) เปนการฝกทักษะการคิดแบบความสัมพันธเชิงเหตุผล   ทั้งความสัมพันธในแนวดิ่ง และความสัมพันธในแนวนอน

1.3.ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์   

          การทําโครงงานผูเรียนจําเปนตองมีทักษะ ซึ่งอาจแบงออกได เปน 2 กลุมไดแก

          1.  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน มี 8 ทักษะ ไดแก การสังเกต การลงความเห็นจากขอมูล การจําแนกประเภท การวัดการใชตัวเลข การพยากรณ การหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล

          2.  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นสูง มี 5 ทักษะ ไดแก การกําหนดและควบคุมตัวแปร การตั้งสมมุติฐาน การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การทดลอง การตีความหมายขอมูลและการลงขอสรุป       ทักษะทั้ง 5 นี้เปนเรื่องใหม และมีความสําคัญในการทําวิจัย ผูเรียนจําเปนตองทําความเขาใจใหชัดเจนกอน           



          ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน มี 8 ทักษะ ไดแก

          1. การสังเกตเปนการใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ผิวกาย และลิ้น หรือ                       อยางใดอยางหนึ่งในการสํารวจวัตถุ หรือปรากฏการณตาง ๆ หรือจากการทดลอง  เพื่อคนหา            รายละเอียด  ตาง ๆ ของขอมูล ขอมูลจากการสังเกตแบงเปน 2 ประเภท คือ

          - ขอมูลเชิงคุณภาพ เปนขอมูลจากการสังเกตคุณลักษณะของสิ่งตาง ๆ เชน สี รูปราง รส กลิ่น ลักษณะ สถานะ เปนตน

          - ขอมูลเชิงปริมาณ เปนขอมูลที่ไดจากการสังเกต ขนาด ความยาว ความสูง น้ำหนัก ปริมาตร อุณหภูมิ ของสิ่งตาง ๆ

          2. การลงความเห็นจากขอมูล เปนการอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
                              

ทักษะ ที่ได้ จากการทำโครงงาน

          3.  การจําแนกประเภท  เปนการแบงพวก  จัดจําแนกเรียงลําดับวัตถุ หรือปรากฏการณตาง ๆ      ที่ตองการศึกษาออกเปนหมวดหมู  เปนระบบ ทําใหสะดวก รวดเร็ว และงายตอการศึกษาคนควา โดยการหาลักษณะหรือคุณสมบัติรวมบางประการ  หรือ หาเกณฑความเหมือน ความตาง ความสัมพันธ อยางใด อยางหนึ่งเปนเกณฑในการแบง

          4.  การวัด  เปนความสามารถในการเลือกใชเครื่องมือไดอยางถูกตองในการวัดสิ่งตาง ๆ ที่ตองการศึกษา เชน ความกวาง ความสูง ความหนา  น้ำหนัก  ปริมาตร  เวลา  และอุณหภูมิ  โดยวัดออกมาเปน

ตัวเลขไดถูกตอง รวดเร็ว มีหนวยกํากับ  และสามารถอานคาที่ใชวัดไดถูกตองใกลเคียงความเปนจริงมากที่สุด

          5.  การใชตัวเลข การใชตัวเลขหรือการคํานวณ  เปนการนับจํานวนของวัตถุ และนําคาตัวเลขที่      ไดจากการวัดและการนับมาจัดกระทําใหเกิดคาใหม  โดยการนํามา บวก ลบ คูณ หาร  เชน  การหาพื้นที่ การหาปริมาตร เปนตน

          6.  การพยากรณ  เปนความสามารถในการทํานาย  คาดคะเนคําตอบโดยใชขอมูลที่ไดจากการสังเกต ประสบการณที่เกิดซ้ำบอย ๆ  หลักการ ทฤษฎี หรือ  กฎเกณฑตาง ๆ มาชวยสรุปหาคําตอบเรื่องนั้น          การพยากรณจะแมนยํามากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับผลที่ไดจากการสังเกตที่รอบคอบ  การวัดที่แมนยํา         การบันทึกที่เปนจริง และการจัดกระทําขอมูลที่เหมาะสมผลหรือขอมูลที่ไดจากการสังเกตอยางมีเหตุผล โดยใชความรูหรือประสบการณมาอธิบายดวยความเห็นสวนตัวตอขอมูลนั้น ๆ
                                       

