การจัดเก็บภาษีของกรมสรรพากร

Contents

กรมสรรพากร

67,089 views

โดย ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ อาจารย์ประจำวิชากฎหมายภาษีอากร

กรมสรรพากร (กรม-สัน-พา-กอน) เป็นหน่วยงานระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลัง

กรมสรรพากรทำหน้าที่จัดเก็บภาษีตาม ประมวลรัษฎากร ได้แก่

  • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
  • ภาษีเงินได้นิติบุคคล
  • ภาษีมูลค่าเพิ่ม
  • ภาษีธุรกิจเฉพาะ
  • อากรแสตมป์

รวมถึง จัดเก็บภาษีเงินได้ปิโตรเลียม และ ภาษีมรดก

Facebook

Twitter

Line

กรมสรรพากรมีหน้าที่ในการจัดเก็บภาษีอะไรบ้าง

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax : PIT) ภาษีเงินได้นิติบุคคล (Corporate Income Tax : CIT) ภาษีธุรกิจเฉพาะ (Specific Business Tax : SBT) อากรแสตมป์ (Stamp Duty : SD) ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax : VAT)

การจัดเก็บภาษีคืออะไร

การจัดเก็บภาษีอากรมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การหารายได้มาใช้จ่ายในกิจการของรัฐบาล เพื่อ ดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก ดังนี้ 1. เพื่อหารายได้มาใช้จ่ายในกิจการของรัฐ กิจการของรัฐโดยส่วนใหญ่เป็นกิจการทาเพื่อส่วนรวม เช่น ความมั่นคง ความปลอดภัย การศึกษา กิจการสาธารณูปโภคต่าง ๆ เป็นต้น

กรมสรรพากร คืออะไร

กรมสรรพากรมีภารกิจเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี การเสนอแนะ และการใช้นโยบายทางภาษีอากร เพื่อให้ได้ภาษีตามเป้าหมายอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม เป็นกลไกลในการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และเกิดความสมัครใจในการเสียภาษี โดยให้มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1. จัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

หลักเกณฑ์ในการจัดเก็บภาษีอากรมีอะไรบ้าง

จากหนังสือเรื่อง The Wealth of Nation (1776) ของ Adam Smith ได้อธิบายหลักการภาษีอากรที่ดีไว้ 4. ประการ คือ 1) ความเป็นธรรม (equity) Fuente. 2) ความแน่นอน (certainty) 3) ความสะดวก (convenience of payment) 4) ความประหยัด (economy of collection) สำหรับแนวคิดสมัยใหม่ของการปฏิรูปภาษีอากร ซึ่งนักวิชาการนำมาใช้กับประเทศต่างๆ