ทักษะ ที่ได้ จากการทำโครงงาน

          7. การหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และ สเปสกับเวลา 

          สเปส (Space)หมายถึง ที่วางในรูปทรงของวัตถุ มี 3 มิติ คือ ความกวาง ความยาว และความสูง (หนา ลึก)

          ความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปสของวัตถุ  หมายถึงความสัมพันธระหวางวัตถุ 2 มิติ กับ วัตถุ 3 มิติ  และ  ความสัมพันธระหวางตําแหนงที่อยูของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง  คือการบงชี้รูป 2 มิติ รูป 3 มิติ ได หรือสามารถวาดภาพ 3 มิติ จากวัตถุหรือภาพ 3 มิติได เปนตน

          ความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลา หมายถึง  ความสัมพันธระหวางสเปสของวัตถุที่เปลี่ยนไปกับเวลา  หรือการเปลี่ยนตําแหนงที่อยูของวัตถุกับเวลา  นั่นคือการบอกทิศทางหรือตําแหนงของวัตถุเมื่อเทียบกับตัวเองหรือสิ่งอื่น ๆ

          8. การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล

          การจัดกระทําคือ การนําขอมูลดิบมาจัดลําดับ จัดจําพวก หาความถี่ หาความสัมพันธ หรือคํานวณใหม

          การสื่อความหมายขอมูล เปนการใชวิธีตาง ๆ เพื่อแสดงขอมูลใหผูอื่นเขาใจ เชน การบรรยาย ใชแผนภูมิ แผนภาพ : วงจร กราฟ ตาราง สมการ ไดอะแกรม เปนตน

          ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นสูง มี 5 ทักษะไดแก

          1. การกําหนดและควบคุมตัวแปร ตัวแปร  หมายถึง  สิ่งที่แตกตาง หรือ  เปลี่ยนแปลงไปจาก

เดิมเมื่ออยูในสถานการณตาง ๆ กัน ตัวแปรที่เกี่ยวของกับการทดลองทางวิทยาศาสตรมีอยู 3 ประเภท ไดแก

                   1)  ตัวแปรตน (ตัวแปรอิสระ ตัวแปรเหตุ) เปนตัวแปรเหตุที่ ทําใหเกิดผลตาง ๆ หรือ  ตัวแปรที่ เราตองการศึกษา หรือ  ทดลองดูวาเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดผลตามที่เราสังเกตใชหรือไม

            2)  ตัวแปรตาม (ตัวแปรไมอิสระ ตัวแปรผล) เปนตัวแปรที่ เกิดมาจากตัวแปรเหตุ  เมื่อตัวแปรเหตุเปลี่ยนแปลงอาจมีผลทําใหตัวแปร ตามเปลี่ยนแปลงไปได  ตัวแปรตามจําเปนตองควบคุมใหเหมือน ๆ กันเสียกอน

                   3)  ตัวแปรแทรกซอน(Extraneous Variables) เปนตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจมีผลตอ ตัวแปรตาม โดยผูวิจัยไมตองการใหเกิดเหตุการณนั้นขึ้น
                                  

ทักษะ ที่ได้ จากการทำโครงงาน


          2. การตั้งสมมติฐาน เปนการคาดคะเนคําตอบของปญหาอยางมีเหตุผล  หรือการบงบอกความสัมพันธของตัวแปรอยางนอย 2 ตัว กอนที่จะทําการทดลองจริง โดยอาศัยทักษะสังเกต ประสบการณ ความรูเดิม เปนพื้นฐาน
                           

ทักษะ ที่ได้ จากการทำโครงงาน

          3. การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ  นิยามเชิงปฏิบัติการหมายถึง  ความหมายของคําหรือขอความที่

ใชในการทดลองที่สามารถสังเกต  ตรวจสอบ  หรือ  ทําการวัดได  ซึ่งจําเปนตองกําหนดเพื่อความเขาใจที่ ตรงกันเสียกอนทําการทดลอง นิยามเชิงปฏิบัติการ  จะแตกตางจากคํานิยามทั่ว ๆ  ไป คือ  ตองสามารถวัด หรือ  ตรวจสอบได”  ซึ่งมักจะเปนคํานิยามของตัวแปรนั่นเอง

          4. การทดลอง เปนกระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคําตอบจากสมมุติฐานที่ตั้งไวในการทดลอง         ประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ 3 ขั้นตอน ดังนี้

                   1)  การออกแบบการทดลอง  คือ  การวางแผนการทดลองก อนลงมือปฏิบัติจริง            โดยกําหนดวาจะใชวัสดุอุปกรณอะไรบาง จะทําอยางไร ทําเมื่อไร มีขั้นตอนอะไร

                   2)  การปฏิบัติการทดลอง  คือ การลงมือปฏิบัติตามที่ออกแบบไว

                   3) การบันทึกผลการทดลอง คือ การจดบันทึกขอมูลตาง ๆ  ที่ไดจากการทดลอง  ซึ่งใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน 8 ทักษะที่กลาวไปแลว
                    

ทักษะ ที่ได้ จากการทำโครงงาน

          5. การตีความหมายขอมูลและการลงขอสรุปการตีความหมายขอมูล  คือ  การแปลความหมาย หรือ  การบรรยายผลของการศึกษาเพื่อใหคนอื่นเขาใจว าผลการศึกษาเปนอยางไร  เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไวหรือไม่

          การลงขอสรุป เปนการสรุปความสัมพันธของขอมูลทั้งหมด เชน การอธิบายความสัมพันธระหวางตัวแปรบนกราฟ  การอธิบายความสัมพันธของขอมูลที่เปนผลของการศึกษา
                           

ทักษะ ที่ได้ จากการทำโครงงาน

          การฝกทักษะที่จําเปนของการทําโครงงานทุกขั้นตอนอยางเปนระบบจะทําใหผูเรียนไดโครงงานและไดผลสําเร็จของโครงงานที่ มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได


1.4.ทักษะการนำเสนอ   

          ทักษะการนําเสนอ (www. panyathai.or.th) “การนําเสนอหมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอขอมูล ความรู ความคิดเห็น หรือความตองการไปสูผูรับสาร โดยใชเทคนิคหรือวิธีการตาง ๆ

          ความสําคัญของการนําเสนอ ในปจจุบันนี้การนําเสนอเขามามีบทบาทสําคัญในองคกรทางธุรกิจ     ทางการเมือง  ทางการศึกษา  หรือแมแตหนวยงานของรัฐทุกแหงก็ตองอาศัยวิธีการนําเสนอเพื่อสื่อสารขอมูล เสนอความเห็น เสนอขออนุมัติ หรือเสนอขอสรุปผลการดําเนินงานตาง ๆ  กลาวโดยสรุปการนําเสนอมีความสําคัญ ตอการปฏิบัติงานทุกประเภท  เพราะ ชวยในการตัดสินใจในการดําเนินงาน  ตลอดจนเผยแพร

ความกาวหนาของงานตอผูบังคับบัญชาและบุคคลผูที่สนใจ   

จุดมุงหมายในการนําเสนอ

          1. เพื่อใหผูรับสารรับทราบความคิดเห็นหรือความตองการ

          2. เพื่อใหผูรับสารพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

          3. เพื่อใหผูรับสารไดรับความรูจากขอมูลที่นําเสนอ

          4. เพื่อใหผูรับสารเกิดความเขาใจที่ถูกตอง


ประเภทของการนําเสนอ การนําเสนอแบงออกไดเปน 2 รูปแบบ ดังนี้

          1. การนําเสนอเฉพาะกลุม

          2. การนําเสนอทั่วไปในที่สาธารณะ

ลักษณะของขอมูลที่นําเสนอ ขอมูลที่จะนําเสนอแบงออกตามลักษณะของขอมูล ไดแก

          1. ขอเท็จจริง หมายถึง ขอความที่เกี่ยวของกับเหตุการณ เรื่องราวที่เปนมาหรือเปนอยูตามความจริง

          2. ขอคิดเห็น เปนความเห็นอันเกิดจากประเด็นหรือเรื่องราวที่ชวนใหคิด ขอคิดเห็นมีลักษณะตาง ๆ กัน

การนําเสนอ เปนการนําขอมูลที่รวบรวมขอมูลที่ไดจากการศึกษามานําเสนอ หรือทําการเผยแพรใหผูที่สนใจไดรับทราบ หรือนําไปวิเคราะหเพื่อไปใชประโยชน แบงออกได 2 ลักษณะ คือ

          1. การนําเสนออยางไมเปนแบบแผน

                   1. 1 การนําเสนอในรูปของบทความ

                   1. 2. การนําเสนอขอมูลในรูปของขอความกึ่งตาราง

          2. การนําเสนอขอมูลอยางเปนแบบแผน

                   2. 1. การนําเสนอขอมูลโดยใชตาราง

                   2. 2. การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิแทง

                   2. 3 การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิวงกลม

                   2. 4 การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิรูปภาพ

                   2. 5 การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนที่สถิติ

                   2. 6 การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิแทงเปรียบเทียบ

                 2. 7 การนําเสนอขอมูลโดยใชกราฟเสน ในการนําเสนอขอมูลแบบใดนั้นขึ้นอยูกับความเหมาะสมของขอมูล เชน ตองการแสดงอุณหภูมิของภาคตาง ๆ ควรแสดงดวยกราฟเสน ตองการแสดงการเปรียบเทียบจํานวนนักเรียนแตละระดับการศึกษา ควรใชแผนภูมิแทง เปนตน

1.5.ทักษะการพัฒนาต่อยอดความรู้

          (gotoknow. Org. และth.wikipedia.org/wiki/การจัดการความรู ) การตอยอดความรู   มีคนจัดประเภทความรูไว สองลักษณะ ไดแก ความรูฝงลึก (tacit  knowledge)  กับความรูประจักษ หรือชัดแจง (explicit  knowledge)  โดยความรูแบบฝงลึก (Tacit Knowledge) เปนความรูที่ ไม สามารถอธิบายโดย   ใชคําพูดได    มีรากฐานมาจากการกระทําและประสบการณ มีลักษณะเปนความเชื่อ ทักษะ และเปนอัตวิสัย (Subjective)  ตองการการฝกฝนเพื่อใหเกิดความชํานาญ มีลักษณะเปนเรื่องสวนบุคคล มีบริบทเฉพาะ (Contextspecific)  ทําใหเปนทางการและสื่อสารยาก เชน วิจารณญาณความลับทางการคา วัฒนธรรม    องคกร ทักษะ ความเชี่ยวชาญในเรื่องตางๆ การเรียนรูขององคกร ความสามารถในการชิมรสไวน หรือกระทั่งทักษะในการสังเกตเปลวควันจากปลองโรงงานวามีปญหาในกระบวนการผลิตหรือไม เปนความรูที่ ใชกันมากในชีวิตประจําวันและมักเปนการใชโดยไม รูตัว   และความรูประจักษ หรือชัดแจง (explicit knowledge)    เปนความรูที่รวบรวมไดงาย จัดระบบและถายโอนโดยใชวิธีการดิจิทัล มีลักษณะเปนวัตถุดิบ (Objective)     เปนทฤษฏี สามารถแปลงเปนรหัสในการถายทอดโดยวิธีการที่ เปนทางการ ไม จําเปนตองอาศัยการปฏิสัมพันธกับผูอื่ นเพื่ อถ ายทอดความรู เช น นโยบายขององคกร กระบวนการทํางาน ซอฟตแวร เอกสาร และกลยุทธ เปาหมายและความสามารถขององคกร       

ผู้ทำโครงงานมีการพัฒนาทักษะอะไรบ้าง

4.1.ทักษะด้านการจัดการข้อมูลสารสนเทศ.
4.2.ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ.
4.3.ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์.
4.4.ทักษะการนำเสนอ (www. panyathai.or.th).
4.5.ทักษะการพัฒนาต่อยอดความรู้ (gotoknow. Org. และ th.wikipedia.org/wiki).

ความสําคัญของโครงงาน มีอะไรบ้าง

การให้นักศึกษาทำโครงงานวิทยาศาสตร์ จะช่วยส่งเสริมให้จุดมุ่งหมายของหลักสูตรสัมฤทธิ์ผลโดยสมบูรณ์ยิ่งขึ้น เพราะในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษามีโอกาสที่จะศึกษาและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ออกแบบการทดลองและลงมือทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐานตลอดจนเป็นผู้สรุปผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จะได้รับประสบการณ์ตรงทุกขั้นตอน ฝึกทักษะ ...

โครงงานต้องมีอะไรบ้าง

ชื่อโครงงาน.
ชื่อผู้ทำโครงงาน.
ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน.
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า.
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี).
วิธีดำเนินงาน.
แผนปฏิบัติงาน.